ทิศทางการศึกษาเอกชน พ.ศ. 2551

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
O-NET มัธยมศึกษาปีที่ 3
Advertisements

ผลการทดสอบทาง การศึกษาระดับชาติขั้น พื้นฐาน และข้อเสนอเพื่อการพัฒนา โดย กลุ่มงานวัดและประเมินผล การศึกษา กลุ่มนิเทศ ติดตามและ ประเมินผลการจัดการศึกษา.
โจทย์ หาราคาค่าเช่าห้องพัก โดยมีเงื่อนไขว่า ถ้าพักไม่เกิน5วัน จะไม่มีส่วนลด ถ้าพัก5-8วัน จะมีส่วนลด 5% แต่ถ้าพักมากกว่า8วันขึ้นไป จะมีส่วนลด 10%
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ การจัดการเรียนการสอน
การเชื่อมโยงข้อมูลแบบ External Links การเชื่อมโยงข้อมูลออกไปสู่ภายนอกไฟล์ ตัวอย่างการใช้คำสั่ง แสดงผล.
ผลการประเมินคุณภาพการศึกษาเพื่อ พัฒนาคุณภาพผู้เรียน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 เทียบปี 2551 สาระ ร้อยละ.
หน่วยที่ 2 วิธีการคิดคำสุทธิ เนื้อหา จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม
ผลการสอบ O-NET ป. 6 ปี การศึกษา 2556 ร. ร. ภายในกลุ่มฯบ้านโคก เปรียบเทียบกับระดับประเทศ.
เรื่องที่1 ขอให้น้องๆ ตั้งใจเรียนกันด้วยนะค่ะ ลดการเล่นลงบ้าง หัน มาอ่านหนังสือทบทวนบทเรียนให้มากๆ เพื่อเป็นประโยชน์แก่ ตัวเอง งานชิ้นไหนยังไม่ได้ส่งก็ทำส่งให้เรียบร้อย.
เปิด เฉพาะ ม.ต้น ม.ปลาย เรียนฟรี ใช้หลักสูตร กศน. 51
O – NET ย่อมาจากคำว่าอะไร?
ผลการดำเนินงาน PM 18 การบริหารจัดการโครงการ คณะกรรมการสุขศึกษาและ ประชาสัมพันธ์ ปีงบประมาณ พ. ศ วันที่ 9 กันยายน 2558.
โปรแกรมฐานข้อมูล เป็นโปรแกรมหรือซอฟแวร์ที่ช่วยจัดการ ข้อมูลหรือรายการต่าง ๆ ที่อยู่ในฐานข้อมูล ไม่ว่าจะเป็นการจัดเก็บ การ เรียกใช้ การปรับปรุงข้อมูล โปรแกรมฐานข้อมูลจะช่วยให้ผู้ใช้สามารถ.
เอกสารนำเสนอโครงการ. ที่มาโครงการ : สำนักส่งเสริมพัฒนาธุรกิจ กระทรวงพาณิชย์ ธนาคาร SME Bank และสมาคม แฟรนไชส์ และไลเซนส์ (FLA) ร่วมกันผลักดันโครงการช่วยด้านการเงินแก่
การนิเทศ ติดตามและประเมินผล
การจัดทำโครงการ/กิจกรรม
การบริหารการทดสอบ O-NET
การบริหารการทดสอบระดับชาติ
สรุปการดำเนินงาน ตามนโยบายสำคัญของกระทรวงศึกษาธิการ
แผนปฏิบัติการ สพฐ. ปี 2554.
19 พฤศจิกายน 2559 ณ ห้องประชุมสักทอง1
รูปแบบและแนวทางการประเมินผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
ณ โรงแรมบางกอกพาเลส กทม.
เวที Wifi(รหัส ) techno1
Cash Flow Case Study.
คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
เอกสารอื่นๆที่เกี่ยวข้องกับการขนส่ง
นำเสนอโดยนายอนุสรณ์ โชติชื่น และนายสมศักดิ์ พัดพรม
ผู้เข้ารับการอบรมเตรียมรหัสผู้ใช้และรหัสผ่าน ที่ ศน.สานิต แจก
หน่วยที่ 2 การวิเคราะห์ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ (NT/O-NET)
สินค้าและบริการ.
การรับบุคคลเข้าศึกษาในระดับปริญญาตรี
การใช้งานคอมพิวเตอร์ให้ปลอดภัย Keep it secure
บทที่ 9 งบประมาณการลงทุน.
ระเบียบวาระการประชุม
แผนการเงินการคลัง (Planfin) ปีงบประมาณ พ.ศ. 2561
การให้บริการข้อสอบ Pre O-NET
การเตรียมการเพื่อรองรับการตรวจประเมินผล ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการของกระทรวงมหาดไทย (ตัวชี้วัดศูนย์ดำรงธรรม) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ นายรณกฤต อุดมสุขโกศล.
กลุ่มพัฒนาเครือข่ายและสถานศึกษาต้นแบบ
โรงเรียนคุณภาพประจำตำบล
รายงานผลการดำเนินงานประจำปีงบประมาณ 25..
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาพระนครศรีอยุธยา เขต 1
ประชุมการจัดสอบ O-NET2560
ความหมายและความสำคัญ ของการประเมินภาคปฏิบัติ (Performance Assessment)
โรงพยาบาลวังน้ำเย็น ประชากรรวม ๖๔,๓๘๐ คน UC ๔๗,๘๕๘ คน.
ของ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษา ขั้นพื้นฐาน
๓.จัดระบบบริหารและสารสนเทศ
เอกสารประกอบคำบรรยาย เรื่อง
การปล่อย CO2 จากการใช้พลังงานของประเทศ
ข้อสอบ O – NET : การเขียนเรียงความ ปี ๖๐, ๕๙
นายดำหริ งิมสันเทียะ ผอ.สพป.อย.1
สิงหาคม 2558.
รอบสามประเมินกลุ่มตัวบ่งชี้ที่ 1-5)
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาแพร่ เขต 1
การประชุมชี้แจงศูนย์สอบ O-NET ชั้น ป.6 และ ชั้น ม.3 ปีการศึกษา 2560
นโยบายการบริหารจัดการอาชีวศึกษา
คำถาม ข้อ 1 โรงเรียนสวัสดีวิทยา สำนักงานเขตวัฒนา กรุงเทพมหานคร
ระบบประสาทและการแสดงพฤติกรรม (Nervous system and Animal Behavior)
ผลการทดสอบระดับชาติ O-NET,NT 2558
ระบบจำนวนจริง ข้อสอบ O-net
บทที่ 4 การทำงบการเงินรวมหลังวันซื้อหุ้น
รอบที่ ๑ (๑ ตุลาคม ๒๕๖๑ – ๓๑ มีนาคม ๒๕๖๒
ตัวชี้วัดตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2559
การใช้ประโยชน์ข้อมูลสภาพ และปัญหาด้านทรัพยากรน้ำในลุ่มน้ำ
PLC.
การจัดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน O-NET ปีการศึกษา 2559
การรับนักเรียนเข้าศึกษาในคณะวิทยาศาสตร์ จุฬาฯ
แนวทางการจัดทำและการขับเคลื่อน แผนปฏิบัติการ สพฐ.
ขั้นตอนการสร้างเว็บไซต์
ข้อสอบ O – NET : แสดงทรรศนะ โน้มน้าว โต้แย้ง อนุมาน (ปี ๖๑)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ทิศทางการศึกษาเอกชน พ.ศ. 2551 โดย ดร.จรวยพร ธรณินทร์ ปลัดกระทรวงศึกษาธิการ หอประชุมโรงเรียนอัสสัมชัญ บางรัก กทม. วันที่ 21 พฤศจิกายน 2550 เวลา 13.30- 15.00น

