งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

หลักการและแนวคิดที่ใช้ในการศึกษาการทำงาน

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "หลักการและแนวคิดที่ใช้ในการศึกษาการทำงาน"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 หลักการและแนวคิดที่ใช้ในการศึกษาการทำงาน
บทที่ 2 หลักการและแนวคิดที่ใช้ในการศึกษาการทำงาน การศึกษาการทำงาน การเพิ่มผลผลิต เทคนิค พัฒนาวิธีการทำงาน Rujipas potongsangarun

2 หลักการและแนวคิดที่ใช้ในการศึกษาการทำงาน
1.การแบ่งแยกความสำคัญของงาน 2.การแบ่งแยกประเภทของงาน 3.การกำหนดความแน่นอนของงาน 4.การเพิ่มผลผลิตและลดต้นทุนการผลิต 5.การวัดผลิตภาพ 6.เหตุที่ทำให้ผลผลิตธุรกิจอุตสาหกรรมตกต่ำ Rujipas potongsangarun

3 7.การตรวจสอบและการขนย้าย 8.เวลาส่วนเกินและเวลาไร้ประสิทธิภาพ
9.แหล่งที่ตั้งและรูปแบบความสูญเสีย 10.หลักของ 4 ศูนย์ 11.กิจกรรมกลุ่มที่เกี่ยวเนื่องกับการศึกษาการทำงาน 12.ประโยชน์ของการใช้เทคนิคการศึกษางานในการเพิ่มผลผลิต Rujipas potongsangarun

4 1.การแบ่งแยกความสำคัญของงาน
ก.เงื่อนไขเวลา ข.เงื่อนไขค่าใช้จ่าย ค.เงื่อนไขลักษณะของงาน ง.เงื่อนไขความผูกพันกับงานและ บุคคลอื่นๆ จ.เงื่อนไขความเสี่ยง ฉ.เงื่อนไขความลับ ศึกษา งาน เพื่อปรับปรุงวิธีการทำงาน Rujipas potongsangarun

5 ข.เงื่อนไขค่าใช้จ่าย ต้นทุนการผลิตสูงโอกาสในการพบ ความสูญเสียย่อมมีมาก
ก.เงื่อนไขเวลา ข.เงื่อนไขค่าใช้จ่าย ต้นทุนการผลิตสูงโอกาสในการพบ ความสูญเสียย่อมมีมาก ค.เงื่อนไขลักษณะงาน ความยาก-ง่าย ความหนัก-เบา ของงาน ง.เงื่อนไขความผูกพันกับงานและบุคคลอื่น กระทบกับกลุ่มใด จ.เงื่อนไขความเสี่ยง เพื่อลดระดับความเสี่ยงต่อการสูญเสีย ฉ.เงื่อนไขความลับ การศึกษาต้องใช้ความรอบคอบและ จิตวิทยาค่อนข้างสูง ภาระผูกพันกับเวลาการส่งมอบสินค้า Rujipas potongsangarun

6 2.การแบ่งแยกประเภทของงาน
ก.งานที่ต้องใช้ความชำนาญหรือไม่ต้องใช้ความชำนาญ ข.งานที่ต้องทำเป็นทีมหรืองานที่เป็นอิสระ ค.งานใช้แรงงานหรือใช้สมอง ง.งานเกิดบ่อยหรือไม่บ่อย จ.งานควบคุมได้หรือไม่ได้ ฉ.งานเคลื่อนย้ายหรืออยู่กับที่ ช.งานที่มีขั้นตอนการเปลี่ยนแปลงหรือไม่ค่อยเปลี่ยนแปลง Rujipas potongsangarun

7 3.การกำหนดความแน่นอนของงาน
แนวคิด “ความไม่แน่นอนเป็นความสูญเสีย” เช่น ความไม่แน่นอนของการจัดส่งวัตถุดิบ (ต้องมีคลังสินค้า) ความไม่แน่นอนต่อความปลอดภัยในชีวิต (ต้องมีการประกันชีวิต) ความไม่แน่นอนทางการตลาด (ต้องมีสินค้าคงคลัง) เป็นต้น Rujipas potongsangarun

