การประชุมกรมอนามัย ครั้งที่ 10/2557 วันเสาร์ที่ 11 ตุลาคม 2557 เวลา 13.30 – 16.30 น. ณ ห้องประชุมโรงแรมเลตรังรีสอร์ท จังหวัดตรัง โดย กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร กรมอนามัย วาระเพื่อทราบ 1. ผลการสำรวจการวินิจฉัยองค์กร 2. กรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการ ตามคำรับรองฯ ปี 2558
1 ผลการสำรวจการวินิจฉัยองค์กร ผ่านระบบออนไลน์ ครั้งที่ 1/2558 กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข
(ส่วนราชการ/จังหวัด) ผลการตอบแบบสอบถาม กรมอนามัย การบริหารจัดการ MANAGEMENT การออกแบบระบบงาน DESIGN การกำหนดเป้าหมาย GOAL ระดับองค์การ ORGANIZATION (ส่วนราชการ/จังหวัด) ระดับหน่วยงาน DEPARTMENT ระดับบุคคล INDIVIDUAL 9 10 11 12 5 6 7 8 5 6 7 8 21 22 23 24 17 18 19 20 13 14 15 16 33 34 35 36 29 30 31 32 25 26 27 28
การวิเคราะห์ผลการตอบแบบสอบถาม สัญลักษณ์และความหมาย ส่วนราชการดำเนินการเรื่องนั้นดีอยู่แล้ว ควรรักษาการดำเนินการนั้นไว้ 2) ลำดับความสำคัญของการพัฒนาองค์กร เลือก cell แก้ไข ปรับปรุง และ ดำเนินการดีอยู่แล้ว ตามลำดับ หากมี cell ซ้ำกัน ให้พิจารณาจากลำดับหมายเลข cell ดังนี้ การกำหนดเป้าหมาย,, การออกแบบระบบงานและบริหารจัดการในแต่ละระดับควบคู่กันไป หรือ , หรือ , และ ส่วนราชการควรปรับปรุงเรื่องนั้น ส่วนราชการต้องแก้ไขเรื่องนั้นอย่างเร่งด่วน
เกณฑ์การประเมินผล : การกำหนดเป้าหมายระดับบุคคล (Individual Goal :IG) ส่วนราชการมีการกำหนดตัวชี้วัดและเป้าหมายระดับบุคคล ระดับ ส่วนราชการมีการกำหนดตัวชี้วัดและเป้าหมายระดับบุคคลที่สอดคล้องกับเป้าหมายของหน่วยงานและส่วนราชการ ระดับ ส่วนราชการมีการกำหนดตัวชี้วัดและเป้าหมายระดับบุคคลที่มีความท้าทายมากขึ้นทุกรอบปี ระดับ ส่วนราชการมีการสื่อสารและการติดตามการบรรลุเป้าหมายตัวชี้วัดระดับตัวบุคคลระหว่างผู้บังคับบัญชาและผู้ใต้บังคับบัญชา ระดับ ส่วนราชการมีระบบการสื่อสารและระบบการติดตามการบรรลุเป้าหมายตัวชี้วัดระดับบุคคลระหว่างผู้บังคับบัญชาและผู้ใต้บังคับบัญชา ระดับ
กรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการระดับกรม ปีงบประมาณ พ.ศ.2558 การประเมินประสิทธิผล การประเมินคุณภาพ การพัฒนาองค์การ การประเมินประสิทธิภาพ 1.ตัวชี้วัดภารกิจ หลักของกระทรวงตาม แนวทางการขับเคลื่อน ประเทศ /แผน ยุทธศาสตร์กระทรวง/ ภารกิจของกรม (65 %) 2. คุณภาพการให้บริการ ประชาชน (Service Level Agreement : SLA) (10 %) 6.การพัฒนาสมรรถนะ องค์การ (ทุนมนุษย์ ทุนสารสนเทศ และ วัฒนธรรมองค์การ) (5 %) 7.ระดับคุณธรรมและความ โปร่งใสการดำเนินงาน ของหน่วยงาน (5 %) 3.การเบิกจ่ายเงิน งบประมาณ (5 %) 4.การประหยัดพลังงาน (5 %) 5.การพัฒนาประสิทธิภาพ ระบบสารสนเทศภาครัฐ (5 %) รวมน้ำหนัก 100 %