งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ปี 2559 : ผู้ประกอบการพร้อมหรือยัง..... กับการรับมือเศรษฐกิจซึมยาว

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ปี 2559 : ผู้ประกอบการพร้อมหรือยัง..... กับการรับมือเศรษฐกิจซึมยาว"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ปี 2559 : ผู้ประกอบการพร้อมหรือยัง..... กับการรับมือเศรษฐกิจซึมยาว
โดย ดร.ธนิต โสรัตน์ ประธานบริษัทในเครือ V-Serve Group รองประธานสภาองค์กรนายจ้างการค้าอุตสาหกรรมไทย กรรมการสภาที่ปรึกษาแรงงานแห่งชาติ เลขานุการและอนุกรรมาธิการฯในคณะกรรมาธิการขับเคลื่อนปฏิรูปเศรษฐกิจ (สปท.) วันเสาร์ที่ 30 มกราคม 2559

2 มองเศรษฐกิจจาก...โหราศาสตร์
1 ประเทศไทยอยู่ในช่วงดาวศุกร์เคลื่อนย้ายเป็นกาลีกับดวงเมือง สะท้อนให้เห็นถึงเศรษฐกิจและการเงินของประเทศยังอยู่ในสภาวะที่การค้า-การขายฝืดเคือง 2 อิทธิพลของดาวเสาร์โคจรเป็นมรณะกับดวงเมืองซึ่งดาวเสาร์เป็นธาตุ ช่วงนี้ได้รับผลจากดาวราหูซึ่งตรีโกณสถิตทำมุมกับดาวเสาร์ ซึ่งจะทำให้ปีนี้จะเกิดภัยแล้งหนักที่สุดและจะมีผลไปถึงต้นปีหน้า ดาวพระเกตุซึ่งเผอิญโคจรเป็นมรณะกับดวงเมือง ซึ่งดาวพระเกตุเป็นหางของพระราหูเป็นปัจจัยผสมโรง หากดีก็ยิ่งดีแต่หากไม่ดีก็จะยิ่งเป็นปัจจัยลบทำให้ที่ไม่ดีอยู่แล้วกลับเลวลง 3

3 มองเศรษฐกิจจาก...โหราศาสตร์
ดาวพระเกตุไม่ใช้เล็งมรณะเฉพาะประเทศไทยแต่เป็นดวงเมืองของโลก ทำให้เกิดวิกฤตกับเศรษฐกิจของหลายประเทศ จะอยู่แค่ 75 วัน และจะย้ายไปเล็งดวงเมืองในปลายเดือนสิงหาคมนี้ จะทำให้เศรษฐกิจขยับตัวได้ดีขึ้น รวมทั้งฝนฟ้าจะเริ่มตกในเดือนสิงหาคมปัญหาภัยแล้งก็คงจะเบาลง แต่อิทธิพลของดาวเสาร์จะยังคงอยู่ไปอย่างน้อย 1 หรือ 2 ปี 4 ปัจจัยจากการที่ดาวมฤตยูซึ่งพึ่งโคจรเมื่อวันอาทิตย์ที่ผ่านมาโดยเล็งทับกับดวงเมืองทั้งของไทยและของโลก ซึ่งเศรษฐกิจชะลอตัวครั้งนี้เกิดขึ้นเกือบทั้งโลกแต่จะถึงขั้นเป็นเศรษฐกิจโลกถดถอยก็ยังไม่มีสัญญาณใดๆว่าจะไปถึงขั้นนั้น 5 ปัจจัยทางบวกซึ่งจะมีผลต่อเศรษฐกิจของไทยคือช่วงนี้ดาวพฤหัสเคลื่อนเข้ามาเป็นปุตตะลัคน์กับดวงเมือง ทำให้กลางปีหน้าอาจเกิดการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นซึ่งน่าจะหมายถึงมีการเลือกตั้งจะได้คนดีๆเข้ามาบริหารประเทศ 6

4 1. ปี 2559 เศรษฐกิจโลกเปราะบาง : ประเทศคู่ค้าเศรษฐกิจเติบโตในอัตราต่ำ
ประเทศอาเซียน GDP ขยายตัว 4.8-5% สัดส่วนส่งออก ร้อยละ ขยายตัวร้อยละ -7.17 ประเทศสหรัฐ GDP ขยายตัว 2.5% สัดส่วนส่งออก ร้อยละ ขยายตัวร้อยละ ประเทศจีน GDP ขยายตัว 6.3% สัดส่วนส่งออก ร้อยละ ขยายตัวร้อยละ -5.35 (ต่ำสุดในรอบ 25 ปี) ประเทศอียู GDP ขยายตัว 1.5% สัดส่วนส่งออก ร้อยละ ขยายตัวร้อยละ -4.22 ประเทศญี่ปุ่น GDP ขยายตัว 1.0% สัดส่วนส่งออก ร้อยละ ขยายตัวร้อยละ -7.66 ประเทศฮ่องกง GDP ขยายตัว สัดส่วนส่งออก ร้อยละ ขยายตัวร้อยละ -6.18 ประเทศสิงคโปร์ GDP ขยายตัว 1-3% สัดส่วนส่งออก ร้อยละ ขยายตัวร้อยละ ประเทศมาเลเซีย GDP ขยายตัว 0.3% สัดส่วนส่งออก ร้อยละ ขยายตัวร้อยละ ประเทศอินโดนีเซีย GDP ขยายตัว 5.1% สัดส่วนส่งออก ร้อยละ ขยายตัวร้อยละ ประเทศอินเดีย GDP ขยายตัว 7.8% สัดส่วนส่งออก ร้อยละ ขยายตัวร้อยละ ประเทศเยอรมนี GDP ขยายตัว 1.2% สัดส่วนส่งออก ร้อยละ ขยายตัวร้อยละ -5.4

5 2. ปี 2559 เศรษฐกิจโลกชะลอตัวต่อเนื่อง... กระทบส่งออกของไทย
I M F ลดประมาณการเศรษฐกิจโลกปี 2559 จากร้อยละ เป็นร้อยละ 3.4 (ปี 2558 เติบโต 3.1%) I M F ปรับลดเติบโตเศรษฐกิจไทย จากร้อยละ เป็นร้อยละ 2.9 (ปี 2558 เติบโต 2.6%) สศค. ปรับการเติบโตเศรษฐกิจไทย จากร้อยละ เป็นร้อยละ 3.8 (ปี 2558 เติบโต 2.8%) เศรษฐกิจคู่ค้า 15 ประเทศ ปรับลด จากร้อยละ 3.65 เป็นร้อยละ 3.56 กระทบส่งออกปี มูลค่า 214, เหรียญสหรัฐ ขยายตัวร้อยละ (ปี 2557 เติบโต -0.43%) มูลค่า 7,227, บาท ขยายตัวร้อยละ (ปี 2557 เติบโต 5.84%) ประมาณการส่งออกปี ขยายตัวร้อยละ % (สศค.)

6 3. ปี 2559 ความเสี่ยงเงินทุนไหลเข้า-ออก กระทบอัตราแลกเปลี่ยนผันผวน
สหรัฐอเมริกา (มค.59) โดย FED. ตรึงดอกเบี้ยโยบาย อัตราร้อยละ สหภาพยุโรป (ธค.58) โดย ECB ลดดอกเบี้ยนโยบายจากอัตราติดลบ 0.2% เป็น 0.3% อัดฉีดเงินกระตุ้นเศรษฐกิจผ่านมาตรการ QE ซื้อคืนพันธบัตรเดือนละ 58,300 ล้านยูโร (2.3 ล้านล้านบาท) ญี่ปุ่น (มค. 59) โดย BOJ. ลดดอกเบี้ยนโยบาย จากร้อยละ 0.1 มาอยู่ที่ -0.1% อัดฉีดเงินเป้าหมายทั้งปีผ่านมาตราการ QE ซื้อคืนพันธบัตรปี 2558 มูลค่า 80ล้านล้านเยน (23 ล้านล้านบาท) จีน (มค.59) โดย BPOC ลดดอกเบี้ยจาก ร้อยละ 6 เหลือ 4.35% อัดฉีดเงินกระตุ้นเศรษฐกิจผ่านมาตรการ QE 1.9 ล้านล้านหยวน (10 ล้านล้านบาท) อัตราแลกเปลี่ยน/บาทผันผวนแต่สอดคล้องไปตามภูมิภาค 22 มกราคม 2558 = บาท/USD 28 มกราคม 2559 = บาท/USD ปัจจัยจากราคาน้ำมันผันผวนต่ำสุดในรอบ 20 ปี กดดันราคาสินค้าเกษตรตกต่ำโดยเฉพาะยางพารายาวตลอดไปทั้งปี ราคาน้ำมันโลก (WTI) 1 ปี ลดจาก บาร์เรล/USD. เหลือ บาร์เรล/USD. ลดลงร้อยละ (น้ำมันดูไบราคาเหลือ บาร์เรล) ความผันผวนในตลาดหุ้นและเงินทุนไหลออกแต่ไทยมียอดเงินเกินดุลบัญชีเดินสะพัดปี 2558 รวมกัน 3.45หมื่นล้านเหรียญสหรัฐ ลดลง = บาท/USD อ่อนค่าเฉลี่ย = 10.6 %