พระราชบัญญัติโรงเรียนเอกชนพ.ศ. 2550 หมวด ๑ คณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน หมวด ๒โรงเรียนในระบบ ส่วนที่ ๑ การจัดตั้งและเปิดดำเนินการ ส่วนที่ ๒ ทรัพย์สินและบัญชี ส่วนที่ ๓ การอุดหนุนและส่งเสริม ส่วนที่ ๔ กองทุน ส่วนที่ ๕ การสงเคราะห์

พระราชบัญญัติโรงเรียนเอกชนพ.ศ. 2550 ส่วนที่ ๖ การคุ้มครองการทำงาน ส่วนที่ ๗ การกำกับดูแล ส่วนที่ ๘ การโอนใบอนุญาตให้จัดตั้งโรงเรียนในระบบ ส่วนที่ ๙ การเลิกกิจการและการชำระบัญชี ส่วนที่ ๑๐ การอุทธรณ์ หมวด ๓โรงเรียนนอกระบบ หมวด ๔พนักงานเจ้าหน้าที่ หมวด ๕บทกำหนดโทษ บทเฉพาะกาล

ผลการพิจารณาพระราชบัญญัติโรงเรียนเอกชนพ.ศ.2550 กมธ. พิจารณาร่างพระราชบัญญัติโรงเรียนเอกชนประชุม6ครั้ง และนำเข้าวาระ 2 และ 3 เมื่อวันพุธที่ 17 ตุลาคม 2550 การแก้ไขรวมทั้งสิ้น 24 มาตรา ได้แก่มาตรา 18, 27, 29, 33, 34, 37, 45, 48, 49, 60, 69, 73, 78, 86, 94, 106, 115, 126, 127, 131,146, 148,159, และ 163 นอกจากนี้ตัดออก 1 มาตรา คือ 145 และเพิ่มเข้ามา 1 มาตรา เรื่อง จรรยามารยาทวินัยและหน้าที่

สรุปสาระหลักกฎหมายที่ได้เปลี่ยนไปจากฉบับเดิม มาตรา 8 ให้ปรับองค์ประกอบคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน (กช) โดยเพิ่มกรรมการจากผู้แทนครู 1 คน และผู้ทรงคุณวุฒิอีก 1 คน ด้านการศึกษาเพื่อคนพิการทำให้องค์ประกอบเพิ่มจาก 17 เป็น 19 คน มาตรา 27 ให้ยกเว้นค่าธรรมเนียมการโอนกรรมสิทธิ์และสิทธิครอบครองในที่ดินกลับคืนให้กับผู้รับใบอนุญาต เมื่อโรงเรียนในระบบเลิกกิจการ

