บทที่ 9 งบประมาณการลงทุน คือ การจัดทำข้อมูลการประเมินความสัมพันธ์ระหว่างรายจ่ายหรือเงินลงทุนสุทธิที่ต้องจ่ายลงทุนในสินทรัพย์ หรือโครงการที่ต้องการ ลงทุน เปรียบเทียบกับผลประโยชน์หรือกระแสเงินสดส่วนเพิ่มที่คาดว่าจะได้รับจากการลงทุน อ.อภิญญา ผู้จัดทำ การบัญชีบริหาร.คณะวิทยาการจัดการ.มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
หลักเกณฑ์ในการพิจารณาตัดสินใจลงทุน การประเมินทางเศรษฐกิจ 2. การสอดคล้องกับกลยุทธ์การทำธุรกิจขององค์การ อ.อภิญญา ผู้จัดทำ การบัญชีบริหาร.คณะวิทยาการจัดการ.มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
กระบวนการตัดสินใจลงทุน 1. การวางแผนการลงทุน 2. การตั้งเป้าหมายของการลงทุน 3. การจัดหาแหล่งเงินทุน 4. การพิจารณาความเหมาะสม 5. การติดตามผล อ.อภิญญา ผู้จัดทำ การบัญชีบริหาร.คณะวิทยาการจัดการ.มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
ประเภทของการลงทุน 1. โครงการลงทุนอิสระ 2. โครงการที่เกี่ยวข้องกัน อ.อภิญญา ผู้จัดทำ การบัญชีบริหาร.คณะวิทยาการจัดการ.มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
เงินลงทุนส่วนเพิ่มสุทธิ หรือเรียกว่า เงินลงทุนเริ่มแรก คือ เงินสดหรือรายการเทียบเท่าเงินสดที่ต้องลงทุนในสินทรัพย์หรือโครงการซึ่งรวมถึงต้นทุนด้านการ ขนส่ง ต้นทุนการบริหารจัดการ ต้นทุนการทดสอบสินทรัพย์ เพื่อให้สินทรัพย์นั้นอยู่ในสภาพที่พร้อมใช้งานได้ อ.อภิญญา ผู้จัดทำ การบัญชีบริหาร.คณะวิทยาการจัดการ.มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
กระแสเงินสดสุทธิ คือ กระแสเงินสดส่วนที่เพิ่มขึ้นจากรายรับที่ได้รับจากการดำเนินงานเดิมที่มากกว่าต้นทุนการดำเนินงานเนื่องมาจากการใช้สินทรัพย์ใหม่ อ.อภิญญา ผู้จัดทำ การบัญชีบริหาร.คณะวิทยาการจัดการ.มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
รูปแบบการพิจารณาการลงทุน 1. รูปแบบการไม่คิดลดกระแสเงินสด 1.1 วิธีระยะเวลาคืนทุน 1.2 วิธีอัตราผลตอบแทนทางการบัญชี 2. รูปแบบการคิดลดกระแสเงินสด 2.1 มูลค่าปัจจุบันสุทธิ 2.2 ดัชนีความสามารถในการทำกำไร 2.3 อัตราผลตอบแทนจากการลงทุน อ.อภิญญา ผู้จัดทำ การบัญชีบริหาร.คณะวิทยาการจัดการ.มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
ระยะเวลาคืนทุน เงินลงทุนส่วนเพิ่มสุทธิ/กระแสเงินสดสุทธิต่อปี
อัตราผลตอบแทนทางการบัญชี รายได้ส่วนเพิ่ม-ต้นทุนส่วนเพิ่มและค่าเสื่อมราคาของสินทรัพย์ใหม่ เงินลงทุนสุทธิ หรือ ต้นทุนที่ประหยัดได้ - ค่าเสื่อมราคาของสินทรัพย์ใหม่ อ.อภิญญา ผู้จัดทำ การบัญชีบริหาร.คณะวิทยาการจัดการ.มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
อัตราผลตอบแทนทางการบัญชี กำไรสุทธิถัวเฉลี่ย/เงินลงทุนสุทธิ อ.อภิญญา ผู้จัดทำ การบัญชีบริหาร.คณะวิทยาการจัดการ.มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
กำไรสุทธิถัวเฉลี่ย กระแสเงินสดสุทธิถัวเฉลี่ย – ค่าใช้จ่ายที่ไม่ได้จ่ายด้วยเงินสด อ.อภิญญา ผู้จัดทำ การบัญชีบริหาร.คณะวิทยาการจัดการ.มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
มูลค่าในอนาคตของเงินสด(future value of money) หมายถึง มูลค่าของเงินสดในปัจจุบันที่รวมผลตอบแทนจากการนำเงินสดไปลงทุนเพื่อแสวงหาผลประโยชน์ หรือเป็นการคำนวณหามูลค่าปัจจุบันของเงินสดเพื่อเทียบ มูลค่าในอนาคต อ.อภิญญา ผู้จัดทำ การบัญชีบริหาร.คณะวิทยาการจัดการ.มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
มูลค่าปัจจุบันของเงินสด(present value of money) หมายถึง การหามูลค่าของเงินสดที่จะได้รับในอนาคตว่าควรมีมูลค่าเทียบเท่าเงินสดในปัจจุบันเท่าใด ซึ่งในจำนวนเงินที่เท่ากันมูลค่าของเงินสดที่ จะได้รับในอนาคตย่อมมีมูลค่าในปัจจุบันน้อยกว่า หรือมูลค่าของเงินสดในปัจจุบันจะมีค่ามากกว่าค่าของเงินสดที่จะได้รับในอนาคต อ.อภิญญา ผู้จัดทำ การบัญชีบริหาร.คณะวิทยาการจัดการ.มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
มูลค่าปัจจุบันสุทธิ NPV = มูลค่าปัจจุบันของกระแสเงินสดสุทธิ - มูลค่าปัจจุบันของเงินลงทุน อ.อภิญญา ผู้จัดทำ การบัญชีบริหาร.คณะวิทยาการจัดการ.มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
ดัชนีความสามารถในการทำกำไร PI = มูลค่าปัจจุบันของกระแสเงินสุทธิ / มูลค่าปัจจุบันของเงินลงทุน อ.อภิญญา ผู้จัดทำ การบัญชีบริหาร.คณะวิทยาการจัดการ.มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
อัตราผลตอบแทนจากการลงทุน IRR = มูลค่าปัจจุบันของกระแสเงินสดสุทธิ = มูลค่าปัจจุบันของเงินลงทุน อ.อภิญญา ผู้จัดทำ การบัญชีบริหาร.คณะวิทยาการจัดการ.มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
ขั้นตอนในการคำนวณอัตราผลตอบแทนจากการลงทุน 1. เลือกอัตราผลตอบแทนอัตราใดอัตราหนึ่ง 2. ถ้ามูลค่าปัจจุบันสุทธิไม่เท่ากับศูนย์ ทำซ้ำขั้นตอนที่ 1 3. ทำซ้ำขั้นตอนที่ 2 4. เทียบบัญญัติไตรยางศ์ 5. เปรียบเทียบอัตราผลตอบแทนจากการลงทุนกับอัตราผลตอบแทนที่ต้องการ อ.อภิญญา ผู้จัดทำ การบัญชีบริหาร.คณะวิทยาการจัดการ.มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา