ศูนย์ปฏิบัติการยุติวัณโรค NOC TB อำเภอบรบือ จังหวัดมหาสารคาม

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ประเด็นในการพัฒนา DHS-PCA
Advertisements

เชื่อมโยงนโยบายแต่ละระดับ
การพัฒนาสุขภาพกลุ่มวัยทำงาน
ความก้าวหน้าในการจัดทำแผนการกระจายอำนาจ ให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และแผนปฏิบัติการกำหนดขั้นตอนการกระจายอำนาจ ให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (ฉบับที่
แผนการควบคุมวัณโรค จังหวัดนราธิวาส
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเลย
ผู้รับผิดชอบ ผลผลิต ฝ่ายบริหารทั่วไป
การดูแลผู้ติดเชื้อเอชไอวีและผู้ป่วยวัณโรค โรงพยาบาลเจริญกรุงประชารักษ์
โรงพยาบาลอ่างทอง ชื่อผู้ติดต่อ นางรัตนา งิ้ววิจิตร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ กลุ่มงาน เวชกรรมสังคม โทรศัพท์ อีเมล์
รายงานผลการดำเนินงาน
โรงพยาบาลเขาชัยสน ขนาด 30 เตียง จังหวัดพัทลุง
การบูรณาการยุทธศาสตร์สุขภาพฯ กลุ่มเด็กวัยเรียน มาตรการ เป้าหมาย วิธีการวัด เป้าหมาย/KPI 1.นโยบายร่วมระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง แผนพัฒนาสุขภาพเด็กวัยเรียนแห่งชาติ/วาระสุขภาพแห่งชาติ
ปี จะเห็นได้ว่า ร้อยละของการตรวจคัดกรอง ภาวะแทรกซ้อนทางเท้า สามารถทำได้ดีขึ้นเรื่อยๆ คิด เป็น %,90.81.
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
Goal: people are healthy & safety from Tuberculosis In Chiang Mai.
สำนักโรคติดต่อทั่วไป กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข.
แผนงานยุทธศาสตร์กระทรวงสาธารณสุขด้านพัฒนาสุขภาพ กลุ่มผู้สูงอายุ กระทรวงสาธารณสุข สถานการณ์ปัญหา : ด้าน โครงสร้างประชากร ปัจจุบันประเทศไทย : ( ข้อมูล ณ.
เป้าหมายงานวัณโรค ปี 2559 ระดับความสำเร็จของการควบคุมวัณโรค 1. การค้นหาและรายงานผู้ป่วยวัณโรครายใหม่ เพิ่มขึ้น 10% ( ของปี 56) 2. รพ. ผ่านมาตรฐานรพ. คุณภาพการดูแลรักษาวัณ.
กลุ่มวัยผู้สูงอายุ
การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ(PMQA)
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
คณะตรวจราชการและนิเทศงาน
การประชุม เรื่อง การจัดทำแผนยุทธศาสตร์ 4 ปี (พ. ศ
สรุปผลการดำเนินงานตามนโยบายการควบคุมโรคไม่ติดต่อ ด้านการเฝ้าระวังผู้ป่วยโรคเบาหวาน/โรคความดันโลหิตสูง ควบคุมระดับน้ำตาลและความดันได้ดี ปีงบประมาณ 2561.
100 ตำบลต้นแบบในการบูรณาการ ด้านส่งเสริมสุขภาพ 5 กลุ่มวัย และอนามัยสิ่งแวดล้อม โดย กรมอนามัย.
วัณโรค Small success 3 เดือน PA กสธ./เขต/จังหวัด 30 มิถุนายน 2560.
สรุปผลการนิเทศงานศูนย์อนามัยที่ ๖ ระหว่างวันที่ ๒-๓ พฤษภาคม ๒๕๖๐
การดำเนินงานควบคุมวัณโรค จังหวัดพิจิตร ตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม 2560 – 26 มีนาคม /01/62.
งาน Road Map ศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตรปี 2560
ตัวชี้วัดที่ 1 : อัตราส่วนการตายมารดาไทย ค่าเป้าหมายไม่เกิน 20 ต่อการเกิดมีชีพแสนราย เปรียบเทียบอัตราส่วนการตายมารดารายเขต ปี 2560 กับ 2561ในช่วงเวลาเดียวกัน.
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
“การดูแลหญิงหลังคลอด และ ครอบครัวที่ติดเชื้อ เอช ไอ วี”
โดย ศรีปัญญา ม่วงเพ็ชร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
ปัญหาของข้อมูลในระบบHDC
SERVICE PLAN สาขาโรคไม่ติดต่อ.