สรุปสาระกฎหมายที่ได้ปรับเปลี่ยนไปจากเดิม มาตรา 33 กช. มีอำนาจสั่งให้ลดค่าธรรมเนียมการศึกษาและค่าธรรมเนียมอื่นของโรงเรียนในระบบ หากมีลักษณะเป็นการแสวงหากำไรเกินควร มาตรา 34 หากค่าธรรมเนียมการศึกษาและค่าธรรมเนียมอื่นที่โรงเรียนในระบบเป็นภาระแก่ประชาชนเกินสมควร สามารถสั่งให้ลดค่าธรรมเนียมได้

สรุปสาระกฎหมายที่ได้แก้ไขใหม่ มาตรา 37 ได้ตัดกรณีผู้อำนวยการโรงเรียนนานาชาติเป็นชาวต่างชาติได้ โดยให้คงเป็นผู้อำนวยการต้องเป็นคนไทย มาตรา 45 โรงเรียนในระบบยกเว้นโรงเรียนที่ได้รับเงินอุดหนุนจากรัฐ ให้นำผลกำไรไม่เกินร้อยละ 3 เข้าสมทบกองทุนส่งเสริมโรงเรียนในระบบ โดยกำหนดระยะเวลาการส่งเงินและจำนวนเงินที่โรงเรียนในระบบต้องจัดสรรเข้ากองทุน

สรุปสาระกฎหมายที่ได้แก้ไขแล้ว มาตรา 48 ให้เพิ่ม (5) ยกเว้นหรือลดหย่อนภาษีโรงเรือนและที่ดิน หรือภาษีอื่นใดในทำนองเดียวกัน ทั้งนี้ตามที่กฎหมายกำหนด มาตรา 69 ปรับคุณสมบัติผู้อำนวยการกองทุนสงเคราะห์ให้มีอายุไม่เกิน 65 ปี

ประเด็นที่พิจารณาแก้ไขได้แล้ว ในส่วนของกองทุนสงเคราะห์ ( 1) สถานภาพของกองทุนเป็นนิติบุคคล ( 2) สามารถจ้างบุคคลมาเป็นผู้อำนวยการกองทุน ( 3) เพิ่มผู้เข้าร่วมกองทุนประเภทบุคลากรทางการศึกษาเช่นเจ้าหน้าที่ห้องสมุด พนักงานโสตทัศนูปกรณ์ ( 4) ผู้ทำงานไม่ครบ10ปีแต่ลาออกไป สามารถส่งเงินสมทบในช่วงปีที่เหลืออยู่เพื่อรักษาสิทธิประโยชน์ได้

สรุปสาระกฎหมายที่ได้แก้ไขแล้ว มาตรา 73 ปรับการส่งเงินสมทบเข้ากองทุนสงเคราะห์ ให้ผู้อำนวยการ ครู และบุคลากรส่งเงินสมทบไม่เกินร้อยละ 3 ของเงินเดือน โรงเรียนในระบบส่งสมทบ ร้อยละ 3 เป็นรายบุคคล ส่วน ศธ.ต้องสมทบร้อยละ 6 เป็นรายบุคคล มาตรา 78 เมื่อผู้อำนวยการ ครู หรือ บุคลากรตายเนื่องจากการปฏิบัติหน้าที่ให้กองทุนสงเคราะห์จ่ายเงินค่าทดแทน จากเดิมที่ระบุให้โรงเรียนเป็นผู้รับภาระ

สรุปสาระกฎหมายที่ได้แก้ไขแล้ว มาตรา 86 ให้จัดให้มีคณะกรรมการคุ้มครองการทำงานเพื่อช่วยวินิจฉัย กรณีพิพาทที่เกิดขึ้นจาก ผู้ปฏิบัติงานของโรงเรียน มาตรา 96/1 ให้เพิ่ม 1 มาตรา โดยกำหนดให้มีการกำกับจรรยา มารยาท และวินัยของผู้รับใบอนุญาต ผู้จัดการ และผู้บริหารของโรงเรียนนอกระบบ ส่วนของผู้บริหารโรงเรียนในระบบและครูเป็นไปตาม พ.ร.บ.สภาครูและบุคลากรทางการศึกษา

สรุปสาระกฎหมายที่ได้แก้ไขใหม่ มาตรา 106 ให้ขยายเวลาจากที่กำหนดไว้ 90 วัน เป็นระยะเวลาตามความจำเป็น ในกรณีที่ผู้รับใบอนุญาตตาย และจะต้องให้ระยะเวลาทายาทเข้ารับโอนกิจการแทน มาตรา 115 หากโรงเรียนในระบบเลิกกิจการให้ ศธ.ดำเนินการช่วยเหลือนักเรียนตามควรแก่กรณี เพื่อให้นักเรียนสามารถหาที่เรียนและไม่เกิดผลกระทบต่อการเรียน

สรุปสาระกฎหมายที่ได้แก้ไขใหม่ มาตรา 126 ในส่วนของโรงเรียนนอกระบบให้เพิ่มการนำบทบัญญัติที่ใช้กับโรงเรียนในระบบมาใช้โดยอนุโลมโดยขอเพิ่มมาตรา 43 เฉพาะวรรคหนึ่งและวรรค 3 มาตรา 48(3) และ (4) ซึ่งจะช่วยให้ลดหย่อนหรือยกเว้นภาษีเงินได้ มาตรา 134, 144, 146 และ 148 รวม 4 มาตรา ให้ตัดโทษจำคุกหรือทั้งจำทั้งปรับออกไป

