การบริหารการผลิต.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Process Analysis การวิเคราะห์กระบวนการ
Advertisements

บทที่ 9 การบริหารคุณภาพ Quality Control and Management
Psychology for Service
ธีรนารถ Jan Experiences in GMP Inspection in WHO Vaccine Prequalification Scheme ธีรนารถ จิวะไพศาลพงศ์ กองชีววัตถุ กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์
การควบคุมคุณภาพ (Quality control : Q.C)
LIT MBA รุ่นที่ 3 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา มกราคม 2559.
LIT MBA รุ่นที่ 3 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา ธันวาคม 2558.
1 1 การพัฒนาภาวะผู้นำ กับการบริหารการเปลี่ยนแปลง อนุชิต ฮุนสวัสดิกุล สำนักงาน ก.พ.ร.
พระบิดาแห่งประวัติศาสตร์ไทย “ สมเด็จฯ กรมพระยาดำรงรา ชานุภาพ ” ทรงเป็น พระราชโอรสองค์ที่ ๕๓ ในพระบาทสมเด็จ พระจอมเกล้า เจ้าอยู่หัวรัชกาล ที่ ๔ และเจ้าจอม.
การบริหารโครงการ (Project Management) โครงการ คือ งาน (task) ซึ่งมีการ กำหนดเวลาเริ่มต้นและสิ้นสุด ที่ แน่นอนและมีความต้องการใช้ทรัพยากร ต่างๆใน แต่ละกิจกรรมโดย.
Work Study: Its History
ผลที่ได้จากการสอบสวน 1. เกิดเหตุการณ์อะไรขึ้น 2. ทำไมถึงเกิดเหตุการณ์นั้น 3. ใครจะเป็นผู้ที่เหมาะสมที่สุดในการแก้ไขป้องกันอุบัติเหตุในครั้งนี้
การฝึกอบรมคืออะไร.
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบและการวิเคราะห์ระบบ
วิชา การพัฒนางานด้วยระบบคุณภาพและเพิ่ม ผลผลิต (Work Development with Quality Management.
การเขียนชื่อ “เรื่อง”
บทที่ 3 การตลาดสำหรับธุรกิจ SME
ระบบการผลิต อาจารย์ วรันลักษณ์ ภักดิ์ใจดี.
Food safety team leader
เทคนิคการแก้ไขปัญหาแบบ QCC (QC Circle Techniques)
Human resources management
คิดไว สรุปไว ด้วย MIND MAP ยินดีต้อนรับผู้เข้าร่วมสัมมนาหลักสูตร
บทที่ 7 หลักการบริหารงานคุณภาพ
ความเป็นมาและความสำคัญ ของการเพิ่มผลผลิต
การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์เชิงกลยุทธ์
การจัดการการผลิตและการปฎิบัติการ
ความตระหนักการจัดการคุณภาพ
การทำงานเชิงวิเคราะห์
การปฏิบัติงานร่วมกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และ
หมวด ๒ กลยุทธ์.
การจัดทำแบบบรรยายลักษณะงาน (Job Description) และตัวชีวัดระดับบุคคล
วิทยาศาสตร์ และ กระบวนการทางวิทยาศาสตร์
การเขียนหนังสือราชการและการโต้ตอบ นักจัดการงานทั่วไปชำนาญการ
บทที่ 11 กิจกรรมพัฒนาตนเองและทีมงานคุณภาพเพื่อประสิทธิภาพในการทำงาน
GROUP ‘2’ slide to unlock.
การบริหารและประเมินโครงการ แบบมุ่งผลสัมฤทธิ์
SERVICE MARKETING พฤติกรรมลูกค้าในตลาดบริการ • กระบวนการตัดสินใจซื้อสำหรับผลิตภัณฑ์บริการ • บทบาทของลูกค้าที่เกี่ยวข้องในการบริการ.
สถาบันเพิ่มผลผลิตแห่งชาติ
FOOD AND BEVERAGE SERVICE CHIANG RAI VOCATIONAL COLLEGE
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการประกอบธุรกิจ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
ปี 2559 : ผู้ประกอบการพร้อมหรือยัง..... กับการรับมือเศรษฐกิจซึมยาว
ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
บทที่ 2 แนวคิดทางด้านต้นทุน ชนิดต้นทุน
บทที่ 6 การบริหารและการวางแผนการผลิต
การจัดการคลังสินค้าและการกระจายสินค้า
บทที่ 4 การผลิตแบบลีน ( Lean Production ).
การผลิตและการจัดการการผลิต
จิตสำนึกคุณภาพ.
(การสุ่มตัวอย่างเพื่อการยอมรับ)
การบูรณาการ สมรรถนะที่ ก.พ. กำหนด สมรรถนะ M.O.P.H.
ตอนที่ 3.2 กลยุทธ์การบริหารเจ้าหน้าที่
การจัดการกระจายสินค้าและศูนย์กระจายสินค้า
UHC : Universal Health Coverage: Achieving Social Protection for All
การบริหารทีมงานและภาวะผู้นำ
แนวคิดหลัก 1. Systematic 2. Sustainable 3. Measurable
EM: Asst.Prof.Dr.PattanaSirichotpundit, Ph.D.
พลตำรวจตรี สุรัตน์ อรุณฤกษ์ถวิล อาจารย์ (สบ
13 October 2007
การเป็นผู้ประกอบการและการสร้างกิจการใหม่
EM: Asst.Prof.Dr.PattanaSirichotpundit, Ph.D.
SERVICE MARKETING การตลาดบริการ • ความหมายของการบริการ • ความสำคัญของการบริการ • ความแตกต่างระหว่างสินค้าและการบริการ • ประเภทธุรกิจบริการ.
การควบคุมการผลิตสินค้าและบริการ
การจัดการศูนย์สารสนเทศ หน่วยที่ 5
บทที่ 5 การวางแผนผังกระบวนการผลิต
ใบงาน Work Shop หน่วยงานสนับสนุน
การรายงานผลการดำเนินงาน
บทที่ ๑ บทนำ วิธีการและมาตรการด้านวิศวกรรมในการควบคุมอุบัติเหตุ
บทที่ 3 พฤติกรรมลูกค้าในตลาดบริการ • กระบวนการตัดสินใจซื้อสำหรับผลิตภัณฑ์บริการ • บทบาทของลูกค้าที่เกี่ยวข้องในการบริการ.
บทที่ 2 การจัดการเงินทุนขั้นแรกของธุรกิจขนาดย่อม
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การบริหารการผลิต

