การบริหารจัดการวัคซีนป้องกันโรคโปลิโอ และระบบลูกโซ่ความเย็น

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
นักทรัพยากรบุคคล ชำนาญการพิเศษ
Advertisements

โครงการกวาดล้างโปลิโอและโรคหัด Polio and Measles Eradication Projects
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
1. การดำเนินงาน 15 ประเด็น โครงการ ( โครงการเฉลิมพระเกียรติ ) 1.1 โรคคอตีบ - ตัวชี้วัด ความครอบคลุมการได้รับวัคซีนไม่ต่ำกว่า ร้อยละ 85 ในทุกจังหวัด - เป้าหมาย.
LOGO การคำนวณต้นทุนผลผลิต ของปีงบประมาณ 2553 โดย นายธีรชาติ พันธุ์หอม หัวหน้าฝ่ายแผนงานและ งบประมาณด้านก่อสร้าง คณะทำงานต้นทุนผลผลิตสำนัก ชลประทานที่ 11.
โรงพยาบาลอ่างทอง ชื่อผู้ติดต่อ นางรัตนา งิ้ววิจิตร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ กลุ่มงาน เวชกรรมสังคม โทรศัพท์ อีเมล์
ตัวชี้วัด หญิงตั้งครรภ์ หญิงหลังคลอด (MCH)
พญ. ปิยนิตย์ ธรรมาภรณ์พิลาศ
ชี้แจงเกณฑ์การประเมินผล ตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิภาพ 1.
ปี จะเห็นได้ว่า ร้อยละของการตรวจคัดกรอง ภาวะแทรกซ้อนทางเท้า สามารถทำได้ดีขึ้นเรื่อยๆ คิด เป็น %,90.81.
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
การประเมินผลโครงการ คปสอ.คลองใหญ่.
โปรแกรมคำนวณคะแนน สหกรณ์ ตามเกณฑ์ดีเด่นแห่งชาติ กรมส่งเสริม สหกรณ์ กองพัฒนาสหกรณ์ด้านการเงิน และร้านค้า วิธีการใ ช้
แผนการตรวจราชการ กระทรวงสาธารณสุข กรณีปกติ เขตสุขภาพ ที่ 2.
การคาดประมาณปริมาณการใช้วัคซีน และการเบิกวัคซีนโรต้า จ.เพชรบูรณ์ ภญ.ปิยะนาถ เชื้อนาค กองโรคป้องกันด้วยวัคซีน กรมควบคุมโรค.
สรุปกิจกรรมการบริหารจัดการวัคซีน ไข้หวัดใหญ่ ปี 2559 รวินท์นิภา ภักดี กลุ่มงานควบคุมโรค รวินท์นิภา ภักดี กลุ่มงานควบคุมโรค.
แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ระบบบัญชี สุขภาพ (1-8) กุมภาพันธ์ 2558 สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดบุรีรัมย์
บทที่ 3 องค์ประกอบของการสัมมนา
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสกลนคร ภก.กิตติศักดิ์ ไท้ทอง
ประเด็นที่เปลี่ยนแปลงจากปี 2560
วาระที่ สรุปผลการปฏิบัติงาน ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2559
แนวทางการบริหารจัดการวัคซีน ไข้สมองอักเสบเจอีชนิดเชื้อเป็นอ่อน ฤทธิ์ สายพันธุ์ SA Lived Attenuated Japanese Encephalitis SA
Strategy Map สำนักงานสรรพากรพื้นที่กรุงเทพมหานคร12
การสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค (Expanded Program on Immunization)
บทที่ 8 การควบคุมโครงการ
การพัฒนาข้อมูล HDC ปีงบประมาณ เมษายน 2559
ประสบการณ์การ การใช้ระบบติดตามผลการดำเนินงานในกลุ่มผู้ใช้ยา/สารเสพติด
งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรคและภัยสุขภาพ
แนวทางบริหารการให้วัคซีน ป้องกันโรคไข้หวัดใหญ่ตามฤดูกาลประจำปี 2558
บัตรยิ้ม สร้างเสริมกำลังใจ
โครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพ องค์การบริหารส่วนตำบลท่าดินแดง
ความสำเร็จของการดำเนินการตามมาตรการประหยัดพลังงาน
การรายงานความคืบหน้าหรือสถานะ
การดำเนินงานเมื่อสิ้นสุดโครงการ
แนวทางการให้บริการวัคซีนโปลิโอ
ณ ห้องประชุม พธ.ทร.(๒) วันที่ ๑๗ สิงหาคม ๒๕๕๘ เวลา ๐๙๓๐
การคาดประมาณปริมาณการใช้วัคซีน เด็กอายุ 1 ปี (เกิดตั้งแต่ 1 ม.ค. 57)
โดย ภญ. ปิยะนาถ เชื้อนาค สำนักโรคติดต่อทั่วไป กรมควบคุมโรค
วาระที่ 3.4 แนวทางการปฏิบัติงานโครงการตามนโยบาย กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
กรมตรวจบัญชีสหกรณ์.
การเก็บกลับและทำลาย Trivalent OPV
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูลเพื่อการพัฒนาชุมชน ปี 2561
กำหนดกรอบระยะเวลาการขึ้นทะเบียนปี2556/57 1. ข้าว
ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จขององค์กรปกครอง
ให้วัคซีน dT แก่ประชากร
ณ ห้องประชุมกำธร สุวรรณกิจ
ปี 2560 ปฏิทินการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส
การประเมินศักยภาพชุมชน ด้วย... ค่ากลางที่คาดหวัง
ข้อเสนอแนวทางการบริหารระบบยา ปี 2561
กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ
โรคติดเชื้อไวรัสซิก้า
สรุปผลการนิเทศงานเฉพาะกิจ งานข้อมูลและเทคโนโลยีสารสนเทศ
ชาลิณี ปิยะประสิทธิ์ สปสช.เขต 10 อุบลราชธานี 21 กันยายน 2560
การขับเคลื่อนการกวาดล้างโรคโปลิโอ ในฉากสุดท้ายของประเทศไทย
ความก้าวหน้าในการดำเนินงาน Product Champion Cluster วัยรุ่น
บทที่ 4 หลักทฤษฎีและปฏิบัติการธุรกิจ ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ
แนวทางการรณรงค์ พัฒนาการเด็ก 4-8 กรกฎาคม 2559
ประชุม คปสจ.ประจำเดือนมิถุนายน ๒๕๕๙ MOTTO – กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ
การเตรียมการป้องกันและแก้ปัญหาภัยแล้ง จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
งานโรคติดต่อทั่วไปและโรคอุบัติใหม่ กลุ่มงานควบคุมโรค
มะเร็งปากมดลูก โดย นางจุฑารัตน์ กองธรรม พยาบาลวิชาชีพ รพ.สต.บ้านโนนแต้
การปรับเปลี่ยน การใช้วัคซีนโปลิโอ
การเปลี่ยนแปลงประมาณการทางบัญชี และข้อผิดพลาด
แนวทางการให้บริการ วัคซีน DTP-HB-Hib ปีงบประมาณ 2562
ชัยพฤกษ์รัตนาธิเบศร์ - วงแหวน
โปลิโอสายพันธ์วัคซีนกลายพันธุ์ Circulated Vaccine Derived Poliovirus
รายงานสถานการณ์E-claim
นพ.อภิศักดิ์ วิทยานุกูลลักษณ์ รพ.ธัญญารักษ์เชียงใหม่ กรมการแพทย์
การพัฒนาการทำแผล หอผู้ป่วยพิเศษร่มเย็น 4
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การบริหารจัดการวัคซีนป้องกันโรคโปลิโอ และระบบลูกโซ่ความเย็น