สรุปสาระกฎหมายที่ได้แก้ไขใหม่ มาตรา 159 โรงเรียนที่ตั้งก่อน พ.ร.บ.โรงเรียนเอกชน ฉบับใหม่ให้โอนที่ดินและทรัพย์สินให้โรงเรียนภายใน 1 ปี หรือมีหนังสือยินยอมให้ใช้ที่ดินสิ่งก่อสร้างได้ ภายใน 1 ปี เนื่องจากโรงเรียนเป็นนิติบุคคล และผู้รับใบอนุญาตเป็นผู้แทนของนิติบุคคลตามกฎหมายใหม่ มาตรา 161 ให้ขยายเวลาในการสรรหาผู้อำนวยการกองทุนสงเคราะห์จากที่กำหนดไว้ 180 วัน เป็น 1 ปี

การเตรียมงานออกกฎหมายลูกตาม พ.ร.บ.โรงเรียนเอกชน จะต้องยกร่างกฎกระทรวง รวม 7 ฉบับ ระเบียบ 18 ฉบับ ประกาศ 4 ฉบับ หลักเกณฑ์ 14 ฉบับ รวมทั้งหมด 43 ฉบับ

กฎกระทรวง รวม 7 ฉบับ 1. กฎกระทรวงกำหนดประเภทสถานศึกษาเอกชน 2. กฎกระทรวงกำหนดอัตราค่าธรรมเนียม 3. กฎกระทรวงว่าด้วยหลักเกณฑ์วิธีการและเงื่อนไขในการอนุญาต จัดตั้งโรงเรียนเอกชนในระบบ 4. กฎกระทรวงว่าด้วยขนาดที่ดิน ในการจัดตั้งโรงเรียนเอกชนในระบบ 5. กฎกระทรวงว่าด้วยกำหนดวงเงินส่งเงินสะสมสำหรับตนเองของผู้อำนวยการครูและบุคลากรทางการศึกษา 6. กฎกระทรวงว่าด้วยคุณสมบัติและลักษณะต้องห้ามของผู้บริหารโรงเรียนนอกระบบ 7. กฎกระทรวงว่าด้วยบัตรประจำตัวพนักงานเจ้าหน้าที่

ระเบียบ รวม 18 ฉบับ 2. ระเบียบมาตรการจัดสรรเงินอุดหนุนการศึกษาเอกชน 1. ระเบียบการคัดเลือกคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน 2. ระเบียบมาตรการจัดสรรเงินอุดหนุนการศึกษาเอกชน 3. ระเบียบการกำหนดกลุ่มส่งเสริมสถานศึกษาเอกชน ในสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา 4. ระเบียบหลักเกณฑ์และวิธีการคัดเลือกผู้แทนผู้รับใบอนุญาต และผู้แทนครูในคณะกรรมการเขตพื้นทางการศึกษา 5. ระเบียบว่าด้วยการตั้งชื่อ และติดตั้งป้ายชื่อโรงเรียน

ระเบียบ รวม 18 ฉบับ 6. ระเบียบว่าด้วยคุณสมบัติหลักเกณฑ์ และวิธีการแต่งตั้งผู้จัดการ 7. ระเบียบกำหนดจำนวนครู และบุคลากรทางการศึกษาในโรงเรียนในระบบ 8. ระเบียบว่าด้วยการรับเงิน การเบิกจ่ายเงิน การเก็บรักษาเงิน และการบริหารกองทุนส่งเสริมโรงเรียนในระบบ 9. ระเบียบว่าด้วยการคัดเลือกคณะกรรมการกองทุนสงเคราะห์ 10. ระเบียบว่าด้วยการประชุมของคณะกรรมการและอนุกรรมการกองทุนสงเคราะห์

ระเบียบ รวม 18 ฉบับ 11. ระเบียบว่าด้วยการกำหนดเงินค่าจ้าง ค่าตอบแทน และเงินอื่นของผู้อำนวยการกองทุนสงเคราะห์ 12. ระเบียบว่าด้วยการจ่ายเงินดอก ผล กองทุนสงเคราะห์เป็นเงินสวัสดิการสงเคราะห์ 13. ระเบียบการจ่ายเงินเมื่อผู้อำนวยการ ครู หรือบุคลากรทางการศึกษาประสบอันตรายเนื่องจากการปฏิบัติหน้าที่หรือทำงานในแต่โรงเรียนในระบบ 14. ระเบียบว่าด้วยการจัดทำของการเงิน วันเริ่ม และวันสิ้นปีบัญชีของกองทุนสงเคราะห์

ระเบียบ รวม 18 ฉบับ 15. ระเบียบว่าด้วยการจัดให้มีคณะกรรมการคุ้มครองการทำงานของผู้ปฏิบัติงานโรงเรียนในระบบ 16. ระเบียบว่าด้วยจรรยา มารยาท วินัย และหน้าที่ ของผู้รับใบอนุญาตผู้อำนวยการ ผู้บริหาร ผู้จัดการ ครู และบุคลากรทางการศึกษาโรงเรียนเอกชน 17. ระเบียบกำหนดคุณสมบัติ และอำนวยของครู หรือผู้สอนในโรงเรียนนอกระบบ 18. ระเบียบการจัดทำรายงาน แสดงกิจการ และวงการเงินของโรงเรียนนอกระบบ