การจัดการธุรกิจ ธุรกิจ หมายถึง กิจกรรมใดๆ ก็ตามทำให้เกิดมีสินค้าหรือบริการขึ้น แล้วมีการแลกเปลี่ยนซื้อ-ขายกัน และมีวัตถุประสงค์ก็จะได้ประโยชน์จากการกระทำกิจกรรมนั้น - มีการผลิตสินค้าหรือบริการ - มีการซื้อขาย แลกเปลี่ยน จำหน่ายและกระจายสินค้า - มีประโยชน์จากกิจกรรม (กำไร) Need & Want , Good & Services & Idea

วัตถุประสงค์ของธุรกิจ 1. ธุรกิจต้องการความอยู่รอด (Survival) 2. ธุรกิจต้องเจริญเติบโต (Growth) 3. ธุรกิจต้องการมีกำไร (Profit) 4. ธุรกิจรับผิดชอบต่อสังคม (Social Responsibilities)

ประโยชน์ของธุรกิจ 1. ธุรกิจผลิตสินค้าและบริการมีมากมาย 1. ธุรกิจผลิตสินค้าและบริการมีมากมาย 2. ธุรกิจช่วยกระจายสินค้าจากผู้ผลิตไปสู่ผู้บริโภค 3. ธุรกิจช่วยให้คนมีงานทำ 4. ธุรกิจช่วยเสียภาษีให้รัฐบาล 5. ธุรกิจช่วยพัฒนาบ้านเมือง 6. ธุรกิจช่วยพัฒนาเศรษฐกิจของชาติ

ประเภทของธุรกิจ 1. ธุรกิจการเกษตร (Agriculture) 2. ธุรกิจเหมืองแร่ (Mineral) 3. ธุรกิจอุตสาหกรรม (Manufacturing) 4. ธุรกิจก่อสร้าง (Construction) 5. ธุรกิจการพาณิชย์ (Commercial) 6. ธุรกิจการเงิน (Finance) 7. ธุรกิจการให้บริการ (Service) 8. ธุรกิจอื่นๆ

กิจกรรมทางธุรกิจ 1. กิจกรรมด้านการผลิต 2. กิจกรรมด้านการตลาด 1. กิจกรรมด้านการผลิต 2. กิจกรรมด้านการตลาด 3. กิจกรรมด้านการเงิน 4. กิจกรรมเสริม

คุณสมบัติของนักธุรกิจ 1. ความสนใจและความชอบในธุรกิจ (Business Attitude) 2. ความตั้งใจที่จะลงทุนและเสี่ยงภัย (Willingness to take risk) 3. มีความรู้และความชำนาญ (Knowledge and skill) 4. เป็นนักวิเคราะห์และตัดสินใจได้ดี (Analytical mind and decision making skill) 5. เป็นนักบริหาร (Executive) 6. มีภาวะผู้นำ (Leadership) 7. มีความยืดหยุ่น (Flexibility) 8. มีความทันสมัยอยู่เสมอ (Update ness) 9. พัฒนาตนเองเสมอ (Dynamics)

รูปแสดงความรับผิดชอบของธุรกิจต่อสังคม สังคมภายนอก - ลูกค้า - เจ้าหนี้ - คู่แข่งขัน - รัฐบาล - สังคม - สิ่งแวดล้อม สังคมภายใน - เจ้าของ - ผู้ร่วมทุน - ผู้ถือหุ้น - ผู้บริหาร - พนักงานและลูกจ้าง ธุรกิจ

แนวความคิดและทฤษฎีทางการบริหาร

“ประสบการณ์ สั่งสมไปชั่วชีวิตก็ไม่รู้จบ แต่ทฤษฎีสามารถเรียนรู้และเข้าใจได้ในชั่วระยะเวลาหนึ่ง”

