ผลการดำเนินงานวัณโรค ปีงบประมาณ 2560

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ประเด็นในการพัฒนา DHS-PCA
Advertisements

กลุ่มส่งเสริมและพัฒนาการบริหารการจัดการสหกรณ์
ผลการปฏิบัติงานและ งบประมาณ ของ สำนักงานสหกรณ์จังหวัด สิงห์บุรี ประจำปีงบประมาณ พ. ศ ตั้งแต่ 1 ต. ค ก. ค. 53.
เขมกร เที่ยงทางธรรม สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ ๑ กรุงเทพฯ
การพัฒนาสุขภาพกลุ่มวัยทำงาน
การอบรมทีมเฝ้าระวังสอบสวนเคลื่อนที่เร็ว(SRRT) เครือข่ายอำเภอเมืองนครปฐม วันที่ 27 มิถุนายน 2557 ณ ห้องประชุมอำเภอเมือง จังหวัดนครปฐม ดรุณี โพธิ์ศรี
แผนการควบคุมวัณโรค จังหวัดนราธิวาส
การประกวดชมรม TO BE NUMBER ONE ดีเด่นระดับจังหวัด
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
ผู้รับผิดชอบ ผลผลิต ฝ่ายบริหารทั่วไป
การดูแลผู้ติดเชื้อเอชไอวีและผู้ป่วยวัณโรค โรงพยาบาลเจริญกรุงประชารักษ์
โรงพยาบาลอ่างทอง ชื่อผู้ติดต่อ นางรัตนา งิ้ววิจิตร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ กลุ่มงาน เวชกรรมสังคม โทรศัพท์ อีเมล์
โรงพยาบาลเขาชัยสน ขนาด 30 เตียง จังหวัดพัทลุง
การบูรณาการยุทธศาสตร์สุขภาพฯ กลุ่มเด็กวัยเรียน มาตรการ เป้าหมาย วิธีการวัด เป้าหมาย/KPI 1.นโยบายร่วมระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง แผนพัฒนาสุขภาพเด็กวัยเรียนแห่งชาติ/วาระสุขภาพแห่งชาติ
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนนทบุรี
สำนักงานพัฒนาระบบสาธารณสุข
อำเภอควบคุมยาสูบและเครื่องดื่ม แอลกอฮอล์เข้มแข็ง ปี 2556
วันที่ 25 มกราคม 2559 เวลา – น. ณ โรงแรมพลูแมน ขอนแก่น นายแพทย์อัษฎางค์ รวยอาจิณ รองอธิบดี กรมควบคุมโรค.
Goal: people are healthy & safety from Tuberculosis In Chiang Mai.
ผลการดำเนินงาน ปีงบ ๒๕๕๘ ( ร่าง ) แผนปฏิบัติการฯ ปี งบ ๒๕๕๙ กลุ่มงานบริหารทั่วไป สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดตราด.
สำนักโรคติดต่อทั่วไป กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข.
เป้าหมายงานวัณโรค ปี 2559 ระดับความสำเร็จของการควบคุมวัณโรค 1. การค้นหาและรายงานผู้ป่วยวัณโรครายใหม่ เพิ่มขึ้น 10% ( ของปี 56) 2. รพ. ผ่านมาตรฐานรพ. คุณภาพการดูแลรักษาวัณ.
เงินโอนตามผลงานการบำบัดระบบสมัครใจและระบบบังคับบำบัดแบบไม่ควบคุมตัว (ปีงบประมาณ2558) สถานบริการปี 2558ปี 2559รวม (บาท) 1.รพ.พระจอมเกล้า17,50027,50045,000.
โครงการ ส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิม พระเกียรติ “ ส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิม พระเกียรติ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารี เนื่องในโอกาสฉลองพระชนมายุ
กลุ่มวัยผู้สูงอายุ
อสม.นักจัดการสุขภาพตามกลุ่มวัย
สรุปผลการดำเนินงานตามนโยบายการควบคุมโรคไม่ติดต่อ ด้านการเฝ้าระวังผู้ป่วยโรคเบาหวาน/โรคความดันโลหิตสูง ควบคุมระดับน้ำตาลและความดันได้ดี ปีงบประมาณ 2561.
วัณโรค Small success 3 เดือน PA กสธ./เขต/จังหวัด 30 มิถุนายน 2560.
โรคไข้เลือดออกเขต 12.
การดำเนินงานควบคุมวัณโรค จังหวัดพิจิตร ตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม 2560 – 26 มีนาคม /01/62.
แนวทางการดำเนินกิจกรรมและการสนับสนุนงบประมาณของ กองทุนโลกด้านวัณโรค “โครงการยุติปัญหา วัณโรคและเอดส์ด้วยชุดบริการ RRTTR: STAR-NFM” ของจังหวัดสระบุรี”