ประกาศ รวม 4 ฉบับ 1. ประกาศการจัดประเภทและระดับของโรงเรียนในระบบ 2. ประกาศการจัดตั้งสำนักงานใหญ่ของกองทุนสงเคราะห์ ผู้อำนวยการ ครู และบุคลากรทางการศึกษา 3. ข้อบังคับว่าด้วยการมอบอำนาจให้ผู้อื่นปฏิบัติงานแทนผู้อำนวยการกองทุนสงเคราะห์ 4. ประกาศเรื่องประเภทและลักษณะของโรงเรียนนอกระบบรวมทั้งการจัดการเรียนการสอนและหลักสูตร

หลักเกณฑ์ รวม 14 ฉบับ 1. การกำหนดค่าธรรมเนียมการศึกษาและค่าธรรมเนียมอื่น 2. หลักเกณฑ์ในการอุดหนุนและให้ความช่วยเหลือโรงเรียนที่ไม่เรียกเก็บค่าธรรมเนียมการศึกษา หรือเก็บต่ำกว่าเกณฑ์อัตราที่ถึงเรียกเก็บตามกำหนด 3. หลักเกณฑ์การกำหนดวัตถุประสงค์ของกองทุนสำรองและระยะเวลาการส่งเสริมและจำนวนเงินที่โรงเรียนในระบบต้องจัดรวมเข้ากองทุน

หลักเกณฑ์ รวม 14 ฉบับ 4. หลักเกณฑ์ การสงเคราะห์โรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลามภาคใต้ในกองทุนส่งเสริมโรงเรียนในระบบ 5. หลักเกณฑ์วิธีการและเงื่อนไขในการใช้สิทธิ์กู้ยืมเงินจากกองทุนส่งเสริมโรงเรียนในระบบ 6. หลักเกณฑ์วิธีการและเงื่อนไขในการกู้ยืมเงินจากกองทุนสงเคราะห์

หลักเกณฑ์ รวม 14 ฉบับ 7. หลักเกณฑ์และวิธีการกำหนดค่าใช้จ่ายในการดำเนินงานของกองทุนสงเคราะห์ 8. หลักเกณฑ์การจ่ายเงินตอบแทนนอกเหนือจากเงินทุนเลี้ยงชีพประเภท 2 ของผู้อำนวยการครูหรือบุคลากรทางการศึกษาที่มีเวลาทำงานเกินยี่สิบปี 9. หลักเกณฑ์และเงื่อนไขผู้อำนวยการครูและบุคลากรทางการศึกษา ซึ่งออกจากงานโดยไม่มีความผิดและมีเวลาทำงานไม่น้อยกว่า 5 ปี แต่ไม่เกิน 10 ปี เพื่อได้รับทุนเลี้ยงชีพจากกองทุนสงเคราะห์ 10. หลักเกณฑ์ว่าด้วยค่าใช้จ่ายในการดำเนินกิจการระหว่างการควบคุมโรงเรียนในระบบ รวมทั้งค่าตอบแทนในการปฏิบัติหน้าที่ของคณะกรรมการควบคุมโรงเรียนในระบบ

หลักเกณฑ์ รวม 14 ฉบับ 11. หลักเกณฑ์และวิธีการโอนใบอนุญาตให้จัดตั้งโรงเรียนในระบบให้บุคคลอื่น 12. หลักเกณฑ์วิธีการและเงื่อนไขคำสั่งให้ทุเลาการปฏิบัติตามคำสั่งเพื่อรอคำวินิจฉัยอุทธรณ์ 13. เงื่อนไขการปฏิบัติตามระเบียบคุณสมบัติของครูและบุคลากรทางการศึกษาหรือไม่จัดทำเอกสารการสอนเป็นภาษาไทยของโรงเรียนในระบบ 14. หลักเกณฑ์วิธีการและเงื่อนไขการจัดทำตราสารจัดตั้งของโรงเรียนในระบบและการดำเนินการทางที่ดีและทรัพย์สินของโรงเรียนในระบบ

ยุทธศาสตร์การพัฒนาคุณภาพการศึกษา : ระเบียบวาระแห่งชาติ(ร่างโดยสำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา) 1. สมรรถนะการศึกษาไทยต่ำกว่าหลายประเทศ 2. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในวิชาหลักอยู่ในเกณฑ์ต่ำ 3. ผู้สำเร็จการศึกษาขาดคุณลักษณะที่สำคัญที่ผู้ใช้กำลังคน ต้องการ 4. ปัญหาคุณภาพการศึกษามีสาเหตุทั้งจากปัจจัยภายในและภายนอก 5. จำเป็นต้องเร่งจัดทำยุทธศาสตร์แก้ไขปัญหา

2) ไม่มีหน่วยงานที่ดูแลรับผิดชอบโดยตรง ประเด็นปัญหาการศึกษาปฐมวัย - ผู้เรียนไม่ได้รับการพัฒนาอย่างเต็มศักยภาพ สาเหตุของปัญหาการศึกษาปฐมวัย 1) ความไม่พร้อมในการจัดการศึกษาทั้งด้านครู อาคารสถานที่และวัสดุอุปกรณ์ 2) ไม่มีหน่วยงานที่ดูแลรับผิดชอบโดยตรง 3) ขาดการประสานและดำเนินการร่วมกันระหว่างหน่วยงาน