7 ปี 2559 ปัญหาสภาพคล่องและแนวโน้มดอกเบี้ยธนาคารพาณิชย์อาจขยับตัวเล็กน้อย 4. วันที่ 29 มกราคม 2559

8 5. ปี 2559 ความแปรปรวนเศรษฐกิจจีน....ปัจจัยเสี่ยง
จีนมีเศรษฐกิจอันดับ 2 รองจากสหรัฐ เป็นผู้บริโภคน้ำมันและนำเข้าสินค้ารายใหญ่ของโลกเฉลี่ย % เฉพาะประเทศไทยส่งออกไปจีนรวมทั้งฮ่องกง คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ เศรษฐกิจจีนปี 2559 อาจโตได้เพียงร้อยละ 6.3 ต่ำสุดในรอบ 25 ปี การส่งออกไปจีนติดลบต่อเนื่อง 2 ปี (ปี 2557 ติดลบ % และปี 2558 ติดลบ -5.35%) และคาดว่าปี 2559 ตัวเลขติดลบจะสูงเป็นประวัติการณ์ รัฐบาลจีนและธนาคารกลาง (PBOC) เข้าแทรกแซงลดค่าเงินหยวน เพื่อทำให้เงินหยวนอ่อนค่ากระตุ้นส่งออก เฉพาะเดือนมกราคมอ่อนค่า % (ปัจจุบัน หยวน/USD และ บาท/หยวน) ส่งผลกระทบต่อนโยบายแข่งขันค่าเงินเฉพาะเดือนธันวาคม 2558 ทุนสำรองจีนลดลง 1.08 แสนล้านเหรียญสหรัฐ สะท้อนความต้องการเงินหยวนของโลกลดลง Over Capacity การบริโภคในจีนชะลอตัว สภาพคล่องธุรกิจลดลง ภาคอุตสาหกรรมกำลังการผลิตเหลือ ตลาดหุ้นจีนเปราะบางเศรษฐกิจภายในขับเคลื่อนจากตลาดหุ้น ซึ่งลดจาก 5,000 จุด เหลือ 3,000จุด ในเวลา 1 เดือนจนรัฐบาลต้องเข้าอัดฉีด มาตรการ QE เฉพาะปี 2558 ถึง 6 รอบ ลดดอกเบี้ยและปล่อยเครดิตมาจิ้นกระตุ้นตลาดหุ้นเฉพาะไตรมาส 4 ปี 2558 ธนาคารกลางจีนอัดฉีด 50,000 ล้านหยวน เข้าซื้อพันธบัตรจากธนาคารและโบกเกอร์รายใหญ่เพื่อกระตุ้นตลาดหุ้น รัฐบาลจีน (มค.59) โดย BPOC ลดดอกเบี้ยจาก ร้อยละ 6 เหลือ 4.35% และอัดฉีดเงินกระตุ้นเศรษฐกิจผ่านมาตรการ QE จำนวน 1.9 ล้านล้านหยวน (10 ล้านล้านบาท)