กระบวนการปรับเปลี่ยนการให้ trivalent OPV เป็น bivalent OPV มีมาตรการสำคัญ 3 ด้าน นำ IPV บรรจุเข้าในแผนงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค เริ่มให้บริการ 1 ธ.ค. 2558 2. ยกเลิกให้บริการ trivalent OPV (tOPV) 22 เม.ย. 2559 เป็นวันสุดท้ายของการให้บริการ 3. ใช้ bivalent OPV (bOPV) แทน tOPV เริ่มให้บริการตั้งแต่ 29 เม.ย. 2559 เป็นต้นไป

IPV bivalentOPV trivalent OPV bivalent OPV

การปรับเปลี่ยนการให้วัคซีนโปลิโอ ระยะที่ 1 ระยะที่ 2 29 เม.ย. 59 National Switch Day 1 ธ.ค. 58 – 22 เม.ย. 59 IPV + Trivalent OPV IPV + Bivalent OPV + + T B กระบวนการปรับเปลี่ยนการให้วัคซีนโปลิโอ ประกอบด้วยมาตรการสำคัญ 2 ด้าน ได้แก่ 1) การนำวัคซีน IPV มาใช้ในแผนงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค โดยเด็กจะได้วัคซีน IPV 1 ครั้งเมื่ออายุ 4 เดือน และได้รับวัคซีน Trivalent OPV ตามปกติ 2) การเปลี่ยนวัคซีน OPV จาก Trivalent เป็น bivalent OPV โดยเด็กจะได้วัคซีน IPV 1 ครั้งเมื่ออายุ 4 เดือน และได้รับวัคซีน Brivalent OPV แทน Trivalent OPV ม.ค. ก.พ. เม.ย. 22 ธ.ค. มี.ค. 29 พ.ค. มิ.ย. ก.ค. 23-28 เม.ย. 59 เลื่อนนัด WBC

ระยะที่ 1 การเบิก IPV ร่วมกับ tOPV GPO ส่ง IPV ครั้งแรกให้คลังวัคซีน รพ. ภายใน 30 พ.ย. 2558 ปริมาณ IPV ที่จัดส่งครั้งแรกส่วนกลางคำนวณสำหรับใช้ 3 เดือนโดยประมาณจาก จำนวน IPV ที่จัดส่ง 1/3 ของค่า ROP ของ DTP-HB + อัตราสูญเสียของวัคซีน + จำนวนหน่วยบริการในเครือข่ายของคลังวัคซีน รพ. + จำนวนครั้งที่เปิดให้บริการของหน่วยบริการใน รพ. และเพิ่มค่า Maximum limit ในอัตรา 1.3 เท่าของ ROP

หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง คลังวัคซีนโรงพยาบาล หน่วยบริการในเครือข่าย PCU/รพ.สต. สำนักงานสาธารณสุขอำเภอ

การบริหารจัดการวัคซีน IPV คลังวัคซีนโรงพยาบาล การบริหารจัดการวัคซีน IPV ระยะที่ 1 1. องค์การเภสัชกรรม จัดส่ง IPV ให้คลังวัคซีน ทุก รพ. (ตั้งแต่ 10 – 30 พย.58) 2. คลังวัคซีน ทุก รพ. ตรวจรับ IPV จากองค์การเภสัชกรรม และจัดเก็บ IPV ที่อุณหภูมิ 2-8 c 3. เภสัชกรผู้รับผิดชอบคลังวัคซีนทุก รพ.แจ้ง PCU/รพ.สต. เบิกวัคซีน IPV จากคลังวัคซีน โดยใช้แบบฟอร์ม ว3/1 ใหม่ (ภายในวันให้บริการฉีดวัคซีนเดือน ธ.ค.58) ***วัคซีน tOPV และวัคซีนอื่นๆ ดำเนินการเบิกจ่ายเหมือนเดิม

vmi@gpo.or.th เดือน พ.ย. 58 จัดส่ง tOPV ตามกำหนดปกติ คลังวัคซีนโรงพยาบาล หาก IPV ไม่เพียงพอ สามารถเบิกเพิ่มระหว่างรอบได้ โดยใช้ “แบบฟอร์มใบเบิกกรณีต้องการวัคซีนเพิ่มระหว่างรอบ” ส่งไปที่ GPO เดือน พ.ย. 58 จัดส่ง tOPV ตามกำหนดปกติ 02-2038909 02-3548854 02-3548861 vmi@gpo.or.th

คลังวัคซีนโรงพยาบาล แบบฟอร์มใบเบิกกรณีต้องการวัคซีนเพิ่มระหว่างรอบ

คลังวัคซีนโรงพยาบาล 02-1439730 tanapat.l@nhso.go.th ตั้งแต่ ธ.ค. 58 คลังวัคซีน รพ. ให้เริ่ม key on hand ของ IPV พร้อมวัคซีนอื่นๆ ตามกำหนด key ปกติ หลังจ่ายวัคซีน IPV แล้วอย่างน้อย 3 เดือน ให้ประเมินการใช้ IPV และขอปรับเป็นค่าที่เหมาะสมกับอัตราการใช้จริงต่อเดือนของ รพ. โดยใช้ “แบบปรับเปลี่ยนปริมาณการใช้วัคซีน (แบบ FM3)” ส่ง สปสช. ทาง 02-1439730 tanapat.l@nhso.go.th