3) ผู้เรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนต่ำกว่าหลายประเทศ ประเด็นปัญหาการศึกษาขั้นพื้นฐาน 1) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียนในวิชาหลักอยู่ในเกณฑ์ต่ำ - ผลการทดสอบระดับชาติ (สพฐ.) - ผลการทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ (O-NET) 2) ผู้เรียนมีคุณลักษณะยังไม่ได้มาตรฐานตามเกณฑ์ในด้านความรู้ ความสามารถในการคิด อย่างเป็นระบบ ความรู้และทักษะที่ จำเป็นตามหลักสูตร ทักษะในการแสวงหา ความรู้ด้วยตนเอง รักการเรียนรู้ และพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง ฯลฯ 3) ผู้เรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนต่ำกว่าหลายประเทศ 4) สถานศึกษาต่างภูมิภาค ต่างขนาด ต่างสังกัดมีคุณภาพ มาตรฐานแตกต่างกัน

2. สาเหตุของปัญหาการศึกษาขั้นพื้นฐาน 1) ขาดแคลนครู 2) หลักสูตรและกระบวนการเรียนการสอน 3) โรงเรียนขนาดเล็ก 4) ทรัพยากรและการลงทุนเพื่อการศึกษา - งบประมาณมีแนวโน้มลดลงและไม่เพียงพอเพื่อการพัฒนา คุณภาพ 5) ระบบการบริหารจัดการ 6) การส่งเสริมการมีส่วนร่วมในการบริหารจัดการ 7) ปัจจัยด้านการเมือง

2)ส่งเสริมและสนับสนุนทุกภาคส่วนให้มีส่วนร่วม หลักการและกรอบแนวทางการพัฒนาคุณภาพการศึกษา 1) ปรับบทบาทของรัฐจากผู้จัดเป็นผู้กำกับนโยบาย มาตรฐาน ส่งเสริม ติดตาม ประเมินผล 2)ส่งเสริมและสนับสนุนทุกภาคส่วนให้มีส่วนร่วม 3) ผู้เรียนร่วมรับภาระค่าใช้จ่าย 4) จัดให้มีทุนการศึกษาสำหรับผู้ด้อยโอกาส/ยากจน

หลักการและกรอบแนวทางการพัฒนาคุณภาพการศึกษา 5) จัดให้มีครูอาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษาตามเกณฑ์มาตรฐาน 6) จัดให้มีสื่อการเรียนการสอนที่ทันสมัย 7) กระจายอำนาจการบริหารจัดการศึกษาไปยังสถานศึกษา เขตพื้นที่การศึกษา 8) จัดสรรงบประมาณโดยเน้นด้านอุปสงค์ ใช้กลไกการเงินกำกับนโยบายและพัฒนาคุณภาพ

ยุทธศาสตร์พัฒนาคุณภาพการศึกษาปฐมวัย กลยุทธ์ 1 : ส่งเสริมการพัฒนาเด็กตามช่วงวัยอย่างมีคุณภาพ มาตรการ : 1. เร่งพัฒนาครูและผู้ดูแลเด็ก รวมทั้งให้ความรู้แก่พ่อแม่ ผู้ปกครอง 2. ส่งเสริมสถานศึกษาศูนย์การเรียนให้มีความร่วมมือและ ศักยภาพในการจัดการเรียนการสอน 3. ให้มีหน่วยงานรับผิดชอบดูแลโดยเฉพาะ

ยุทธศาสตร์พัฒนาคุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน กลยุทธ์ 1 : เร่งแก้ปัญหาขาดแคลนครูและบุคลากรการศึกษา มาตรการ : 1. ขอคืนอัตราเกษียณและวงเงินคืนร้อยละ 100 2. ปรับเกณฑ์การกำหนดอัตราครู ผู้บริหาร และบุคลากร กศ. 3. จัดสรรอัตรา และ/หรือวงเงินโดยเน้นสาขาขาดแคลน และพื้นที่พิเศษ 4. เร่งแก้ปัญหาโรงเรียนขนาดเล็ก และเกลี่ยครูไปยังโรงเรียน ที่ขาดแคลน

6. ศึกษาหาแนวทางขยายเวลาเกษียณอายุราชการของ 5. ส่งเสริมสนับสนุนให้สถาบันอุดมศึกษาเข้ามามีบทบาท ขยายโครงการครูสหกิจ 6. ศึกษาหาแนวทางขยายเวลาเกษียณอายุราชการของ ข้าราชการครู จาก 60 ปี เป็น 65 ปี 7. นำนวัตกรรมและเทคโนโลยีมาใช้ในการเรียนการสอน 8. ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของเอกชน อปท.

กลยุทธ์ 2 : พัฒนาหลักสูตรและกระบวนการเรียนการสอน มาตรการ : 1. ปฏิรูปหลักสูตร สื่อ กระบวนการเรียนการสอน การวัด และประเมินผล 2. ทบทวนเกณฑ์การจบหลักสูตรแต่ละช่วงชั้น 3. พัฒนาครูประจำการอย่างต่อเนื่อง 4. นำเทคโนโลยีมาใช้ในการเรียนการสอน 5. เร่งรัดพัฒนาการเรียนการสอนวิทย์ คณิต และภาษาอย่างเข้มข้น 6. ส่งเสริมสถานศึกษาพัฒนาระบบประกันคุณภาพภายใน 7. ส่งเสริมและพัฒนานักเรียนที่มีความสามารถพิเศษ

กลยุทธ์ 3 : ส่งเสริมการมีส่วนร่วมและเครือข่ายคุณภาพ การจัดการศึกษา มาตรการ : 1. ลดบทบาทการจัดการศึกษาภาครัฐในพื้นที่ที่เอกชน อปท. ทำได้ดีมีคุณภาพ 2. กำหนดสัดส่วนการจัดการศึกษารัฐ : เอกชน เป็น 70 : 30 ใน ปี 2554 และ 65 : 35 ในปี 2560 3. ส่งเสริมและพัฒนาความพร้อมในการจัดการศึกษา อปท.