9 แนวทางการรับมือเศรษฐกิจ...ซึมยาว
รักษาสภาพคล่อง (Liquidity) เตรียมแหล่งทุนสำรอง ระมัดระวังหนี้ธุรกิจ ( BUSINESS NPL) เลือกลูกค้า และระมัดระวังการขยายธุรกิจ รักษาขวัญกำลังใจพนักงาน (Morale Care) รักษาคนดี – คนเก่ง อย่าให้ถอดใจ ปรับปรุงประสิทธิภาพเพิ่มผลิตภาพการทำงาน (Productivity) ลดค่าใช้จ่าย ลดการรั่วไหล การทำตลาดเชิงรุกและการรักษาลูกค้า (Proactive & Customer Care Marketing) ปฏิรูประบบการจัดการใหม่ (Reform & Change Management) รวมทั้งสร้างนวัตกรรมและการให้บริการที่แตกต่างจากคู่แข่ง การร่วมมือและสร้างคลัสเตอร์โซ่อุปทาน (Cluster Collaboration) และหรือเข้าไปเป็นส่วนหนึ่งของโซ่อุปทานลูกค้ารวมถึงการสร้างพันธมิตรธุรกิจ การทำความเข้าใจร่วมกัน ทั้งหุ้นส่วน-ครอบครัว-พนักงานในสถานธุรกิจที่กำลังเผชิญ การบริหารความเสี่ยงภายใต้สถานการธุรกิจที่ไม่อำนวยและซึมยาว (Risk Management Under Worst Case) เกี่ยวข้องกับการจำลองสถานการที่เลวร้ายที่สุดและการปิดความเสี่ยง การจัดทำแผนยุทธศาสตร์และแผนธุรกิจ (Strategy Plan & Business Direction) ให้สอดคล้องกับธุรกิจจริง

10 Company Direction/ทิศทางธุรกิจ วันที่ 30 มกราคม 2016
กรณีศึกษา V-Serve 2016 Company Direction/ทิศทางธุรกิจ วันที่ 30 มกราคม 2016

11 วิสัยทัศน์/V-SERVE Vision : 2016 IMAGE
กรณีศึกษา วิสัยทัศน์/V-SERVE Vision : 2016 IMAGE I = International องค์กรแห่งความเป็นสากล : ว่าที่ รต.ดร.ธเนศฯ M = Move Together ก้าวไปด้วยกัน : คุณศันสนีย์ฯ A = Ability องค์กรแห่งความสามารถ : คุณธนากรฯ G = Good Corporate องค์กรแห่งความโปร่งใสและคุณธรรม : คุณปิยรัตน์ฯ E = Excellence Organization องค์กรแห่งความเป็นเลิศ : คุณธนวัฒน์ฯ

12 องค์กรแห่งความเป็นสากล (International) : ว่าที่ รต.ดร.ธเนศ โสรัตน์
กรณีศึกษา องค์กรแห่งความเป็นสากล (International) : ว่าที่ รต.ดร.ธเนศ โสรัตน์ วัตถุประสงค์ : เพื่อยกระดับขีดความสามารถในการแข่งขันของ วี-เซิร์ฟ ไปสู่ระดับภูมิภาค และนานาชาติ แนวทางการดำเนินการ : 1. สายงานต่างประเทศเป็นหัวจักรขับเคลื่อนธุรกิจ (ปี ) การรวบรวมหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง กับงานต่างประเทศมาไว้ภายใต้สายงานต่างประเทศ ประกอบด้วย งาน Transshipment งาน Freight Forwarder งาน Cross Border งาน Japan Cluster & China Cluster 2. การจัดตั้งฝ่าย AEC Logistics โดยการนำพันธกิจของงานต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับเออีซี มาไว้ในหน่วย เดียวกันโดยยกระดับเป็นฝ่าย แต่สายบังคับบัญชายังขึ้นตรงกับต้นสังกัดเดิม ประกอบด้วย กลุ่ม AEC 1 ลาว/กัมพูชา/เวียดนาม/จีนตอนใต้ : คุณจักรินฯ กลุ่ม AEC 2 เมียนมาร์ : คุณธนวัฒน์ฯ กลุ่ม AEC 3 มาเลเซีย : คุณศิวกรฯ

13 กรณีศึกษา องค์กรแห่งความเป็นสากล (International) : ว่าที่ รต.ดร.ธเนศ โสรัตน์ (ต่อ) 3. การสร้างเครือข่าย (Network) ด้วยการมีเอเย่นต์ที่เข้มแข็งในประเทศเป้าหมายโดย ผ่านหน่วย Freight Forwarder ซึ่งแยกออกเป็น 3 กลุ่ม Freight Forwarder Group1 : คุณโชคชัยฯ Freight Forwarder Group2 : คุณกิตตินันท์ฯ Freight Forwarder Group3 : คุณอังคณาฯ 4. การยกระดับการตลาดคลัสเตอร์ โดยให้เชื่อมโยงกับ Customer Service ที่ต้อง เชี่ยวชาญในภาษานั้นๆ ประกอบด้วย กลุ่มงานตลาดและปฏิบัติการลูกค้าญี่ปุ่น : ว่าที่ รต.ดร.ธเนศฯ/คุณอายากะฯ การเชื่อมโยงเพิ่มกิจกรรมทางการค้ากับTakase : ว่าที่ รต.ดร.ธเนศฯ/คุณนากายามาฯ กลุ่มงานตลาดและปฏิบัติการลูกค้าจีน : รออัตรา 5. แนวทางการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ Oversea Connectivity