แบบปรับเปลี่ยนปริมาณการใช้วัคซีน (แบบ FM3) คลังวัคซีนโรงพยาบาล แบบปรับเปลี่ยนปริมาณการใช้วัคซีน (แบบ FM3)

ระยะที่ 1 การเบิก IPV ร่วมกับ tOPV (ต่อเนื่อง) คลังวัคซีนโรงพยาบาล ระยะที่ 1 การเบิก IPV ร่วมกับ tOPV (ต่อเนื่อง) การเบิก IPV GPO จะจัดส่งตามกำหนดปกติ หากไม่เพียงพอ สามารถเบิกเพิ่มระหว่างรอบได้ โดยใช้ “แบบฟอร์มใบเบิกกรณีต้องการวัคซีนเพิ่มระหว่างรอบ” ส่งไป GPO การเบิก tOPV คลังวัคซีน รพ. key on hand tOPV ได้จนถึง กพ. 59 GPO จัดส่งให้ในปริมาณ 2 เท่า ของค่า ROP ภายใน 11 มี.ค. 59 (เพื่อจ่าย มี.ค. - เม.ย. 59) หลัง 11 มี.ค. 59 GPO จะหยุดส่ง tOPV ทุกกรณี คลังวัคซีน รพ. จ่ายให้หน่วยบริการเครือข่ายได้จนถึง 22 เม.ย. 59

สำนักงานสาธารณสุขอำเภอ การบริหารจัดการวัคซีน IPV ระยะที่ 1 1. แจ้ง รพ.สต. เริ่มเบิกวัคซีน IPV ครั้งแรกจากคลังวัคซีน รพ. (ก่อนวันให้บริการฉีดวัคซีนเดือน ธ.ค.58) 2. ตรวจสอบการเบิกวัคซีน IPV ในใบเบิก ว3/1 ของ รพ.สต. ก่อนส่ง คลังวัคซีน รพ. 3. ตรวจสอบการเบิกวัคซีน tOPV และวัคซีนอื่นๆ ตามปกติเหมือนเดิม

หน่วยบริการในเครือข่ายPCU/รพ.สต. การบริหารจัดการวัคซีน IPV ระยะที่ 1 1. เริ่มเบิกวัคซีน IPV ครั้งแรกจากคลังวัคซีน โดยใช้แบบฟอร์ม ว3/1 ใหม่ สำหรับกลุ่มเป้าหมายเด็ก 4 เดือน (ก่อนวันให้บริการฉีดวัคซีนเดือน ธ.ค.) 2. ตรวจรับ IPV ที่ได้รับจากคลังวัคซีน รพ. และจัดเก็บ IPV ที่อุณหภูมิ 2-8 c 3. วัคซีน tOPV และวัคซีนอื่นๆ ดำเนินการเบิกจ่ายเหมือนเดิม

การคาดประมาณกลุ่มเป้าหมาย หน่วยบริการในเครือข่ายPCU/รพ.สต. การคาดประมาณกลุ่มเป้าหมาย คาดประมาณการจำนวนเด็ก 4 เดือน ที่ให้บริการแต่ละครั้งจาก 1. รายชื่อเด็กที่นัด ทั้งเด็กที่อยู่ในและนอกพื้นที่ที่รับผิดชอบ 2. เด็กที่ไม่ได้มาตามนัดในครั้งที่ผ่านมา 3. เด็กที่ไม่ได้นัดที่อาจเข้ามาขอรับวัคซีน เพื่อคำนวณ ปริมาณวัคซีน IPV ที่ต้องใช้ทั้งหมด การคาดประมาณปริมาณการใช้วัคซีน ให้เจ้าหน้าที่ประมาณการจำนวนเด็กที่ให้บริการในแต่ละครั้งจาก รายชื่อเด็กที่นัดทั้งเด็กที่อยู่ในและนอกพื้นที่ที่รับผิดชอบ เด็กที่ไม่ได้มาตามนัดในครั้งที่ผ่านมา เด็กที่ไม่ได้นัดที่อาจเข้ามาขอรับวัคซีน เพื่อคำนวณปริมาณวัคซีน IPV และ OPV ที่ต้องใช้ทั้งหมด แล้วประมาณการวัคซีนตามที่กล่าวในหัวข้อ “แนวทางการบริหารจัดการวัคซีนและระบบลูกโซ่ความเย็น”