กลยุทธ์ 3 : ส่งเสริมการมีส่วนร่วมและเครือข่าย คุณภาพการจัดการศึกษา 4. ส่งเสริมพ่อแม่ ผู้ปกครอง สถาบันศาสนา สถานประกอบการและสถาบันสังคมอื่นๆ ร่วมจัด กศ. 5. สร้างและส่งเสริมเครือข่ายคุณภาพการศึกษา 6. จัดให้มีโรงเรียนเครือข่ายทางวิชาการ 7. ปรับปรุงพัฒนากฎหมาย กฎ ระเบียบที่เป็นอุปสรรค

กลยุทธ์ 4 : พัฒนาระบบการบริหารและการจัดการศึกษา มาตรการ : 1. วางแผนจัดตั้งสถานศึกษาในอนาคตและจัดกลุ่ม รร.เพื่อร่วมพัฒนา 2. พัฒนาสถานศึกษาที่มีคุณภาพดี มีความพร้อม มีการบริหาร ที่อิสระและคล่องตัวมากขึ้น เช่น รร. ในกำกับ ฯลฯ

3. กำหนดยุทธศาสตร์พัฒนาสถานศึกษาขนาดเล็ก 3.1 พัฒนาระบบวางแผนและการบริหารจัดการ 3.2 พัฒนาระบบการเรียนการสอนและการประกัน คุณภาพการศึกษา 3.3 เสริมสร้างความพร้อมและความเข้มแข็งของโรงเรียน 3.4 ส่งเสริมการมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วนในการจัด การศึกษา

กำหนดยุทธศาสตร์พัฒนาสถานศึกษาขนาดเล็ก 4. เร่งรัดการกระจายอำนาจการจัดการศึกษาไปยัง เขตพื้นที่การศึกษา สถานศึกษา และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ตามความพร้อม 5. เร่งพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาในเขตพัฒนาพื้นที่ พิเศษเฉพาะกิจจังหวัดชายแดนภาคใต้

เปลี่ยนระบบการจัดสรรเป็นการสนองทุน กลยุทธ์ 5 : ปฏิรูประบบการเงินเพื่อการศึกษาขั้นพื้นฐาน มาตรการ : เปลี่ยนระบบการจัดสรรเป็นการสนองทุน ผ่านด้านอุปสงค์หรือตัวผู้เรียนให้มากขึ้น 2. ให้สถานศึกษาระดมทรัพยากรจากแหล่ง ต่างๆ ควบคู่กับการให้บริการพัฒนาบริการ ให้มีคุณภาพ

กลยุทธ์ 5 : ปฏิรูประบบการเงินเพื่อการศึกษาขั้นพื้นฐาน มาตรการ : 3. จัดให้มีกองทุนเงินให้เปล่าสำหรับผู้เรียนที่ด้อยโอกาส/ยากจน 4. ใช้มาตรการจูงใจทางภาษีอากรเป็นกลไกระดมทุนเพื่อกศ. 5. ขยายฐานภาษี และเพิ่มอัตราภาษีอากรจากแหล่งต่างๆ

ยุทธศาสตร์ยกระดับคุณภาพการศึกษาวิทย์ คณิต กลยุทธ์ 1 : เร่งแก้ปัญหาการขาดแคลนครูวิทย์ คณิต มาตรการ : 1. ขอคืนอัตราเกษียณและวงเงินให้แก่ ศธ.ในอัตราส่วนร้อยละ 100 และวงเงินจากอัตราเกษียณเพื่อจ้างครู/พนักงานราชการ ในสาขาวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ 2. วางแผนการผลิตและพัฒนาครูวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ แก้ปัญหาขาดแคลนครูทั้งเชิงปริมาณและคุณภาพ 3. เร่งรัดการบรรจุครูให้ตรงตามคุณวุฒิ โดยเฉพาะครูสาขา วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์

กลยุทธ์ 1 : เร่งแก้ปัญหาการขาดแคลนครูวิทย์ คณิต มาตรการ : 4. เร่งรัดการบรรจุนักศึกษาทุนครูให้ตรงกับคุณวุฒิให้ครบ 5. ขยายเวลาเกษียณอายุราชการจาก 60 เป็น 65 ปี 6. ส่งเสริมให้ผู้สำเร็จการศึกษาและบุคคลที่มีอาชีพอื่นที่เกี่ยวข้อง กับวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์และสาขาขาดแคลนอื่นๆ เข้ามาเป็นครู อาจารย์ 7. มีระบบพัฒนาครูประจำการอย่างต่อเนื่องและสร้างครูผู้นำ รวมทั้งพัฒนาหลักสูตรอบรมครูที่เน้นเนื้อหาเทคนิควิธีการสอน