14 ก้าวไปด้วยกัน (Move Together) : คุณศันสนีย์ สมคะเณย์
กรณีศึกษา ก้าวไปด้วยกัน (Move Together) : คุณศันสนีย์ สมคะเณย์ วัตถุประสงค์ : เพื่อให้เกิดการร่วมมือของหน่วยงานและพนักงานเพื่อไปสู่เป้าหมายการ เป็นผู้นำโลจิสติกส์ชายแดนและข้ามแดนประเทศเออีซี โดยการนำยุทธศาสตร์และแผนปฏิบัติการไปประยุกต์ใช้ (ข้อ1) แนวทางการดำเนินการ : 1. ใช้กลยุทธ์ Ones Team Marketing และการเชื่อมโยงตลาดเชิงผลิตภัณฑ์ กลุ่ม C และกลุ่ม D 2. การเชื่อมโยงการตลาดต่างประเทศ กลุ่ม F และกลุ่ม I 3. การให้องค์ความรู้และทิศทางกับหน่วยงานการตลาดและพนักงานปฏิบัติการ หน่วยต่างๆให้เข้าใจถึงการก้าวไปด้วยกันเพื่อบรรลุวัตถุประสงค์

15 องค์กรแห่งความสามารถ (Ability) : คุณธนากร แสงพิทูร
กรณีศึกษา องค์กรแห่งความสามารถ (Ability) : คุณธนากร แสงพิทูร วัตถุประสงค์ : เพื่อสร้างสมรรถนะของพนักงานที่เกี่ยวข้องกับงานปฏิบัติการทั้งหน่วยงานที่เกี่ยวข้องโดยตรงและหน่วยงานสนับสนุน ให้มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโลจิสติกส์ชายแดนและข้ามแดนในกลุ่มประเทศเออีซี แนวทางการดำเนินการ : 1. การอบรมความรู้ความเข้าใจ พิธีการศุลกากรและกฎข้อบังคับขนส่งข้ามแดน 2. การยกระดับส่วนงานบริการลูกค้าเออีซี (AEC Customers Services Division) ให้มีขีดความสามารถแบบมืออาชีพในการรับงาน 3. การขับเคลื่อนพัฒนาเครือข่ายซัพคอนแทรคให้เข้าใจถึงเป้าหมายและเพิ่มขีดความสามารถ ราคา มาตรฐาน คุณภาพการให้บริการ โดยร่วมมือกับคุณสุริยาฯและคุณจักรินฯ 4. การจัดทำโครงการเสริมสร้างสมรรถนะให้กับพนักงานด้วยโครงการ Re-engine & Re-Fresh (คุณสุริยาฯ) 5. การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ผลิตภาพการทำงาน / Productivity (คุณธนากรฯ/คุณดวงรัตน์ฯ) Reduce/Bottleneck Reduction/Movement Reduction/Process Reduction 6. แนวทางการขับเคลื่อนแผนปฏิบัติการ JSSC (ว่าที่ รต.ดร.ธเนศฯ) 7. แนวทางการขับเคลื่อนแผนปฏิบัติการ CSPD (คุณทิพยวรรณฯ)