แผนการผลิต ประกอบด้วย แผนการผลิต ประกอบด้วย กระบวนการผลิต/บริการ ที่แสดงให้เห็นขั้นตอนในการผลิตสินค้า/บริการ ตั้งแต่การจัดหาวัตถุดิบ แรงงาน เทคโนโลยี เครื่องมือ เครื่องจักร และระดับคุณภาพที่ต้องการ ที่ตั้งและการวางผังโรงงาน

การเลือกที่ตั้งโรงงาน ปัจจัยที่มีผล แบ่งได้เป็น 2 กลุ่ม คือ 1. ปัจจัยที่เกี่ยวกับทรัพยากรการผลิต ได้แก่ วัตถุดิบ ตลาด แรงงาน ที่ดิน การขนส่ง พลังงานและสาธารณูปโภค 2. ปัจจัยที่เกี่ยวกับสภาพแวดล้อม

การวางผังโรงงาน ควรพิจารณา การวางผังโรงงาน ควรพิจารณา กำลังการผลิต กระบวนการผลิต ระบบจัดส่งวัตถุดิบ-ระหว่างกระบวนการ- ระบบจัดส่งให้กับลูกค้า จำนวนพนักงาน คลังสินค้า ขนาดและจำนวนของเครื่องจักรอุปกรณ์

โรงอาหาร ร้าน 7-11 ตึกกิจกรรม น.ศ. ลานจอดรถ ATM ถนน ที่มา : แผนธุรกิจ Fresh Milk ของ สถิตย์พงศ์ รัตนคำและอุทัย นุชสงดี

เ ค บาร์ า ตอ ร์ ตู้เก็บของ ที่มา : แผนธุรกิจ Fresh Milk ของ สถิตย์พงศ์ รัตนคำและอุทัย นุชสงดี

รายการทรัพย์สินถาวรในโรงงาน แหล่งเครื่องจักรอุปกรณ์ ระยะเวลาและเงื่อนไขการชำระเงิน อายุการใช้งาน การซ่อมแซมและบำรุงรักษา

การคำนวณต้นทุนการผลิต ต้นทุนผันแปร ค่าแรงทางตรง, วัตถุดิบทางตรง, ค่าใช้จ่ายผันแปร ต้นทุนคงที่ ค่าแรงทางอ้อม, วัตถุดิบทางอ้อม, ค่าใช้จ่ายคงที่อื่นๆ

สรุปต้นทุนสินค้าต่อหน่วย ต้นทุนผันแปรต่อหน่วย ต้นทุนคงที่ต่อหน่วย ต้นทุนรวมต่อหน่วย

การบริหารการผลิตในงานอุตสาหกรรม เครื่องจักรเทคโนโลยี การผลิตคืออะไร??? การผลิตคือ กระบวนการในการแปรรูปวัสดุหรือชิ้นส่วน ให้เป็นผลิตภัณฑ์ตามที่ผู้บริโภคต้องการ เครื่องจักรเทคโนโลยี เทคนิค แรงงาน เงินทุน วัตถุดิบ ผลผลิต สินค้า/บริการ ปัจจัยนำเข้า กระบวนการแปรรูป รังไหม เม็ดฝ้าย เปลือกไม้ ผลไม้ เชื้อเพลิง น้ำ ปั่นด้าย ย้อมสี ทอผ้า ตัดเย็บ เส้นใยสีต่าง ๆ ผ้าผืน เสื้อผ้า/เครื่องใช้ ฯลฯ

คุณลักษณะของผู้ให้บริการที่ดี การบริการ การบริการคือ การสร้างบรรยากาศที่ทำให้เกิดความพึงพอใจสูงสุด ณ ช่วงเวลาหนึ่ง ๆ คุณลักษณะของผู้ให้บริการที่ดี มีทัศนะคติที่ดี ต่อ สินค้าหรือบริการ บริษัท และ อาชีพ กระตือรือร้น อดทน ขยัน และสามารถจุดประกายความกระตือรือร้น ได้ทุกครั้งที่พบปะลูกค้า มีศิลปะในการพูด ไม่ใช่พูดเก่ง แต่พูดเป็น ถูกกาลเทศะ พูดถูกต้องตรงไปตรงมา มีบุคลิกดี สนุกสนาน สามารถพูดคุยได้กับบุคคลทุกอาชีพ มีการพัฒนาตนเองต่อเนื่อง และมีความรอบรู้พอสมควร รู้จักวางแผน แบ่งเวลาได้อย่างเหมาะสม

รูปแบบ ดีไซน์ของผลิตภัณฑ์ ตรงตามเวลาที่ต้องการ การบริหารการผลิตและบริการ สนองความต้องการของผู้บริโภค รูปแบบ ดีไซน์ของผลิตภัณฑ์ คุณภาพดี ทนทาน ราคาเหมาะสม ตรงตามเวลาที่ต้องการ การวางแผน/ควบคุม การทำงานอย่างเป็นระบบ