(ปัจจุบันไม่มียอดค้างชำระ)
วาระที่ 3.4 แนวทางการปฏิบัติงานโครงการตามนโยบาย กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
ผู้สูงอายุ เขตสุขภาพที่ 3
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูลเพื่อการพัฒนาชุมชน ปี 2561
เพื่อการขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์ทศวรรษ
การติดตามผลงาน OKRs ปีงบประมาณ 2562 (ไตรมาส 1)
การพัฒนาระบบการดูแลผู้รับบริการเพื่อตรวจรักษาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
พัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย (9 ตัว) กลุ่มเด็กปฐมวัย (๐-๕ ปี)/สตรี 1.อัตราส่วนการตายของมารดาไม่เกิน15ต่อการเกิดมีชีพแสนคน 2.ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัย.
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 25 รพ.สต.ผ่านเกณฑ์พัฒนาคุณภาพ รพ.สต.ติดดาว
รายงานความก้าวหน้าการดำเนินงาน แพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
สรุปแนวทางการดำเนินงานวัณโรค ปี ๒๕๖๑
กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ
อัตราความสำเร็จการรักษาผู้ป่วยวัณโรคปอดรายใหม่ (≥ 85 %)
คำสำคัญ : ความชุกวัณโรค, ผู้ต้องขังในเรือนจำ
งานผู้สูงอายุ ปี 2560 ตัวชี้วัด (Long Term Care)ในชุมชนผ่านเกณฑ์
แผนงานการพัฒนาองค์กรคุณภาพ
ความก้าวหน้าในการดำเนินงาน Product Champion Cluster วัยรุ่น
ทพญ.อัมพร เดชพิทักษ์ กลุ่มงานทันตสาธารณสุข
จุดเน้นการดำเนินงานป้องกัน ควบคุมโรค และภัยสุขภาพ ประจำปีงบประมาณ
ประชุม คปสจ.ประจำเดือนมิถุนายน ๒๕๕๙ MOTTO – กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ
พื้นที่ทำร้ายตัวเองใหม่(√) ปี๒๕๖๐ ทั้งสำเร็จ-ไม่สำเร็จ
อัตราส่วนการตายมารดาไทย
สถานการณ์และการดำเนินงานวัณโรค จังหวัดเชียงใหม่
กลุ่มงานพัฒนาคุณภาพและรูปแบบบริการ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอุดรธานี
การทำวิทยฐานะ แนวทางใหม่
ผลการดำเนินงานวัณโรค ปีงบประมาณ 2560
ตัวชี้วัดที่ 1 ร้อยละของคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ (พชอ.) ที่มีคุณภาพ ร้อยละ 50.
มะเร็งปากมดลูก โดย นางจุฑารัตน์ กองธรรม พยาบาลวิชาชีพ รพ.สต.บ้านโนนแต้
ข้อตกลงการปฏิบัติงาน (Performance Agreement : PA) ปีงบประมาณ 2561 ไตรมาสที่ 2 (1 ต.ค. 60 – 31 มี.ค. 61) เขตสุขภาพที่ 12.
พัฒนาแผนงาน / ยุทธศาสตร์
ชี้แจงรายละเอียดตัวชี้วัดตรวจราชการและนิเทศงาน กรณีปกติ ระดับกระทรวงสาธารณสุข ปี 2562 โดย นางปัจฉิมา บัวยอม รองผู้อำนวยการสำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่
ข้อตกลงการปฏิบัติงาน (Performance Agreement : PA) ปีงบประมาณ 2561 ไตรมาสที่ 1 (1 ต.ค. 60 – 31 ธ.ค. 60) เขตสุขภาพที่ 12.