ก้าวต่อไปในการดำเนินงานโครงการสำคัญ
ประสบการณ์การ การใช้ระบบติดตามผลการดำเนินงานในกลุ่มผู้ใช้ยา/สารเสพติด
สรุปแนวทางการดำเนินงานตามกลุ่มวัย
ตัวชี้วัดที่ 1 : อัตราส่วนการตายมารดาไทย ค่าเป้าหมายไม่เกิน 20 ต่อการเกิดมีชีพแสนราย เปรียบเทียบอัตราส่วนการตายมารดารายเขต ปี 2560 กับ 2561ในช่วงเวลาเดียวกัน.
ยุทธศาสตร์ ที่ 1 Promotion, Prevention & Protection Excellence
บัตรยิ้ม สร้างเสริมกำลังใจ
“การดูแลหญิงหลังคลอด และ ครอบครัวที่ติดเชื้อ เอช ไอ วี”
โดย ศรีปัญญา ม่วงเพ็ชร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
โครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพ องค์การบริหารส่วนตำบลท่าดินแดง
SERVICE PLAN สาขาโรคไม่ติดต่อ.
โครงการกำจัดปัญหาโรคพยาธิใบไม้ตับและมะเร็งท่อน้ำดี ถวายเป็นพระราชกุศลฯ
เพื่อการขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์ทศวรรษ
รพ.สต.สายใยรัก อำเภอสัตหีบ
การพัฒนาระบบการดูแลผู้รับบริการเพื่อตรวจรักษาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
ประเด็น PA แผนงาน พัฒนาคุณภาพชีวิตแม่และเด็ก (Maternal & Child ) ลดมารดาตาย และเด็กต่ำกว่า 1 ปี ได้รับวัคซีนตามเกณฑ์ Target / KPI No : แม่ไม่เสียชีวิตจากการตั้งครรภ์และการคลอด.
พัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย (9 ตัว) กลุ่มเด็กปฐมวัย (๐-๕ ปี)/สตรี 1.อัตราส่วนการตายของมารดาไม่เกิน15ต่อการเกิดมีชีพแสนคน 2.ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัย.
สรุปแนวทางการดำเนินงานวัณโรค ปี ๒๕๖๑
กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ
การเสียชีวิตจากการบาดเจ็บ
อัตราความสำเร็จการรักษาผู้ป่วยวัณโรคปอดรายใหม่ (≥ 85 %)
คำสำคัญ : ความชุกวัณโรค, ผู้ต้องขังในเรือนจำ
ทพญ.อัมพร เดชพิทักษ์ กลุ่มงานทันตสาธารณสุข
การเสียชีวิตจากการบาดเจ็บจากจราจรทางถนน
ประชุม คปสจ.ประจำเดือนมิถุนายน ๒๕๕๙ MOTTO – กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ
พื้นที่ทำร้ายตัวเองใหม่(√) ปี๒๕๖๐ ทั้งสำเร็จ-ไม่สำเร็จ
สถานการณ์และการดำเนินงานวัณโรค จังหวัดเชียงใหม่
ศูนย์ปฏิบัติการยุติวัณโรค NOC TB อำเภอบรบือ จังหวัดมหาสารคาม
ทิศทางการดำเนินงานลดโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD)
การป้องกันควบคุมโรค NCDs
โครงการพัฒนารูปแบบการดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน : ชุมชนลดเสี่ยง ลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง.
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
ศูนย์อนามัยที่ 8 อุดรธานี
ชี้แจงรายละเอียดตัวชี้วัดตรวจราชการและนิเทศงาน กรณีปกติ ระดับกระทรวงสาธารณสุข ปี 2562 โดย นางปัจฉิมา บัวยอม รองผู้อำนวยการสำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่
ประเด็น ที่ 4 อัตราความสำเร็จการรักษาผู้ป่วยวัณโรคปอดรายใหม่
การเร่งรัดติดตามการใช้จ่ายเงินงบประมาณงบดำเนินงาน
โรงพยาบาลยางตลาด 87 ม.20 ต.ยางตลาด อ.ยางตลาด จ.กาฬสินธุ์
อำเภอวังทอง อ.วัดโบสถ์ อ.นครไทย อ.เมือง อ.เนินมะปราง อ.เมืองพิจิตร
ผลการดำเนินงาน Pap Smear (1 ต.ค.52 – 30 ก.ย.57)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ผลการดำเนินงานวัณโรค ปีงบประมาณ 2560 จังหวัดเพชรบุรี