16 กรณีศึกษา องค์กรแห่งความโปร่งใสและคุณธรรม (Good corporate) : คุณปิยรัตน์ ศุภสมุทร วัตถุประสงค์ : เพื่อให้วี-เซิร์ฟเป็นองค์กรบรรษัทภิบาล เป็นองค์กรแห่งคุณธรรมและ ปลอดจากคอรัปชั่นให้ความสำคัญต่อสิ่งแวดล้อม แนวทางการดำเนินการ : 1. ระเบียบข้อปฏิบัติที่เป็นธรรมสอดคล้องกับกฎหมายและจารีตประเพณี 2. การให้ความยุติธรรม และธรรมภิบาล ในการบริหารจัดการ 3. การจัดกิจกรรมที่เป็นประโยชน์ต่อสังคมและวัฒนธรรม เช่น กิจกรรม CSR กิจกรรม ทางศาสนา กิจกรรมที่เกี่ยวข้องทางด้านการศึกษา กิจกรรมด้านสังคมสงเคราะห์ กิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับสิ่งแวดล้อม 4. การให้ความเสมอภาคในด้านศาสนา วัฒนธรรม การด้อยโอกาส การให้โอกาสในการ ทำงานกับกลุ่มคนพิเศษ (ผู้พิการ) 5. เป็นองค์กรที่ไม่เกี่ยวข้องกับการค้ามนุษย์และปลอดยาเสพติด และให้ความสำคัญต่อ ความปลอดภัยในการทำงานของพนักงาน

17 กรณีศึกษา องค์กรแห่งความเป็นเลิศ (Excellence Organization) : คุณธนวัฒน์ จิตบรรเทิงพันธ์ วัตถุประสงค์ : เพื่อเสริมสร้างขีดความสามารถในการแข่งขันด้วยการยกระดับการให้บริการและ ปฏิบัติการของทุกหน่วยงานไปสู่ระดับความเป็นเลิศอย่างมืออาชีพ (Professional Service) แนวทางการดำเนินการ : 1. การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ JSSC Best Practice ไปสู่การปฏิบัติการที่เป็นเลิศและเป็น มืออาชีพอย่างเป็นรูปธรรม (Just In Time / Safty Save Cost / Claime Zero) 2. การยกระดับ Quality Work Best Practice ให้เพิ่มขีดความสามารถในการให้บริการไม่ให้ เกิดการผิดพลาดในการทำงานรวมไปถึงการให้ความสำคัญต่อระบบ Master Profile 3. การยกระดับระบบการตรวจเอกสารในระดับ “Inspection & Checker” ไปสู่ระดับ QC : Quality Control Best Practice 4. การขับเคลื่อนการสนองตอบการให้บริการจาก (Responsiveness Service) ไปสู่ ระดับที่เป็นเลิศ (Excellence Best Practice) 5. การขับเคลื่อนยกระดับการสนองตอบความพึ่งพอใจของลูกค้าจากระดับ ECR Best Practice ไปสู่ CIC Best Practice (Customer Intensive Care)

18 ยุทธศาสตร์ของวี-เซิร์ฟ กรุ๊ป
กรณีศึกษา Company Strategy 2016 ยุทธศาสตร์ของวี-เซิร์ฟ กรุ๊ป แผนยุทธศาสตร์การเป็นผู้นำโลจิสติกส์ชายแดนและข้ามแดนกลุ่มประเทศ AEC แผนยุทธศาสตร์การตลาดเชิงรุก 3 Ones Marketing : ดร.ธนิต โสรัตน์ (One Team Sale / One Pack Sale / One Point Sale) แผนยุทธศาสตร์ Overseas Connectivity : ว่าที่ รต.ดร.ธเนศ โสรัตน์ แผนยุทธศาสตร์ Trade & Inter Trade Business : คุณปิยรัตน์ ศุภสมุทร แผนขับเคลื่อนผลิตภาพการทำงาน Productivity : คุณธนากร แสงพิทูร (R = Re-engine/Re-Fresh, R = Reduce work / Re-use / Re-key / Re-print B = Bottleneck Reduction, M = Movement Reduction,

19 เป้าหมาย-ทิศทางธุรกิจ/ Company Direction (2016)
กรณีศึกษา เป้าหมาย-ทิศทางธุรกิจ/ Company Direction (2016) การเป็นผู้นำผู้ให้บริการโลจิสติกส์ชายแดนและข้ามแดนประเทศเพื่อนบ้าน (Leader In Border & Cross Border Logistics Provider) แนวทางการดำเนินงานเพื่อบรรลุเป้าหมาย ประกอบด้วย กลยุทธ์ 1. กลยุทธ์สร้างจุดแข็งและขีดความสามารถในการแข่งขัน “Border & Cross Border Competitiveness” 2. กลยุทธ์ AEC Inter Trading 3. การขับเคลื่อนสาขาชายแดน ด้านปฏิบัติการ : 1. การจัดตั้งฝ่ายให้บริการโลจิสติกส์กลุ่มประเทศเออีซี (AEC Logistics Service Division) 2. การจัดตั้งส่วนงานบริการลูกค้าเออีซี (AEC Customers Services Division) 3. การมีสาขาชายแดน 1.สะเดา 2.ปังดังเบซา 3.แม่สอด 4.อรัญประเทศ (รอการพัฒนา) 4. การมีสาขาในประเทศเพื่อนบ้าน 1.สาขาย่างกุ้ง 2.สาขาปีนัง (รอการพัฒนา) 5. การสร้างเครือข่ายซัพคอนแทคชายแดนเป้าหมาย เชียงแสน เชียงของ หนองคาย คลองใหญ่ อรัญประเทศ