8 โตโยต้า โตโยต้า

9 4.การเพิ่มผลผลิตและลดต้นทุนการผลิต
การศึกษางาน การค้นหาความสูญเสียจากการสูญเปล่าของการทำงาน เพื่อเร่งเร้าให้เกิดจิตสำนึกด้านการเพิ่มผลผลิต (1)เผยแพร่เป้าหมายการเพิ่มผลผลิตโดยจดหมายเวียน (2)จัดคณะศึกษาเพื่อเพิ่มผลผลิต (3)กำหนดระบบการวัดผลการดำเนินงานและการรายงานผล Rujipas potongsangarun

10 เกณฑ์การเพิ่มผลผลิต หลัก (4)จัดระบบการจูงใจส่งเสริมในการเพิ่มผลผลิต
(5)จัดตั้งหน่วยงานวิจัยเพื่อแลกเปลี่ยนข้อมูลและจัดประชุมด้านการเพิ่มผลผลิต เกณฑ์การเพิ่มผลผลิต (1)ผลิตภาพวัตถุดิบ การเพิ่มผลผลิตด้านวัสดุ หลัก การออกแบบและการวางแผนการใช้วัสดุอย่างมีประสิทธิภาพ จัดการและควบคุมการใช้วัสดุเพื่อลดความสูญเสีย Rujipas potongsangarun

11 -พยายามใช้ของที่มีราคาถูกและได้คุณภาพที่เหมาะสม
หลักการการลดต้นทุน -พยายามใช้ของที่มีราคาถูกและได้คุณภาพที่เหมาะสม -ผลิตตามแผนการผลิตที่ดี -มีการควบคุมพัสดุคงคลังที่ดี -ศึกษาแหล่งวัตถุดิบและคุณสมบัติของวัตถุดิบ -ควบคุมลดการสูญเสียจากการผลิต การขนย้ายและการขโมย Rujipas potongsangarun

12 หลัก (2)การเพิ่มผลผลิตด้านแรงงาน
-กำหนดมาตรฐานของการทำงานต่อคน ต่อชั่วโมงหรือต่อวัน -มีการวางแผนที่ดี ลดเวลาการรอคอย ลดการสูญเสีย -การจัดการและการควบคุมที่ดี ลดเวลาการขาดงานและหลบงาน หลัก -ปรับปรุงวิธีการทำงานและกำหนดเวลามาตรฐานการทำงาน -ลดเวลาไร้ประสิทธิภาพ -ลดเวลาสูญเปล่าในการทำงานโดยการวางแผนการผลิต Rujipas potongsangarun

13 หลัก (3)การเพิ่มผลผลิตด้านเครื่องจักร
-ควบคุมป้องกันไม่ให้เกิดความขาดแคลนวัสดุและอุบัติเหตุในโรงงาน -จัดหาเครื่องจักร(ทดแทน)ที่เหมาะสมกับความต้องการ -จัดระบบการบำรุงรักษาเครื่องจักรที่ดี มีแผนการซ่อมบำรุงที่เหมาะสม มีผู้ชำนาญ เครื่องมือซ่อมบำรุงและอะไหล่ให้พร้อม Rujipas potongsangarun

14 หลัก (4)การเพิ่มผลผลิตด้านที่ดินและอาคาร
-ลดปริมาณพัสดุคงคลังในบริเวณอาคารผลิต -ใช้หลักการใช้ประโยชน์ส่วนสูง -กำหนดให้พื้นที่ในคลังสินค้าเป็นที่พักสินค้าไม่ใช่ที่เก็บถาวร -จัดระเบียบการวางผังสินค้าให้สามารถใช้ประโยชน์สูงสุด -เพิ่มประโยชน์การใช้สอยของพื้นที่บริเวณที่ใช้ทำการผลิต Rujipas potongsangarun

15 หลัก (5)การเพิ่มผลผลิตด้านเงินลงทุน
-หาแหล่งเงินกู้หลายๆแหล่งและอัตราดอกเบี้ยที่ต่ำ -จัดซื้อด้วยจำนวนเงินน้อยๆหมุนเวียนบ่อยครั้ง -การซื้อเชื่อและขายสด -ซื้อแล้วรีบขาย -มีแผนการใช้เงินทั้งระยะสั้นและระยะยาว -การจัดการทางบัญชีการเงิน เช่น บัญชีกระแสรายวัน Rujipas potongsangarun