ประเด็น ที่ 4 อัตราความสำเร็จการรักษาผู้ป่วยวัณโรคปอดรายใหม่
โรงพยาบาลยางตลาด 87 ม.20 ต.ยางตลาด อ.ยางตลาด จ.กาฬสินธุ์
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ศูนย์ปฏิบัติการยุติวัณโรค NOC TB อำเภอบรบือ จังหวัดมหาสารคาม อำเภอบรบือ จังหวัดมหาสารคาม สถาณการณ์การขึ้นทะเบียนรักษาวัณโรค ผู้ป่วยปัจจุบันกำลังรักษา 1.Structure มีคำสั่งศูนย์ปฏิบัติการศูนย์ยุติวัณโรค ซึ่งแต่งตั้งโดยท่านนายอำเภอ เพื่อดำเนินงานประเมินสถานการณ์ 1.1 บุคลากรรับผิดชอบงานวัณโรค แพทย์ 1 ท่าน เภสัชกร 1 ท่านเทคนิคการแพทย์ 1 ท่าน Manager TB 1 ท่าน เป็นพยาบาลวิชาชีพ มีผู้รับผิดชอบรองเป็น นวก.สาธารณสุข ร่วมกับ ทีม SRRT ทีม MCATT 1.2 สถานที่คลินิกวัณโรคแยกสถานที่ออกจากอาคารผู้ป่วยนอก ชัดเจน ผ่านเกณฑ์มาตรฐานที่ 7 ในการประเมินคลินิกวัณโรค I1.Information สถานการณ์การดำเนินงานวัณโรค จากกราฟพบว่าผู้ป่วยวัณโรคมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น โดยปี 2560 คิดเป็นอัตราป่วย 120.38/แสน ปชก. ส่วนใหญ่เป็นผู้สูงอายุถึง 73 ราย ปัจจุบันผู้ป่วยวัณโรค ระหว่างวันที่ 1 ต.ค. 2560 – 22 ม.ค. 2561 พบผู้ป่วยวัณโรคปอดรายใหม่เสมหะพบเชื้อ (M+) 26 ราย เสมหะไม่พบเชื้อ (M-) 16 ราย กลับเป็นซ้ำ 3 ราย (Re= 2 /TLF= 1 ) และวัณโรคนอกปอด 5 ราย นอกจากนี้อำเภอบรบือมี MDRTB กำลังรักษาที่ รพ.มค. 4 ราย โดยพื้นที่ได้กำกับติดตามการกินยา โดย อสม. และ จนท.จัดยาให้ทานแบบ one day dose I 2 = Intervention,อัตราการค้นพบผู้ป่วยวัณโรครายใหม่เน้นมาตรการเร่งรัดการค้นหาในกลุ่มเสี่ยง 8 กลุ่ม , จัดตั้ง Group Line NOCTB รพ.บรบือ ,Group Line DOT สสอ. โดยเจ้าหน้าที่ รพ.สต. ขับเคลื่อนเพื่อติดตามการกำกับการกินยาของผู้ป่วยและดูแลรักษาผู้ป่วยวัณโรค , มีแผนงานโครงการเพื่อพัฒนาแกนนำผู้ดูแลผู้ป่วยโดยได้รับงบประตามสนับสนุนจาก อปท.และมีการนิเทศติดตามผลการดำเนินงานให้ รพ.สต.ในเรื่องคุณภาพ DOT ,การเยี่ยมบ้าน,การลงข้อมูลTBCM online ผู้ป่วยวัณโรคปวดรายใหม่ M+,M- จำนวน 19 คน อัตรา % รักษาสำเร็จ 16 คน 84.21 ตาย 1 คน 5.26 ไม่สามารถสรุปการรักษา โอนออก ลำดับ กลุ่มเสี่ยง กลุ่มเสี่ยงทั้งหมด คัดกรอง ผลตรวจCXR ป่วย Verbal Sgreening ร้อยละ สงสัย ไม่สงสัย CXR 1 ผู้สัมผัส 35 100  0 8  8  22.86 2 HIV 25 3 บุคคลากรสาธารณสุข 473 125 26.43 4 ครูศูนย์เด็ก 141 95 67.38 5 ต่างด้าว 40 12.5 6 ผู้เคยถูกจำ 7 DM 4891 2154 44.04 ผู้สูงอายุ 12,374 3456 27.93 0    รวม 17982 5871 32.65 33 0.56 M :Monitor กำกับติดตาม ทบทวนการดำเนินงาน สาเหตุปัญหาผู้ป่วยวัณโรคเสียชีวิตระหว่างการรักษา เป็นผู้สูงอายุ 13 ราย อายุมากกว่า 81 ปี ถึง 7 ราย มีภาวะตับอักเสบ 2 ราย และเสียชีวิตระหว่าง Challenge ยา และเป็นผู้ป่วยที่มีโรคประจำตัวร่วม HIV, CA,DM,COPD,Asthma และ CKD แนวทางแก้ไข 1.ค้นหาผู้ป่วยให้พบโดยเร็วเพื่อการรักษาที่ทันท่วงทีและได้มาตรฐาน 2.ทบทวนแนวทางการรักษาในกลุ่มผู้ป่วยมีอาการรุนแรง เช่น ผู้สูงอายุ , ผู้มีปัญหาสุขภาพ หรือมีโรคประจำตัว 3.การมีส่วนร่วมจากทีมสหวิชาชีพทั้งภายในและภายนอกเพื่อดำเนินงานอย่างยั่งยืน I 3 Integrate ผสมผสาน,รวบรวม เน้นการทำงานแบบบูรณาการ ร่วมกันทุกฝ่าย เน้น Team Work การพัฒนาคุณภาพชีวิต (พชอ.) อปท.มีส่วนร่วมในการส่งเสริมให้ อสม.ดำเนินงานค้นหาและกำกับการกินยา ถอดบทเรียนเพื่อพัฒนางานนวัตกรรม ที่ช่วย ในการพัฒนางานให้ บรรลุวัตถุประสงค์ เน้น คุณภาพชีวิตผู้ป่วย และ ประชาชน ให้มีสุขภาพดี และอยู่ร่วมกับชุมชนอย่างมีคุณภาพ