หน่วยบริการในเครือข่ายPCU/รพ.สต. การเบิก IPV : หน่วยบริการในเครือข่าย เฉพาะครั้งแรกของการเบิก ให้กรอกช่อง “ยอดคงเหลือยกมา” ในแบบฟอร์ม ว.3/1 เป็นเลขศูนย์ ประมาณจำนวนที่ขอเบิกจากสูตร = จำนวนเด็กกลุ่มเป้าหมายในแต่ละเดือน x จำนวนครั้ง X ตัวคูณการสูญเสีย ขนาดบรรจุวัคซีน = จำนวนเด็กกลุ่มเป้าหมายในแต่ละเดือน x 1 X 1.33 10 จำนวน IPV ที่ขอเบิกแต่ละเดือน (ขวด)

หน่วยบริการในเครือข่ายPCU/รพ.สต. โดย * จำนวนเด็กกลุ่มเป้าหมายในแต่ละเดือน 1. กลุ่มเป้าหมายในพื้นที่ 2. กลุ่มเป้าหมายนอกพื้นที่ 3. เด็กที่ไม่ได้มาตามนัดในครั้งที่ผ่านมา 4. เด็กที่ไม่ได้นัดที่อาจเข้ามาขอรับวัคซีน * กำหนดการให้วัคซีน คือ 1 ครั้ง * อัตราสูญเสียวัคซีน IPV ขนาดบรรจุ 10 dose คิดในอัตรา 25% * ตัวคูณการสูญเสียวัคซีน = 100 = 100 = 1.33 100 – อัตราสูญเสีย 100 - 25

แบบฟอร์มสำหรับเบิกวัคซีน (แบบฟอร์ม ว.3/1) หน่วยบริการในเครือข่ายPCU/รพ.สต. แบบฟอร์มสำหรับเบิกวัคซีน (แบบฟอร์ม ว.3/1)

หน่วยบริการในเครือข่ายPCU/รพ.สต. การเบิก tOPV : หน่วยบริการในเครือข่าย ระหว่าง 23 – 28 เม.ย. 59 ให้เลื่อนนัดการบริการวัคซีน เริ่มนัด WBC ตั้งแต่ 29 เม.ย. 59 เป็นต้นไป

ระยะที่ 2 การเบิก IPV ร่วมกับ bOPV GPO จะจัดส่งตามกำหนดปกติ หากไม่เพียงพอ สามารถเบิกเพิ่มระหว่างรอบได้ โดยใช้ “แบบฟอร์มใบเบิกกรณีต้องการวัคซีนเพิ่มระหว่างรอบ” ส่งไป GPO การเบิก bOPV เริ่มเบิก bOPV ได้เดือน มี.ค. 59 ในเดือน มี.ค. 59 ให้ key on hand bOPV เป็น ศูนย์ (zero on hand) GPO จะส่ง bOPV ครั้งแรกให้คลังวัคซีน รพ. ตั้งแต่ 21 มี.ค. 59 - 22 เม.ย. 59 จัดส่งโดยใช้ค่า ROP เดียวกับของ tOPV

เพื่อป้องกัน ของตู้เย็นอื่นที่ไม่ได้เก็บ tOPV ขอให้คลังวัคซีนเก็บ bOPV แยกไว้ในช่องแช่แข็ง ของตู้เย็นอื่นที่ไม่ได้เก็บ tOPV ในคลังยาใหญ่ของโรงพยาบาลก่อน เพื่อป้องกัน ** การหยิบสลับกับ tOPV ซึ่งอาจจะทำให้หยอดวัคซีน bOPV ก่อนวันที่ 29 เมษายน 2559 ** อาจหยิบ bOPV ไปทำลายแทน tOPV

การจัดส่ง bOPVครั้งแรก GPO จะมีข้อความติดกล่องโฟมบรรจุ วัคซีน OPV ในกล่องนี้ เป็นวัคซีนโปลิโอชนิดรับประทานแบบใหม่ (bOPV) ขอให้ท่านแยกเก็บวัคซีนดังกล่าวในช่องแช่แข็ง ของตู้เย็นอื่นที่ไม่ได้เก็บวัคซีนโปลิโอชนิดเดิม (tOPV) เพื่อไม่ให้ปะปนกันและป้องกันการหยิบผิด เริ่มจ่ายวัคซีน bOPV ได้ตั้งแต่ 25 เม.ย. 59 เป็นต้นไป เริ่มใช้ bOPV ตั้งแต่ 29 เม.ย. 59 เป็นต้นไป (ไม่ให้มีการใช้ bOPV ก่อน 29 เม.ย. 59)