20 เป้าหมาย-ทิศทางธุรกิจ/ Company Direction (ต่อ)
กรณีศึกษา เป้าหมาย-ทิศทางธุรกิจ/ Company Direction (ต่อ) การจัดตั้งฝ่ายให้บริการงานกลุ่มประเทศ (AEC Logistics Division) โดยกำหนดอัตราพนักงานและนำพันธกิจของงานต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับเออีซี มาไว้ในหน่วยเดียวกันโดยยกระดับเป็นฝ่าย แต่สายบังคับบัญชายังขึ้นตรงกับต้นสังกัดเดิม และงานการตลาดให้จัดตั้งกลุ่มผลิตภัณฑ์การขายบริการโลจิสติกส์-เออีซี ประกอบด้วย กลุ่ม AEC 1 ลาว/กัมพูชา/เวียดนาม/จีนตอนใต้ : คุณจักรินฯ กลุ่ม AEC 2 เมียนมาร์ : คุณธนวัฒน์ฯ กลุ่ม AEC 3 มาเลเซีย : คุณศิวกรฯ กลุ่ม BC งานการตลาดโลจิสติกส์ชายแดน : คุณศันสนีย์ฯ

21 โครงสร้างผังงานฝ่ายให้บริการงานโลจิสติกส์กลุ่มประเทศ AEC
กรณีศึกษา โครงสร้างผังงานฝ่ายให้บริการงานโลจิสติกส์กลุ่มประเทศ AEC สายงานต่างประเทศ ว่าที่ รต.ดร.ธเนศฯ ผู้จัดการฝ่ายโลจิสติกส์ AEC ดร.ธนิตฯ / รักษาการ ส่วนงานการตลาด (คุณจักรินฯ) ส่วนงานบริการลูกค้า/Customer Service (คุณนภาพรฯ) ปฏิบัติการชิบปิ้ง และขนส่ง (คุณธนวัฒน์ฯ) การเงิน/บัญชีต่างประเทศ (รออัตรา) กลุ่มงานประเทศลาว กัมพูชา เวียดนาม จีนตอนใต้ (คุณจักรินฯ) CS สินค้าผ่านแดน / Transit ปฏิบัติการสาขาย่างกุ้ง/แม่สอด (คุณเฉลิมชัยฯ/Mr.Tun) ขึ้นทะเบียนซัพคอนแทรค (Master Profile)/คุณสาธิตฯ CS Cross Border ปฏิบัติการสาขาภาคใต้/มาเลเซีย (คุณอังคณาฯ) การเงิน/วางบิล/ตามหนี้/บัญชี กลุ่มงานประเทศเมียนมาร์ (คุณธนวัฒน์ฯ) งานทำเอกสารงานพิธีการศุลกากร Border/ Cross Border (BC) /คุณสาธิตฯ กลุ่มงานประเทศมาเลเซีย (คุณศิวกรฯ) ปฏิบัติการสาขาอรัญประเทศ (รออัตรา) ประสานงาน ซัพคอนแทรคประเทศเออีซี ปฏิบัติการซัพคอนแทรค ลาว/กัมพูชา/เวียดนาม/จีนตอนใต้ (คุณจักรินฯ) กลุ่มงานการตลาด โลจิสติกส์ชายแดน (คุณศันสนีย์ฯ)

22 กรณีศึกษา

23 กรณีศึกษา

24 V-SERVE GROUP REVENUE กรณีศึกษา FOR 2011-2016 1,700 M 1,600 M 1,500 M
Amount 900 M 800 M 700 M 600 M 500 M 400 M 300 M 200 M 100 M

25 END


ดาวน์โหลด ppt ปี 2559 : ผู้ประกอบการพร้อมหรือยัง..... กับการรับมือเศรษฐกิจซึมยาว

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google