พลตำรวจตรี สุรัตน์ อรุณฤกษ์ถวิล อาจารย์ (สบ พลตำรวจตรี สุรัตน์ อรุณฤกษ์ถวิล อาจารย์ (สบ.6) กลุ่มงานอาจารย์ กองบัญชาการศึกษา คุณวุฒิ 1. รัฐประศาสนศาสตร์บัณฑิต โรงเรียนนายร้อยตำรวจ ( นรต.34 ) 2. รัฐประศาสนศาสตร์มหาบัณฑิต ( MPA - สหรัฐอเมริกา ) คุณวุฒิการศึกษาเพิ่มเติม การสืบสวนสอบสวนคดีการเงินที่มีความซับซ้อน ( Interpol ฝรั่งเศส ) การสืบสวนสอบสวนคดีอาชญากรรมสำคัญ ( JICA - ญี่ปุ่น ) การบริหารงานตำรวจระดับสูง ( ILEA – สหรัฐอเมริกา ) การบริหารจัดการในภาวะวิกฤต ( APCSS – สหรัฐอเมริกา ) การบริหารการศึกษาตำรวจ (เนเธอร์แลนด์ )
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการสืบสวน 1 ความหมายของการสืบสวน 2 ลักษณะงานสืบสวน 3 แนวคิด ปรัชญา และความเชื่อของการสืบสวน 4 ประเภทของการสืบสวน 5 องค์ประกอบของการสืบสวนที่มีประสิทธิภาพ
1 ความหมายของการสืบสวน การสืบสวน หมายความถึง การแสวงหาข้อเท็จจริงและหลักฐาน ซึ่งพนักงานฝ่ายปกครองหรือตำรวจ ได้ปฏิบัติไปตามอำนาจหน้าที่ เพื่อรักษาความสงบเรียบร้อยของประชาชน และเพื่อที่จะทราบรายละเอียดแห่งการกระทำผิด ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 2(10)
วัตถุประสงค์ของการสืบสวน พิสูจน์ความเป็นจริงในขอบเขตของกฎหมาย ย้อนหลังไปหาสิ่งที่ไม่รู้ เพื่อค้นหาความจริง ตรวจสอบข้อสงสัย ติดตาม รวบรวม รักษา ร่องรอยพยานหลักฐาน
วัตถุประสงค์ของการสืบสวน ค้นหาคนหรือสิ่งของที่ใช้ในการกระทำผิดกฎหมาย สืบค้นและติดตาม ทรัพย์สินที่ถูกประทุษร้าย สนับสนุนพนักงานสอบสวน พนักงานอัยการ ในการพิสูจน์ความจริงในชั้นศาล ยับยั้งการก่ออาชญากรรม ( ปัจจุบัน และอนาคต )
อัยการ สงสัย ฟ้อง ศาล สงสัย ปล่อย ข้อสังเกตในแต่ละชั้นของกระบวนการยุติธรรม ตำรวจ สงสัย จับ อัยการ สงสัย ฟ้อง ศาล สงสัย ปล่อย เมื่อคำพิพากษาถึงที่สุดแล้วแก้ไขไม่ได้ แต่ชั้นราชทัณฑ์ไม่ได้เป็นการแก้ไขโทษ แต่เป็นการแก้ไขการบังคับการลงโทษแก้ไขได้
1. ผู้มีอำนาจ สืบสวน vs สอบสวน
3. จุดเริ่มต้นการสืบสวน 3. จุดเริ่มต้นการสอบสวน 1. ผู้มีอำนาจสืบสวน 1. ผู้มีอำนาจสอบสวน ปวิ อ.มาตรา 17 “ พนักงานฝ่ายปกครองหรือตำรวจ มีอำนาจทำการสืบสวนคดีอาญาได้” ปวิ อ. มาตรา 18 ท้องที่เดียว , 19 เกี่ยวเนือง , 20 นอก ไม่จำกัดชั้นยศ ร.ต.ต.หรือเทียบเท่าขึ้นไป + ระเบียบ ตร. 2. เขตอำนาจการสืบสวน 2. เขตอำนาจการสอบสวน ไม่จำกัดพื้นที่ ขึ้นอยู่กับเขตภูมิศาสตร์ แบ่งตามเขตท้องที่ สน. 3. จุดเริ่มต้นการสืบสวน 3. จุดเริ่มต้นการสอบสวน ไม่จำกัดเวลา (ก่อน ขณะ หลัง) เมื่อมีการร้องทุกข์ กล่าวโทษ ป วิ อ. มาตรา 2(7) , 123 ,124 4. รูปแบบ 4.รูปแบบ ไม่มี (แฟ้มสืบสวน ,สำนวนสืบสวน) สำนวนสอบสวน (ระเบียบตำรวจเกี่ยวกับคดีฯ) ,ปวิ อ.มาตรา 175 อำนาจเรียกสำนวนการสอบสวนของศาลประกอบการพิจารณา
2. ลักษณะงานสืบสวน
ลักษณะของงานสืบสวน ลักษณะของงานสืบสวน มีความไม่แน่นอน ไม่มีวันเวลา ต้องทำงานได้ในทุกสถานที่ทุกเวลา กำหนดไม่ได้ว่าจะเกิดคดีอะไร รูปแบบคดีเปลี่ยนไปเสมอ พยานหลักฐาน ข้อมูล บางอย่างในบางเวลามีความสำคัญ แต่เมื่อเวลาผ่านไปอาจไม่สำคัญอีกต่อไป ต้องจัดลำดับความสำคัญ และต้องสามารถทำงานหลายอย่างได้ในเวลาเดียวกัน ( เครือข่าย หรือ ทีม )
ลักษณะของงานสืบสวน เป็นงานที่ต้องทำอย่างต่อเนื่อง ต้องใช้บุคลากรที่มีความรู้ในระดับทักษะ ต้องใช้งบประมาณมาก ต้องใช้ความมุ่งมั่น งานสืบสวนมีลักษณะเป็นเครือข่ายความสัมพันธ์ ไม่มีเขตพื้นที่เฉพาะ
สภาวะกดดันของงานสืบสวน * ความไม่พร้อม 4M ( Man Money Material Method ) * ขอบเขตและหลักการปฏิบัติตามกฎหมาย * ความคาดหวัง ผู้บังคับบัญชา, ผู้เสียหาย , ปชช , สื่อ * การเอาตัวรอดการต่อสู้ของผู้ต้องหา * ความยากลำบากและความต่อเนื่องยาวนานของงาน * สิ่งล่อใจ
3. แนวคิด ปรัชญา และความเชื่อของงานสืบสวน 3. แนวคิด ปรัชญา และความเชื่อของงานสืบสวน
ปรัชญา ความเชื่อ ในงานสืบสวน “ อาชญากรย่อมทิ้ง ร่องรอยเสมอ ” “ ความรู้ด้านงานสืบสวนเป็นทั้งศาสตร์ และ ศิลป์ ”
ทฤษฎีการแลกเปลี่ยนวัตถุ-สสาร(การปนเปื้อน) crime scene investigation Chang of custody (การตรวจสถานที่เกิดเหตุ) (การเก็บรักษา, การส่งวัตถุพยาน) การย้อนเวลา (Time Machine) เทคนิคการต่อจิ๊กซอว์ การตรวจสถานที่เกิดเหตุ การตั้งสมมุติฐาน, การตั้งประเด็นสืบสวน การพิสูจน์ตัดประเด็นสืบสวน ทฤษฎีมูลเหตุอาชญากรรม อาชญาวิทยา พฤติกรรมศาสตร์ (มนุษย์เป็นสัตว์สังคม) มูลเหตุจูงใจอาชญากรรม หลักคิดสิ่งที่เป็นอาจไม่ใช่สิ่งที่เห็น หลักการข่าว (ข้อมูล คือ อำนาจ) หลักการคิดเชิงวิเคราะห์ (Analysis Thinking)
-------------------------------------------------- “ เมื่อมีคดีเกิดขึ้น เราต้องตั้งประเด็น ตั้งสมมุติฐาน และทำไปตามตามประเด็นและสมมุติฐานที่ตั้งไว้ แม้ว่าในเวลาต่อมามันจะเป็นเรื่องโง่ก็ตาม” -------------------------------------------------- “ บางเรื่องในบางเวลาเป็นเรื่องสำคัญ แต่เมื่อผ่านพ้นมาแล้วเป็นสิ่งไม่สำคัญเลย จงจัดลำดับความสำคัญของเรื่องในการทำงานเสมอ ”
“ จงคิดอยู่เสมอว่าเรากำลังทำอะไร เราได้อะไรมา และเรากำลังจะทำอะไรต่อไป ” --------------------------------------------- “ การสืบสวนต้องทำงานเป็นทีม และ ต้องมีการสร้างระบบเครือข่ายการสืบสวน ” -------------------------------------------------------- “ การทำงานสืบสวนต้องเกี่ยวข้องกับข้อมูล ต้องมีความรู้เรื่องระบบงานข่าว ระบบการจัดเก็บข้อมูล,ฐานข้อมูล และการกระจายใช้ ”