กลยุทธ์ 2 : ปฏิรูปหลักสูตร สื่อ กระบวนการเรียนการสอน การวัด และประเมินผลวิชาวิทย์ คณิต มาตรการ : 1. ปรับปรุงหลักสูตรและวิธีการเรียนการสอน การวัด และประเมินผล 2. พัฒนากิจกรรม และสื่อเสริมการเรียนการสอน 3. ส่งเสริมการนำเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ในการเรียนการสอน วิทย์ คณิต

กลยุทธ์ 3 : สนับสนุนทรัพยากรและเทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้ คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ มาตรการ : 1. จัดให้สถานศึกษามีหนังสือเรียน คู่มือครู หนังสืออ่านประกอบ สื่อ ฯลฯ พอเพียง และทั่วถึง 2. จัดหาและส่งเสริมการพัฒนา สื่อ อุปกรณ์การเรียนการสอน แหล่งเรียนรู้ที่มีคุณภาพ ทันสมัย การอบรมครูให้สามารถใช้สื่อ 3. สนับสนุนสถานศึกษาทั้งรัฐ เอกชน อปท. ใช้ทรัพยากรร่วมกัน 4. พัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาให้มีความรู้และทักษะใน การใช้สื่อ เทคโนโลยีการเรียนการสอน

กลยุทธ์ 4 : สร้างความเข้าใจให้สาธารณะชนตระหนักในความ สำคัญของวิทย์ คณิต มาตรการ : 1. สร้างความเข้าใจต่อสังคมถึงเหตุผล ความจำเป็นและ ความสำคัญที่ต้องเร่งยกระดับการเรียนรู้วิชาวิทย์ คณิต 2. สร้างและส่งเสริมเครือข่ายสังคมเข้ามาร่วมสนับสนุนและ ผลักดัน 3. ส่งเสริมภาครัฐและเอกชนจัดหา หรือสร้างแหล่งเรียนรู้ นอกห้องเรียนในพื้นที่ต่างๆ

ปฏิรูประบบผลิตและพัฒนาครู และบุคลากรทางการศึกษา ปฏิรูประบบผลิตและพัฒนาครู และบุคลากรทางการศึกษา กลยุทธ์ 1 : ฟื้นฟูศรัทธาวิชาชีพครูให้เป็นที่ยอมรับของสังคม มาตรการ : 1. ยกระดับมาตรฐานวิชาชีพครู อาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษา ให้เป็นที่ยอมรับ ศรัทธาแก่หน่วยงานการศึกษาและประชาชน 2. พัฒนาระบบบริหารงานบุคคลและความก้าวหน้าในวิชาชีพ ให้ทัดเทียมวิชาชีพอื่น และมีมาตรฐานสากล 3. พัฒนาระบบเงินเดือน ค่าตอบแทน สวัสดิการ และสิทธิประโยชน์เกื้อกูล 4. ยกย่อง ให้รางวัลครู คณาจารย์ และบุคลากรที่ปฏิบัติหน้าที่มีผลงาน การสอนและงานวิจัยดีเด่น 5. ส่งเสริมครูประจำการให้มีโอกาสพัฒนาวิชาชีพ 6. ให้ครูมีเวลาเพื่อพัฒนาตนเอง และการเรียนการสอน

กลยุทธ์ 2 : ปรับรื้อระบบการผลิตครู มาตรการ : 1. เร่งรัดพัฒนา ฟื้นฟูและยกระดับสถาบันผลิตครูให้มีความสามารถ ศักยภาพที่เข้มข้นเพื่อผลิต พัฒนาครูที่มีคุณภาพ ปรับบทบาท ม.ราชภัฏ 2. ปรับปรุงหลักสูตรการผลิต พัฒนาครูให้ได้ผู้มีความรู้ มีจิตวิญญาณ ตระหนักในจรรยาบรรณวิชาชีพครูมีประสบการณ์ในการฝึก ภาคปฏิบัติ 3. วางแผนการผลิตครูที่สอดคล้องกับความต้องการ โดยเฉพาะ สาขาขาดแคลน

4. ส่งเสริมให้ผู้สำเร็จการศึกษาสาขาวิชาชีพอื่น กลยุทธ์ 2 : ปรับรื้อระบบการผลิตครู มาตรการ : 4. ส่งเสริมให้ผู้สำเร็จการศึกษาสาขาวิชาชีพอื่น เข้ามาเป็นครูโดยผ่านการอบรมและการ รับรองมาตรฐาน 5. ส่งเสริมให้มีการระดมทรัพยากรบุคคล ที่มีความรู้ความสามารถภูมิปัญญาท้องถิ่น และผู้ทรงคุณวุฒิ เพื่อเข้ามาเป็นครูอาสา

กลยุทธ์ 3 : พัฒนาศักยภาพครู และบุคลากรทางการศึกษา มาตรการ : 1. สร้างเอกภาพและระบบบริหารจัดการที่มีประสิทธิภาพใน การพัฒนาครู 2. เร่งรัดพัฒนาครูที่สอนไม่ตรงวุฒิและระบบนิเทศ อบรมครู 3. ส่งเสริมการพัฒนาคุณวุฒิวิชาชีพครู 4. ส่งเสริมและสนับสนุนครู คณาจารย์ให้มีการจัดทำวิจัยและ พัฒนาองค์ความรู้อย่างต่อเนื่อง 5. เร่งจัดให้มีกองทุนพัฒนาครู คณาจารย์ ผู้บริหารและบุคลากร ทางการศึกษา