การบริหารการผลิตและการบริการ การวางแผน “คือการกำหนด วิธีการ และ ระยะเวลา เพื่อผลิตสินค้าสำเร็จรูป” การกำหนดแผน แจ้ง/ชี้แจง แผนงาน การควบคุม “การปรับเปลี่ยน เงื่อนไขการผลิตต่าง ๆ เพื่อให้การทำงานเป็นไปตามแผน” ตรวจสอบแผน/ งานจริง กำกับดูแลให้แผน/งานจริงใกล้เคียงกันมากที่สุด การกำกับ และควบคุม กระบวนการ ทำงานอย่างมี ประสิทธิภาพ

การวางแผนงาน การวางแผนการผลิต การวางแผนวัตถุดิบ การวางแผนคุณภาพ

ประโยชน์ของการบริหาร ระบบ การบริหาร ที่ดี การใช้งานเครื่องจักรเพิ่มขึ้น ประสิทธิภาพการทำงานเพิ่มขึ้น วัตถุดิบ /สินค้า คงค้างลดลง ใช้ประโยชน์ในเงินลงทุนได้เต็มที่ การส่งมอบสินค้าตรงเวลา ต้นทุนลดลง /กำไรเพิ่มขึ้น สินค้า บริการมีคุณภาพดีขึ้น

กระบวน การ วางแผน กระบวนการผลิต ฝ่ายวางแผนการผลิต ลูกค้า วางแผนการใช้วัตถุดิบ การวางแผนการผลิตรวม ตารางการผลิตหลัก การวางแผนกำลังการผลิต การจัดตารางการผลิต ใบสั่งผลิตสินค้า/บริการ กระบวนการผลิต การวางแผนการผลิตระยะยาว จัดซื้อ/จัดหาวัตถุดิบ คลังวัตถุดิบ คลังสินค้า ลูกค้า ฝ่ายขาย/การตลาด ฝ่ายควบคุมคุณภาพ ฝ่ายวางแผนการผลิต แผนคุณภาพ /มาตรฐานคุณภาพ ระบบการวางแผนการผลิต ผู้ขายวัตถุดิบ การควบคุมการทำงาน การควบคุมคุณภาพ การไหลของข้อมูลข่าวสาร และหน้าที่งานในกระบวนการวางแผน การไหลของวัตถุดิบ/วัสดุ และผลิตภัณฑ์ กระบวน การ วางแผน

การวางผังโรงงาน - ทำไมต้องวางผัง ? ประสิทธิภาพการดำเนินงาน ความปลอดภัย สภาพแวดล้อมของการทำงาน การเปลี่ยนแปลงรูปแบบสินค้า(บริการ) การผลิตสินค้า(บริการ)ชนิดใหม่ ความยืดหยุ่นต่อการเปลี่ยนแปลงปริมาณและส่วนผสมลิตภัณฑ์ ความยืดหยุ่นของกระบวนการ เครื่องมือ อุปกรณ์ กฎหมาย และ พรบ.สิ่งแวดล้อม

โรงงานที่มีการวางผังที่ดี จะมีต้นทุนการผลิตต่ำ เพราะ... ใช้ทรัพยากรเท่าที่จำเป็น ใช้สอยเนื้อที่เต็มประสิทธิภาพ ควบคุมการผลิตง่าย ความผิดพลาดน้อย ชิ้นงานบกพร่องน้อย ปลอดภัยมากขึ้น สุขภาพกายและจิตพนักงานดี คุณภาพสินค้าดี ลูกค้าเชื่อถือ การเคลื่อนย้ายวัสดุไม่สับสน มีระยะทางสั้น

การออกแบบผังภายใน วิเคราะห์ผลิตภัณฑ์, กระบวนการผลิต คำนวณหาจำนวนเครื่องจักร อุปกรณ์ เลือกวิธีและอุปกรณ์การเคลื่อนย้ายวัสดุ จัดวิถีการเคลื่อนที่จากวัตถุดิบจนเป็นสินค้าสำเร็จรูป จัดสภาพแวดล้อมให้เหมาะสม ปลอดภัย วิเคราะห์หาขนาดคลังสินค้า

รูปแบบการวางผังโรงงาน การวางผังตามผลิตภัณฑ์ (Product Layout) การวางผังตามกระบวนการ (Process Layout) การวางผังแบบคงตำแหน่ง (Fixed-Position Layout) การวางผังแบบเซล (Cellular Layout)

การวางผังตามผลิตภัณฑ์ (Product Layout) เครื่องจักร/อุปกรณ์ 1 เครื่อง คน 1 เครื่อง 1 คน 1 หรือ มากกว่า กลุ่มคน + กลุ่มเครื่อง สถานีงาน

ข้อได้เปรียบของ Product layout อัตราการผลิตสูงกว่าการวางผังแบบอื่น ต้นทุนต่อหน่วยของการผลิตต่ำ ฝึกคนงานได้เร็วและสิ้นเปลืองงบน้อย ต้นทุนในการเคลื่อนย้าย (Handling cost) ต่ำ ประสิทธิภาพแรงงานและเครื่องจักรสูง วิถี (route) และขั้นตอนการผลิตแน่นอน Setup time ต่อหน่วยต่ำ ระบบบัญชี จัดซื้อ พัสดุคงคลังไม่ค่อยซับซ้อน