สถานการณ์วัณโรคจังหวัดเพชรบุรี อัตราป่วยTB รายใหม่และกลับเป็นซ้ำ จำนวนผู้ป่วยTB รายใหม่และกลับเป็นซ้ำ TB Incidence in Thailand (WHO 2016) 172/แสนปชก. อัตราการรักษาสำเร็จวัณโรครายใหม่ (2556 – 2558) ผู้ป่วยวัณโรคดื้อยา (MDR – TB) เกณฑ์ 85 % รพ. ผ่านการประเมิน QTBC จำนวน 5 แห่ง

การดำเนินงานวัณโรค ปี 2560 ผลการค้นหาผู้ป่วยวัณโรครายใหม่ ปี (1-3/2560) ปัญหา เป้าหมาย ผลงาน ร้อยละ 763 307 40.23 เกณฑ์ 80 % จาก 172 ต่อแสนประชากร 1. การค้นหายังไม่ครอบคลุมกลุ่มเสี่ยง 2. ผู้ป่วยบางรายยังไม่ให้ความร่วมมือใน การรักษา ผู้ป่วย MDR – TB มีจำนวนเพิ่มขึ้น มาตรฐานคลินิควัณโรคยังไม่ผ่านการประเมิน อำเภอ จำนวน ร้อยละ เมือง 134 89.93 เขาย้อย 9 18.00 หนองหญ้าปล้อง 13 72.22 ชะอำ 50 59.52 ท่ายาง 48 45.28 บ้านลาด 17 26.98 บ้านแหลม 20 28.57 แก่งกระจาน 16 40.00 มาตรการ 1. การเร่งรัดคัดกรองวัณโรคเชิงรุกในกลุ่มเสี่ยง 2. การติดตามลงเยี่ยมบ้านในกลุ่มผู้ป่วยกลับเป็นซ้ำ และผู้ป่วยดื้อยาทุกราย 3. การทำ Case Management ในกลุ่มผู้ป่วย MDR – TB ทุกราย 4. พัฒนามาตรฐานคลินิควัณโรคให้ผ่านการประเมินทุกแห่ง กิจกรรมสำคัญ 1. การประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาคุณภาพเครือข่ายการดำเนินงานป้องกันควบคุมวัณโรค 2. การประชุมแลกเปลี่ยนการดำเนินงานเจ้าหน้าที่ด้านงานวัณโรคและจัดทำแนวทางในการวางระบบดูแลผู้ป่วยวัณโรคดื้อยา 3. การรับการตรวจประเมินมาตรฐานคลินิกวัณโรคคุณภาพ(QTBC) 4. บริการตรวจคัดกรองวัณโรคเชิงรุกในกลุ่มเสี่ยงเรือนจำ สถานสงเคราะห์คนไร้ที่พึ่งกุ่มสะแก และพื้นที่เขตอำเภอเมืองเพชรบุรี