คลังวัคซีน รพ. สามารถจ่าย bOPV ให้หน่วยบริการ เครือข่ายได้ ตั้งแต่ 26 เม.ย. 59 เป็นต้นไป เม.ย. 59 ให้เริ่ม key on hand ของ bOPV พร้อมวัคซีนอื่นๆ ตามกำหนด key ปกติ GPO จะจัดส่ง bOPV ตามกำหนดปกติ ตั้งแต่ พ.ค. 59 เป็นต้นไป

การเบิก bOPV : หน่วยบริการในเครือข่าย ประมาณการเบิก bOPV เท่ากับจำนวนเบิก tOPV เดิม เฉพาะครั้งแรกของการเบิก bOPV ให้กรอกช่อง “ยอดคงเหลือยกมา” ในแบบฟอร์ม ว.3/1 เป็นเลขศูนย์ * กรอกข้อมูลการเบิกวัคซีน bOPV พร้อมวัคซีนอื่น ในแต่ละเดือน ลงในแบบฟอร์ม ว.3/1 * ส่งแบบฟอร์ม ว.3/1 ให้ สสอ./ฝ่ายเภสัชกรรม รพ. ภายในระยะเวลาที่กำหนด

หน่วยบริการในเครือข่าย การจัดทำทะเบียนรับ-จ่าย วัคซีน คลังวัคซีนโรงพยาบาล หน่วยบริการในเครือข่าย การจัดทำทะเบียนรับ-จ่าย วัคซีน เพิ่มรายการ IPV และ bOPV ให้ระบุ Lot no. และ Exp. date ทุกครั้งที่มีการรับ และจ่ายวัคซีน จ่ายโดยใช้หลัก FEFO (First Expire First Out) ยอดคงเหลือต้องเป็นปัจจุบัน สามารถระบุจำนวนวัคซีนที่เหลือ เป็นราย Lot no. ได้ สำหรับคลังวัคซีน รพ. ขอให้จำหน่าย tOPV ที่เหลือออกจากทะเบียน รับ-จ่าย ภายใน 25 เม.ย. 59 สำหรับหน่วยบริการ ขอให้จำหน่าย tOPV ที่เหลือออกจากทะเบียน รับ-จ่าย ภายใน 22 เม.ย. 59

หน่วยบริการในเครือข่าย การจัดเก็บวัคซีนในระบบลูกโซ่ความเย็น คลังวัคซีนโรงพยาบาล หน่วยบริการในเครือข่าย การจัดเก็บวัคซีนในระบบลูกโซ่ความเย็น tOPV และ bOPV เป็นวัคซีนเชื้อเป็นที่ทำให้อ่อนฤทธิ์ลง (Live attenuated vaccine) ไวต่อความร้อน เก็บในช่องแช่แข็ง IPV เป็น วัคซีนเชื้อตาย (Inactivated vaccine) เก็บในตู้เย็นที่มีอุณหภูมิ +2 ถึง +8 °C ห้ามเก็บในช่องแช่แข็ง

กรณีเก็บวัคซีนโปลิโอไม่ถูกต้อง ติดต่อสำนักโรคติดต่อทั่วไป กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข โทรศัพท์ 02-5903222 02-5903364 02-5903365

GPO ส่ง tOPV 2 เท่าของ ROPภายใน 11 มี.ค. 59 คลังวัคซีนโรงพยาบาล IPV ตั้งแต่ ธ.ค. 58 key on hand ของ IPV ตามปกติ GPO ส่ง IPV ภายใน 30 พ.ย. 58 และเริ่มจ่ายได้ ขอปรับ ROP ของ IPV พ.ย. 58 ธ.ค. 58 มี.ค. 59 tOPV GPO ส่ง tOPV 2 เท่าของ ROPภายใน 11 มี.ค. 59 (หลัง 11 มี.ค. หยุดส่ง) 25 เม.ย. 59 ให้จำหน่าย tOPV ออกจาก ทะเบียน รับ-จ่าย จ่าย tOPV ได้ถึง 22 เม.ย. 59 key on hand ของ tOPV ได้จนถึง ก.พ. 59 ก.พ. 59 มี.ค. 59 เม.ย. 59 bOPV ตั้งแต่ เม.ย. 59 key on hand ของ bOPV ตามปกติ bOPV ให้ key zero on hand ใน VMI GPO ส่ง bOPV 21 มี.ค.–22 เม.ย. 59 เริ่มจ่าย bOPV ได้ ตั้งแต่ 25 เม.ย. 59 มี.ค. 59 เม.ย. 59