ข้อเสียเปรียบของ Product layout คนงานเบื่อ ขาดความภูมิใจ ลาออก ขาดงาน การลงทุนเริ่มต้น (Capital cost) สูง ไม่ยืดหยุ่นต่อการเปลี่ยนแปลงปริมาณการผลิต รูปแบบสินค้า กระบวนการ ไวต่อการหยุดผลิต มีผลกระทบต่อปริมาณผลผลิตมาก

Process Layout (Job shop) เหมาะสมกับกิจการที่.. ผลิตสินค้ามากแบบ แบบสินค้ามีหลากหลาย แต่ละรุ่นของการผลิตจะผลิตไม่มาก พนักงานควรเป็นช่างฝีมือ มีพนักงานที่เชี่ยวชาญการวางแผนและควบคุมการผลิต

ตัวอย่างกิจการที่วางผังแบบ process layout อู่ซ่อมรถยนต์ ซูเปอร์มาร์เก็ต, ห้างสรรพสินค้า โรงพยาบาล มหาวิทยาลัย โรงกลึง โรงงานผลิตเครื่องปรับอากาศ ฯลฯ

ข้อได้เปรียบของ Process Layout สามารถผลิตด้วยกระบวนการที่แตกต่างกัน เมื่อเครื่องจักรเสียบางเครื่องจะไม่ส่งผลกระทบต่อระบบ เครื่องมือ อุปกรณ์มักใช้ร่วมกันได้ พนักงานมีความพึงพอใจในงาน ( การขาดงาน ลาออก มีน้อย)

ข้อเสียเปรียบของ Process Layout หน่วยผลิตต่างๆ อาจมีอัตราการผลิตไม่เท่ากัน ทำให้เกิด work-in-process และรอการผลิต หัวหน้างานควบคุมงานยากกว่า เพราะวิถีการผลิตไม่แน่นอน ต้องควบคุมการผลิตสินค้าให้ลูกค้าแต่ละรายหรือแต่ละรุ่น ต้นทุนการผลิตต่อหน่วยสูงเพราะแต่ละรุ่นผลิตไม่มาก ทำให้ setup time ต่อหน่วยสูง อาจขาดแคลนช่างฝีมือ ต้องการสวัสดิการมาก ระบบบัญชี จัดซื้อ พัสดุคงคลังมักยุ่งยากกว่า

ตัวอย่างการวางผังแบบ process layout ในโรงงานแห่งหนึ่ง เครื่องเจียระไน เครื่องกัด เครื่องเจาะ เครื่องกลึง ออก เข้า

การวางผังแบบคงตำแหน่ง (Fixed-Position Layout) เครื่องจักร อุปกรณ์ เครื่องมือ วัสดุ ส่วนประกอบ ชิ้นส่วน บริเวณที่ผลิตสินค้า หรือบริการ แรงงาน อื่น ๆ

ตัวอย่างกิจการหรือสถานที่ที่วางผังแบบ fixed-position layout โรงงานผลิตสิ่งของขนาดใหญ่ (เครื่องบิน, เรือ, กระสวยอวกาศ, รถไฟ ฯลฯ) การก่อสร้างอาคาร บ้านเรือน เวทีจัดการแสดง การเรียนการสอนใน ห้องเรียน

การวางผังแบบเซล (Cellular Layout) กลึง เจียระไน เจาะ กัด เข้า ออก

ข้อได้เปรียบของ cellular เมื่อเทียบกับ process งานระหว่างทำน้อยกว่า วิถีการผลิตสั้นกว่า และไม่สับสน การเตรียมการผลิตเกิดขึ้นน้อยกว่า ใช้เวลาน้อยกว่า

การบริหารพัสดุคงคลัง พัสดุคงคลังประกอบด้วย : วัตถุดิบ (Raw Material) คือสิ่งของ ชิ้นส่วน หรือส่วนประกอบ สินค้า ซึ่งซื้อมาเพื่อใช้ในการผลิต งานระหว่างทำ (Work-in-Process) คือชิ้นงานที่อยู่ในขั้นตอนการ ผลิต หรือเก็บในคลังพัสดุ เพื่อรอคอยที่จะผลิตในขั้นตอนต่อไป วัสดุซ่อมบำรุง คือชิ้นส่วนหรืออะไหล่เครื่องจักรที่สำรองไว้ เผื่อเปลี่ยนชิ้นส่วนเดิมเสีย หรือหมดอายุการใช้งาน สินค้าสำเร็จรูป คือ ชิ้นงานที่ผ่านกระบวนการผลิตครบถ้วน พร้อมที่จะนำไปจำหน่ายให้กับลูกค้าได้

การบริหารพัสดุคงคลัง จุดมุ่งหมาย : การลงทุนในพัสดุคงคลังต้องต่ำที่สุด ซึ่งส่งผลให้ต้นทุนการผลิตต่ำลงด้วย การบริการลูกค้าในปริมาณที่เพียงพอ และทันต่อ ความต้องการของลูกค้าเสมอ เพื่อรักษาระดับของยอดขาย หรือส่วนแบ่งตลาดไว้