ก่อน หลัง 4. ประเภทงานสืบสวน การสืบสวน เกิดเหตุ การสืบสวนจากนอกเข้าใน การสืบสวนจากในออกนอก การสืบสวนโดยอาศัยเหตุจูงใจ การสืบสวนจากความสัมพันธ์ การสืบสวนโดยใช้พฤติกรรมศาสตร์ การสืบสวนจากสภาพแวดล้อม การสืบสวน ก่อน เกิดเหตุ หลัง
การสืบสวน การสอบสวน ความแตกต่างของการสืบสวนสอบสวน ก่อนเกิดเหตุ หลังเกิดเหตุ ความสงบเรียบร้อยของประชาชน เพื่อทราบรายละเอียดแห่งการกระทำผิด การสอบสวน - รวมรวมพยานหลักฐาน - ให้ทราบข้อเท็จจริง - พิสูจน์ความผิด - เอาตัวผู้กระทำผิดไปลงโทษ
เกิดเหตุ สืบสวน สอบสวน 1. ทราบรายละเอียดของการกระทำทุกอย่างในเขต พื้นที่รับผิดชอบ (คดี / ไม่เกี่ยวกับคดี) 2. ทราบรายละเอียดของความผิด เพื่อการพิสูจน์ความผิด 3. ค้นหา รวบรวม รักษาพยานหลักฐาน ตรวจสอบ พิสูจน์ พยานหลักฐาน 4. เอาตัวผู้กระทำผิดมาฟ้องลงโทษ 5. รักษาความสงบเรียบร้อยของสังคม 1. รวบรวมพยานหลักฐานตาม ปวิอาญา เกี่ยวกับความผิด 2. เพื่อทราบข้อเท็จจริงเกี่ยวกับความผิด 3. เพื่อพิสูจน์ความผิด 4. เพื่อเอาตัวผู้กระทำความผิดมาฟ้องลงโทษ
ก่อน หลัง 4. ประเภทงานสืบสวน การสืบสวน เกิดเหตุ การสืบสวนจากนอกเข้าใน การสืบสวนจากในออกนอก การสืบสวนโดยอาศัยเหตุจูงใจ การสืบสวนจากความสัมพันธ์ การสืบสวนโดยใช้พฤติกรรมศาสตร์ การสืบสวนจากสภาพแวดล้อม การสืบสวน ก่อน เกิดเหตุ หลัง
นิติวิทยาศาสตร์ และ การพิสูจน์หลักฐาน 4. องค์ประกอบการสืบสวนที่มีประสิทธิภาพ เทคนิคสืบสวน นิติวิทยาศาสตร์ และ การพิสูจน์หลักฐาน กฎหมาย
องค์ประกอบ 3 ประการ 1. กฎหมาย ปฏิบัติตามกฎหมาย ไม่ว่าจะเป็นในเรื่องการค้น การจับ รวมไปถึงการแสวงหาพยานหลักฐานต่างๆ ที่เกี่ยวข้องในคดีนั้นๆ 2. เทคนิคการสืบสวน - การสืบสวนพื้นฐาน - การสืบสวนโดยใช้เทคโนโลยี - การสืบสวนบนโต๊ะ (การประชุมหารือ) 3. นิติวิทยาศาสตร์และการพิสูจน์หลักฐาน นำความรู้ทางด้านนิติวิทยาศาสตร์และการพิสูจน์หลักฐานในปัจจุบัน มาช่วยในการตรวจพิสูจน์ หาร่องรอย ตลอดจนยืนยันความผิดหรือความบริสุทธิ์ของผู้ต้องหา
นักสืบ รัก ความรู้ ทีม ครอบครัว ความเป็นอยู่ ร่างกายแข็งแรง ในงานสืบสวน ทีม ที่ดี รัก การทำงาน ร่างกายแข็งแรง ครอบครัว ความเป็นอยู่
บททอดสอบ “ ความพร้อม ” ของการเป็นนักสืบ ??? บททอดสอบ “ ความพร้อม ” ของการเป็นนักสืบ ???
เตรียมความพร้อม ความรู้ ความเข้าใจ การสังเกตุ ความละเอียดรอบคอบ ความจำ เตรียมความพร้อม ความรู้ ความเข้าใจ การสังเกตุ ความละเอียดรอบคอบ ความจำ
ตอบคำถาม อะไร ( What ) เมื่อไร ( When ) ที่ไหน ( Where ) ทำไม ( Why ) ใคร ( Who ) อย่างไร ( How )
จินตนาการ ความเป็นจริง
สังเกตุ เปรียบเทียบ จดจำ สังเกตุ เปรียบเทียบ จดจำ
คำพูด เรื่องเล่า เล่าเรื่อง คำพูด เรื่องเล่า เล่าเรื่อง
แล้วท่านล่ะ..... ? พร้อมที่จะเป็นผู้แสวงหาข้อเท็จจริง พยานหลักฐานต่างๆของการกระทำผิด ..อันจะนำไปสู่การจับกุมตัวผู้กระทำผิดแล้วหรือยัง ?