ผลงานการรักษา ตามตัวชี้วัด 1/2560 new m+,m-Re,Ep,ไม่มีผลเสมหะ Success Rate   ผลงานการรักษา ตามตัวชี้วัด 1/2560 ตุลาคม 2559 - ธันวาคม 2559 อำเภอ new m+,m-Re,Ep,ไม่มีผลเสมหะ Success (88%) cure+com Fail(≤3%) Death(≤6%) Default(≤3%) No eva. ราย ร้อยละ เมือง 36 21 58.33 5 13.89 1 2.73 6 13.67 เขาย้อย 20.00 3 60.00 หนอง 2 40.00 ชะอำ 19 14 73.68 5.26 10.53 ท่ายาง 12 10 83.33 16.67 บ้านลาด 4 50 25.00 บ้านแหลม 100 แก่ง รวม 85 55 64.7 8 9.4 4.70 13 15.29

การรักษา MDR TB อำเภอ จำนวน MDR TB XDR TB กำลังรักษา หาย ขาดยา ตาย โอนออก เมือง 8 1 4 เรือนจำ 11 2 บ้านลาด บ้านแหลม ชะอำ ท่ายาง 3 แก่งกระจาน เขาย้อย รวม 33 21 5

สถานการณ์วัณโรคจังหวัดเพชรบุรี XDR - TB ผู้ป่วย XDR TB จำนวน 2 ราย ในอำเภอชะอำ และอำเภอเมือง

การป้องกันการดื้อยา

เป้าหมายในการดำเนินงาน (Goal) เป้าหมายเชิงยุทธศาสตร์ ลดการแพร่กระจายของโรค การวินิจฉัยโรคได้ถูกต้อง และรายงานให้ครอบคลุม ความครอบคลุมในการใช้ TBCM Online ค้นให้พบ 785 ราย/ปชก. การค้นหาผู้ป่วยทุกประเภทเพิ่มขึ้น ร้อยละ 80 ประชากร 7 กลุ่มเสี่ยง ได้รับการ CXR ทุกราย อุบัติการณ์ วัณโรค 172/แสนปชก. Success Rate ≥90 รพ.ผ่านการประเมิน QTBC ทุกแห่ง ติดตามผู้ป่วยขาดยา เพื่อไม่ให้เกิดผู้ป่วยดื้อยา และรักษาผู้ป่วย MDR TB ไม่ให้เกิด XDR TB 297 ราย/แสนปชก.

ผลการดำเนินงานที่สำคัญตามองค์ประกอบด้านสุขภาพ การจัดตั้ง PCU ในเรือนจำ Promotion การจัดกิจกรรมรณรงค์สัปดาห์วัณโรคสากล MDR TB Meeting Prevention การตรวจคัดกรองด้วย CXR ในผู้ป่วย 7 กลุ่มเสี่ยง และสถานสงเคราะห์กุ่มสะแก การรับการตรวจประเมิน QTBC การทำ Case Management โดยกลุ่มสหวิชาชีพในกลุ่มผู้ป่วย MDR – TB ทุกราย Treatment การลงเยี่ยมบ้านในผู้ป่วย Relapse/MDR ทุกราย โดยสสจ. สสอ. และ TB clinic ร่วมกับเครือข่าย ประสานการส่งต่อข้อมูลผู้ป่วยกับรพ.เอกชนผ่านทาง รง. 506 Rehabilitation การประสานงานกับพมจ. จังหวัด และองค์กรศาสนา ในการช่วยเหลือผู้ป่วยด้านเศรษฐกิจ และสังคมจนรักษาหาย