การบริหารพัสดุคงคลัง ระบบ A B C กลุ่ม A : เป็นของคงคลังที่มีปริมาณน้อย ประมาณ 5-15% มีมูลค่ารวมกันค่อนข้างสูง คิดเป็น 70-80% ของ มูลค่าทั้งหมด กลุ่ม B : เป็นของคงคลังปริมาณปานกลาง ประมาณ 30 % มูลค่ารวมประมาณ 15% ของมูลค่าทั้งหมด กลุ่ม C : เป็นของคงคลังที่มีปริมาณสูง ประมาณ 50-60 % มูลค่ารวมประมาณ 5-10% ของมูลค่าทั้งหมด กลุ่ม A : เป็นของคงคลังที่มีปริมาณน้อย ประมาณ 5- 15% มีมูลค่ารวมกันค่อนข้างสูง คิดเป็น 70-80% ของ มูลค่าทั้งหมด กลุ่ม B : เป็นของคงคลังปริมาณปานกลาง ประมาณ 30 % มูลค่ารวมประมาณ 15% ของมูลค่าทั้งหมด กลุ่ม C : เป็นของคงคลังที่มีปริมาณสูง ประมาณ 50-60 % มูลค่ารวมประมาณ 5-10% ของมูลค่าทั้งหมด

การบริหารพัสดุคงคลัง ระบบ A B C A ควบคุมอย่างเข้มงวดมาก B การควบคุมเข้มงวดปานกลาง C มีการจดบันทึก หรือลงบัญชีบ้าง

การบริหารคุณภาพ คุณภาพ หมายถึง คุณลักษณะของสินค้า หรือ บริการที่สามารถ ตอบสนองความต้องการ ของผู้ใช้และก่อให้เกิด ความพึงพอใจ ณ ช่วงเวลาหนึ่ง

คุณภาพชนิดที่พึงต้องมี (Must be Quality) ข้อกำหนดของลูกค้า (Customer requirements) ความคาดหวังของลูกค้า (Customer Expectations)

การควบคุมคุณภาพ (Quality Control) หมายถึง กิจกรรม/วิธีการในการตรวจสอบ หมายถึง กิจกรรม/วิธีการในการตรวจสอบ และกำกับดูแล กระบวนการผลิต การทำงานภายในองค์กรให้เป็นไปตามมาตรฐาน

มุมมองของคุณภาพ ลูกค้า สินค้าหรือบริการที่สามารถใช้งานได้ดีตามรายละเอียดที่แจ้งไว้ หรือตามคำชี้ชวน คำอธิบายของผู้ขาย มีความคุ้มค่ากับเงินหรือราคาที่ลูกค้าจ่ายเพื่อให้ได้สินค้าหรือบริการ สินค้าหรือบริการเหมาะสมกับงาน หรือวัตถุประสงค์ของผู้ใช้ ซึ่งต้องมี ความปลอดภัย และรักษาสิ่งแวดล้อมด้วย สินค้าหรือบริการ มีความสะดวกในการใช้ สามารถรักษาสภาพความ สมบูรณ์ไว้ได้ตลอดอายุการใช้งาน สินค้าและบริการเหล่านั้น สร้างความภาคภูมิใจ และประทับใจ

มุมมองของคุณภาพ ผู้ผลิต การผลิตและการให้บริการ ต้องถูกต้องตั้งแต่แรก ระดับของเสีย หรือความผิดพลาดต้องอยู่ในเกณฑ์ที่กำหนด และมี เป้าหมายเป็น ศูนย์ หมายถึงไม่มีของเสีย หรือไม่มีความผิดพลาด ใน การทำงานเลย กระบวนการทำงานต้องถูกต้องตามมาตรฐานที่กำหนดไว้ การผลิต และการทำงานใดๆ ต้องมีต้นทุนเหมาะสม ในขณะที่ลูกค้า ได้รับความพึงพอใจในสินค้าและบริการ ในระดับราคาที่เหมาะสม

สินค้าสำเร็จรูป วัตถุดิบ กระบวนการผลิต แผนภูมิควบคุมเพื่อควบคุมให้การผลิตอยู่ในระดับคุณภาพที่ต้องการ วัตถุดิบ กระบวนการผลิต สินค้าสำเร็จรูป แผนชักตัวอย่างก่อนนำวัตถุดิบเข้าสู่การผลิต แผนชักตัวอย่างก่อนส่งสินค้าให้กับลูกค้า

การทดสอบและการตรวจสอบคุณภาพ (Testing for quality control and inspection) 1. วิธีการตรวจสอบทุกชิ้น (Screening inspection) 2. วิธีการสุ่มตัวอย่างจากแต่ละรุ่น (Lot by lot inspection or sampling) 3. วิธีการตรวจสอบตามกระบวนการผลิต (Process inspection)

วิธีการตรวจสอบทุกชิ้น 100% inspection ง่ายและใช้กันทั่วไป แต่มักเกิดความล้า ความเบื่อหน่าย ความตั้งใจของพนักงานน้อยลง เปลืองเงิน เปลืองเวลา สินค้าบางอย่างไม่สามารถทำได้

วิธีการสุ่มตัวอย่างจากแต่ละรุ่น หลีกเลี่ยงการตรวจสอบ 100% ผ่านเกณฑ์ สินค้า 1000 ชิ้น ตรวจสอบ ส่งให้ลูกค้า ไม่ผ่านเกณฑ์ สุ่มตัวอย่าง 20 ชิ้น ปฏิเสธทั้งรุ่น