หน่วยบริการในเครือข่าย เริ่มเบิก และให้บริการ IPV เริ่มเบิก IPV พ.ย. 58 เริ่มให้บริการ IPV ได้ตั้งแต่ 1 ธ.ค. 59 พ.ย. 58 ธ.ค. 58 tOPV 22 เม.ย. 59 ให้จำหน่าย tOPV ออกจาก ทะเบียน รับ-จ่าย tOPV สามารถเบิกได้ ถึงแค่ มี.ค. 59 23-28 เม.ย. 59 ให้เลื่อนนัดเด็ก เริ่มนัดอีกครั้ง 29 เม.ย. 59 จ่าย tOPV ได้ถึง 22 เม.ย. 59 มี.ค. 59 เม.ย. 59 bOPV เริ่มเบิก และให้บริการ ได้ตั้งแต่ 29 เม.ย. 58 เม.ย. 59

วัคซีน IPV (Inactivated Poliomyelitis Vaccine) IMOVAX POLIO เป็นยาน้ำแขวนตะกอนสำหรับฉีด ขนาดบรรจุขวดละ 10 โด๊สๆละ 0.5 มล. บรรจุกล่องละ 10 ขวด เก็บที่อุณหภูมิ +2 ถึง +8 องศาเซลเซียส ห้ามแช่แข็ง เปิดขวดแล้วใช้ภายใน 8 ชั่วโมง

อาการข้างเคียงภายหลังได้รับวัคซีน IPV อาการภายหลังได้รับวัคซีนที่พบส่วนใหญ่ไม่รุนแรง ได้แก่ •อาการเฉพาะที่ (local reactions) ได้แก่ ปวด (ร้อยละ 13), บวม (ร้อยละ 1) และ แดง (ร้อยละ 3.2) •อาการระบบต่างๆ (systemic reactions) ได้แก่ - ไข้สูง ≥39 องศาเซลเซียส (ร้อยละ 38), - ไม่สบายตัว ซึม หงุดหงิด และร้องไห้กวน อย่างไรก็ตามอาการเหล่านี้อาจเกิดจากวัคซีน DTP ซึ่งให้พร้อมกันก็ได้ ซึ่งมีหลายการศึกษาที่พบว่าการให้วัคซีนโปลิโอชนิดฉีด(IPOL) ร่วมกับวัคซีนป้องกันคอตีบ-ไอกรน-บาดทะยัก (DTP) ซึ่งเป็นวัคซีนตามตารางวัคซีนที่เด็กควรได้รับที่อายุต่างๆนั้น มีอุบัติการณ์อาการข้างเคียงภายหลังได้รับวัคซีนไม่แตกต่างจากการได้วัคซีน DTP อย่างเดียว - เบื่ออาหารและอาเจียน พบอุบัติการณ์ไม่แตกต่างกับการได้รับวัคซีน DTP อย่างเดียว - อาการทางระบบประสาท เคยมีรายงาน Guillain-Barresyndrome (GBS) ในผู้ที่ได้รับวัคซีน inactivated poliovirus vaccine แต่อย่างไรก็ตามไม่พบความสัมพันธ์ระหว่างการได้รับวัคซีน IPOL กับ GBS

ข้อห้ามและข้อควรระวัง ข้อห้ามใช้วัคซีน IPV ผู้ที่มีประวัติแพ้ตัวยาสำคัญ แพ้ส่วนประกอบในวัคซีน นีโอมัยซิน สเตรปโตมัยซิน โพลีมิกซิน บี หรือเคยมีอาการ ภายหลังได้รับวัคซีนเข็มก่อน 2. กำลังมีไข้ หรือเจ็บป่วยเฉียบพลัน ข้อควรระวัง เป็นโรค thrombocytopenia กำลังได้รับยากดภูมิคุ้มกัน ห้ามฉีดวัคซีนเข้าเส้นเลือด

THANK YOU