ผลสำเร็จของการดำเนินงาน (Out Come) การค้นหาTB ในกลุ่มเสี่ยง (1-3/2560) การพบผู้ป่วยวัณโรคในประชากรกลุ่มเสี่ยง (2612) (18) (4) (9435) (2349) (34550) (14352) (2593) (5) (4) (7) (2) (830) (14) อัตราการรักษาสำเร็จผู้ป่วยรายใหม่และกลับเป็นซ้ำ 1/2560 การลดการใช้จ่ายทางสุขภาพ วัณโรค รู้เร็ว รักษาหาย ไม่แพร่กระจาย Normal TB MDR XDR (4) (16) (4) (4) (8) COST: 3,126 218,895 1,039,770 (54) เร่งรัดค้นหา ตัดวงจรสู่ MDR – TB ประหยัดค่าใช้จ่ายต่อราย 215,796 บาท ติดตามการรักษา MDR – TB ให้รักษาสำเร็จ ประหยัดค่าใช้จ่าย 820,875 บาท (90) ที่มา: สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2553

ปัจจัยความสำเร็จในการดำเนินงาน (Key Success) การดำเนินงานในกลุ่มเสี่ยงสูง การบริหารจัดการในกลุ่มผู้ป่วยMDR - TB การบูรณาการ Social Care การประสานความร่วมมือกับองค์กรต่างๆ โรงเรียน อบต.,กำนัน,ผู้ใหญ่บ้าน ศาสนา พมจ.

ตัวชี้วัดวัณโรคปี 2561 ตัวชี้วัด เป้าหมาย 1. จำนวนประชากรกลุ่มเสี่ยงเป้าหมายได้รับการคัดกรองเชิงรุกด้วยการ CXR ทุกราย ประชากร 7 กลุ่มเสี่ยง 2. ร้อยละผู้ป่วยที่มีประวัติการรักษาวัณโรคมาก่อนมีผลทดสอบความไวต่อยาวัณโรค ผู้ป่วย Relapse 3. ร้อยละของเด็กที่มีอายุต่ำกว่า 5 ปีซึ่งอยู่ร่วมบ้านกับผู้ป่วยวัณโรค ได้รับยารักษาการติดเชื้อ วัณโรคระยะแฝงตามแนวทางการรักษาวัณโรคเด็กของประเทศไทย 4.ร้อยละผู้ป่วยวัณโรคมีอัตราการตายลดลง ผู้ป่วยวัณโรค 5. อัตราการรักษาวัณโรคสำเร็จร้อยละ 90 ผู้ป่วยวัณโรค 1/2561

แผนจังหวัดปี 2561 1.การเร่งรัดการคัดกรองวัณโรคในกลุ่มเสี่ยงวัณโรคใน 6 กลุ่มเสี่ยง 2. การประชุมแลกเปลี่ยนการดำเนินงานเจ้าหน้าที่คลินิกวัณโรคในโรงพยาบาลทุกแห่ง และสำนักงานสาธารณสุขอำเภอทุกอำเภอ ในการป้องกันการเสียชีวิตและการดื้อยาในผู้ป่วยวัณโรค 3.การพัฒนามาตรฐานคลินิกวัณโรค 4.การเฝ้าระวังในกลุ่มผู้ป่วยที่กลับมาเป็นซ้ำและผู้ป่วยเสมหะบวกรายใหม่ และการติดตาม กำกับการรักษาผู้ป่วยวัณโรคดื้อยา 5. การติดตามการดำเนินงานในคลินิกวัณโรค, สำนักงานสาธารณสุขอำเภอทุกอำเภอ และโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพระดับตำบลทุกแห่ง 6. การติดตามระบบการดำเนินงานควบคุมกำกับการกินยาของผู้ป่วยดื้อยาในคลินิกวัณโรค, สำนักงานสาธารณสุขอำเภอทุกอำเภอ และโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพระดับตำบลทุกแห่ง 7. การสื่อสารความเสี่ยงเกี่ยววัณโรคในชุมชน 8. อบรมแกนนำหมู่บ้านในการจัดการผู้ป่วยวัณโรค 9.อบรมฟื้นฟูแพทย์ในการรักษาผู้ป่วยวัณโรค 10. การจัดการวัณโรคในชายแดนติดต่อระหว่างประเทศ 11. การบริการรถเอ๊กซเรย์เคลื่อนที่ในอำเภอเสี่ยง