ส่งของไม่ทันความต้องการ ปัญหายอดนิยม ในการผลิต ปัญหา จากการวางแผน และการควบคุม ที่ไม่ดีพอ วัตถุดิบมาล่าช้า/คุณภาพไม่ดี ไม่ทราบความคืบหน้าการผลิต ไม่มีเวลาเผื่อในการผลิต พนักงานขาดงานบ่อย สินค้าคุณภาพไม่สม่ำเสมอ ของเสียจำนวนมาก การแทรกงาน/งานเร่งด่วน ไม่มีผู้รับผิดชอบจริงจัง เครื่องจักรมีปัญหา ประสิทธิภาพต่ำ ต้นทุนสูง ส่งของไม่ทันความต้องการ

เพิ่มประสิทธิภาพ ด้วยการเพิ่มผลผลิต ความหมายของการเพิ่มผลผลิต 1. ความหมายทางเศรษฐกิจและสังคม ทัศนคติในการปรับปรุงงาน อย่างต่อเนื่องโดยมีแนวคิดที่ว่า “ทำวันนี้ให้ดีกว่าเมื่อวานและพรุ่งนี้ต้องดีกว่าวันนี้” 2. ความหมายทางวิทยาศาสตร์ มุ่งเน้น ที่จะให้การทำงานมีประสิทธิผลสูงสุดโดย การใช้ทรัพยากรที่มีอยู่อย่างคุ้มค่า การเพิ่มผลผลิต = ผลิตผล (Outputs) ปัจจัยการผลิต (Inputs)

การศึกษาวิธีการทำงาน การลดสัดส่วนของงาน ทำให้งานธรรมดาขึ้น พัฒนาวิธีการที่ประหยัดกว่า การศึกษาวิธีการทำงาน (method study) การศึกษา การทำงาน การลดเวลาไร้ประสิทธิภาพ กำหนดเวลาการทำงาน การวัดผลงาน (work measurement) ผลผลิตที่สูงขึ้น

ช่องทางการลดเวลาการผลิตด้วยการศึกษาการทำงาน 1 เป้าหมายของการศึกษาการทำงาน 1. ส่วนของงานน้อยสุด 2. ส่วนของงานถูกเพิ่มโดยข้อบกพร่องของงานออกแบบหรือข้อจำเพาะของผลิตภัณฑ์ อันประกอบด้วย ข้อจำเพาะของวัตถุดิบ ระยะเผื่อ และ ข้อจำเพาะสินค้า 2 ส่วนของงานทั้งหมด เวลาการทำงานทั้งหมด ภายใต้สภาพปัจจุบันหรืออนาคตเมื่อการศึกษาการทำงานไม่ได้ผล 3 3. ส่วนของงานถูกเพิ่มโดยวิธีการผลิต หรือการดำเนินงานที่ไร้ประสิทธิภาพ อันประกอบด้วย กรรมวิธีการผลิต การเตรียมงาน สภาพแวดล้อม การวางผัง และการเคลื่อนที่ ช่องทางในการลดเวลาการผลิตด้วยการศึกษาการทำงาน 4 4. เวลาเพิ่มขึ้นเนื่องจากข้อบกพร่องด้านการจัดการ ได้แก่ การวางแผนไม่ดี ระบบควบคุมพัสดุคงคลังไม่ดี การจัดกำหนดการไม่ดี การกำกับดูแลและการฝึกอบรมไม่เพียงพอ เวลาไร้ประสิทธิภาพทั้งหมด 5 5. เวลาเพิ่มขึ้นเนื่องจากข้อบกพร่องของคนงาน ได้แก่ สภาพการทำงานที่ต่ำกว่าปกติ การเผื่อเวลาพูดคุยมากเกินไป และการฝึกอบรมไม่เพียงพอ

มีอย่างอื่นที่ทำได้ไหม? ก ารวิเคราะห์วิธีการทำงาน เป็นการวิเคราะห์งานอย่างเป็นระบบ แยกแยะปัญหาให้ชัดเจน เพื่อหาวิธีการทำงานที่ดีกว่า โดยใช้เทคนิคการ ตั้งคำถาม (6W-1H) คำถามกลุ่มที่ 1 คำถามกลุ่มที่ 2 เป้าหมายและขอบข่ายของงาน What ทำอะไร? Why,Which เหตุใดจึงทำ? มีอย่างอื่นที่ทำได้ไหม? บุคลากรที่ทำงาน Who ใครทำอะไร? ทำไมต้องเป็นคนนั้น? คนอื่นทำได้ไหม?

ก ารวิเคราะห์วิธีการทำงาน (ต่อ) คำถามกลุ่มที่ 1 คำถามกลุ่มที่ 2 คำถามกลุ่มที่ 1 คำถามกลุ่มที่ 2 สถานที่ทำงาน Where ทำที่ไหน? Why,Which ทำไมต้องทำที่นั่น? มีที่อื่นที่ทำได้ไหม? ลำดับขั้นตอนของงาน When ทำเมื่อไร? ทำไมต้องทำเวลา/ขั้นตอนนั้น? ทำเวลา/ขั้นตอนอื่นได้ไหม? วิธีการทำงาน How ทำอย่างไร? ทำไมต้องทำอย่างนั้น? ทำวิธีอื่นได้ไหม?

1. การทำงานหนักเกินไป ( Muri ) คนและเครื่องจักร แนวคิดความสูญเปล่า 3Mu 1. การทำงานหนักเกินไป ( Muri ) คนและเครื่องจักร 2. ความสูญเสีย ( Muda ) 3. ความไม่สม่ำเสมอ ( Mura )

ความสูญเสีย 7 ประการ สาเหตุของปัญหา 1. ความสูญเสียจากผลิตมากเกินไป 2. ความสูญเสียจากการเก็บวัสดุคงคลังที่ไม่จำเป็น 3. ความสูญเสียจากการขนส่ง / ขนย้าย 4. ความสูญเสียกระบวนการที่ขาดประสิทธิผล 5. ความสูญเสียจากการเคลื่อนไหว 6. ความสูญเสียจากการรอคอย / การว่างงาน 7. ความสูญเสียจากการผลิตของเสียหรือแก้ไขงานเสีย

ก่อนปรับปรุง หลังปรับปรุง การปรับปรุงงาน กาแฟ นม น้ำตาล กาแฟ นม น้ำตาล ตู้เย็น น้ำร้อน โต๊ะประชุม โต๊ะประชุม ตู้เย็น ก่อนปรับปรุง น้ำร้อน หลังปรับปรุง

การเลือกงานที่จะศึกษา 1. ใช้คนมาก 2. ทำซ้ำ ๆ บ่อย ๆ 3. เสี่ยง, น่าเบื่อ 4. ก่อให้เกิดปัญหา

หลักการของ “ECRS” งานนี้กำจัดออกไปได้หรือไม่ (ELIMINATE) งานนี้รวมกับงานอื่นได้หรือไม่ (COMBINE) งานนี้สามารถสลับกับงานอื่นหรือไม่ (REARRANGE) งานนี้ทำให้ง่ายกว่านี้หรือไม่ (SIMPLIFY)

หลักเบื้องต้นของการศึกษาการเคลื่อนที่ 1. การใช้ส่วนต่าง ๆ ของร่างกาย 2. การจัดทำสถานที่ทำงาน 3. การออกแบบเครื่องมือและอุปกรณ์

หลักเบื้องต้นของการใช้งานส่วนต่างๆ ของร่างกาย มือทั้งสองทำงานพร้อมๆ กัน อย่าให้มือว่างพร้อมกัน แขนทั้งสองอยู่ในทิศทางตรงกันข้ามกันและสมมาตรกัน จำกัดการเคลื่อนที่ของแขนและลำตัว ใช้การเคลื่อนที่ในวิถีโค้งอย่างต่อเนื่องและสม่ำเสมอ ใช้การเคลื่อนที่แบบโยน จัดลำดับการเคลื่อนไหวของร่างกาย หลีกเลี่ยงการเพ่งวัตถุระยะใกล้นาน ๆ

หลักเบื้องต้นของการจัดสถานที่ทำงาน จัดเครื่องมือให้มีระเบียบ เก็บให้อยู่ใกล้กับจุดที่ใช้งาน ใช้ภาชนะอาศัยแรงโน้มถ่วง จัดวางให้เกิดลำดับการเคลื่อนที่เหมาะสมที่สุด สภาพแวดล้อมเหมาะสม โต๊ะงานและเก้าอี้อยู่ในระดับเหมาะสม จัดหาเก้าอี้ที่สามารถนั่งในท่าที่เหมาะสมได้

หลักเบื้องต้นของการออกแบบ เครื่องมือและอุปกรณ์ ลดงานที่ทำด้วยมือ วางในตำแหน่งเหมาะสม จัดตำแหน่ง เพื่อให้เกิดการเคลื่อนไหวของ ร่างกายน้อยที่สุด

Pokayoke (Mistake-proofing) ป้องกันความผิดพลาดจากกระบวนการทำงานที่เกิดจาก หลงลืม เข้าใจคลาดเคลื่อนหรือเข้าใจผิด ขาดประสบการณ์ ผิดพลาดจากความไม่รู้

การบริหารงานด้วยสายตา (Visual Management) คือหลักการของการควบคุมและการบริหารงานโดยการใช้สื่อที่ตามองเห็นเป็นตัวกลางในการกระตุ้น สั่งการ ดำเนินการ สีตามวันที่รับเรื่อง

2. อย่าเป็น กบอยู่ในกะลา 3. อย่าเป็น น้ำชาล้นถ้วย 4 อย่า 1 ยอม เพื่อการเพิ่มผลผลิต 1. อย่าเป็น คนดื้อ 2. อย่าเป็น กบอยู่ในกะลา 3. อย่าเป็น น้ำชาล้นถ้วย 4. อย่า เจ็บป่วยแล้วไม่รักษา ยอมรับการเปลี่ยนแปลง และปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง เพื่อการเพิ่มผลผลิต และ คุณภาพชีวิตในการทำงาน

The End