16 หลัก (6)การเพิ่มผลผลิตด้านพลังงาน
-นำพลังงานส่วนที่จะต้องทิ้งเปล่ากลับมาใช้ใหม่ในกระบวนการผลิต -ใช้อุปกรณ์ช่วยลดความสูญเปล่าและประหยัดพลังงาน -จัดระบบการส่งถ่ายพลังงานให้มีประสิทธิภาพสูงขึ้น -จัดโปรแกรมการประหยัดพลังงาน Rujipas potongsangarun

17 (7)เทคนิคการเพิ่มผลผลิตและการลดต้นทุน
**การวางแผนและการควบคุมการผลิต -เทคนิคการพยากรณ์การผลิต -เทคนิค PERT/CPM -เทคนิคการวางแผนและจัดการผลิต -เทคนิคการควบคุมการผลิต Rujipas potongsangarun

18 -เทคนิคการสุ่มตัวอย่าง -เทคนิคQCC -เทคนิคการควบคุมการผลิต
**การควบคุมคุณภาพ -เทคนิค TQC/JIT -เทคนิคการสุ่มตัวอย่าง -เทคนิคQCC -เทคนิคการควบคุมการผลิต Rujipas potongsangarun

19 **การควบคุมสินค้าคงคลัง -เทคนิคการจัดการด้านพัสดุ -เทคนิค EOQ
-เทคนิค Toyota Production System **การศึกษาการทำงาน -เทคนิคการวัดผล/มาตรฐานเวลาการทำงาน -เทคนิคการศึกษาวิธีการทำงาน Rujipas potongsangarun

20 -การโปรแกรมเชิงเส้นตรง -เทคนิคทฤษฎีแถวคอย -เทคนิคการจัดสรรงาน
**การวิจัยดำเนินงาน -การโปรแกรมเชิงเส้นตรง -เทคนิคทฤษฎีแถวคอย -เทคนิคการจัดสรรงาน -เทคนิคการจำลองสถานการณ์ Rujipas potongsangarun

21 -การวิเคราะห์จุดคุ้มทุน -เทคนิค VE
**การควบคุมต้นทุน -การวิเคราะห์จุดคุ้มทุน -เทคนิค VE -เทคนิคการประเมินต้นทุน/ควบคุมงบประมาณ **การออกแบบผลิตภัณฑ์ -เทคนิคการคัดเลือกและออกแบบผลิตภัณฑ์ -เทคนิคการบรรจุภัณฑ์ Rujipas potongsangarun

22 -เทคนิคการจัดสมดุลของสายการผลิต -เทคนิคการเลือกและทดแทนเครื่องจักร
**การวางผังโรงงาน -เทคนิคการจัดสมดุลของสายการผลิต -เทคนิคการเลือกและทดแทนเครื่องจักร -เทคนิคการจัดผังเครื่องจักรและโรงงาน **การขนถ่ายวัสดุ -เทคนิคการวิเคราะห์ระบบการขนถ่าย -เทคนิคการจัดระบบขนถ่ายวัสดุ Rujipas potongsangarun

23 **การจัดระบบข่าวสารข้อสนเทศ -เทคนิคการสื่อสาร
-เทคนิคระบบข่ายงาน/คอมพิวเตอร์ **การซ่อมบำรุงรักษา -ระบบบำรุงรักษา Rujipas potongsangarun

24 **เครื่องมือในอุตสาหกรรม -เครื่องมือวัดในอุตสาหกรรม -เครื่องมือกล
**การประหยัดพลังงาน -พลังงานไฟฟ้า -พลังงานเชื้อเพลิง -พลังงานในอาคาร Rujipas potongsangarun

25 **ความปลอดภัยในโรงงาน -เทคนิคการลดอุบัติเหตุในอุตสาหกรรม
**การกำจัดของเสียในอุตสาหกรรม -เทคนิคการกำจัดของเสียทิ้ง:อากาศ ของเหลวและของแข็ง Rujipas potongsangarun

26 -การส่งเสริมความก้าวหน้า
**การบริหารงานบุคคล -การประเมินผลงาน -การอบรม -การจูงใจ -การส่งเสริมความก้าวหน้า Rujipas potongsangarun

27 5.การวัดผลิตภาพ หลายระดับ
1.ผลิตภาพระดับประเทศ วัดในรูปของผลผลิตมวลรวม ของประเทศหรือรายได้ประชาชาติ 2.ผลิตภาพระดับอุตสาหกรรม วัดเป็นมูลค่าเพิ่มต่อหน่วย ในการผลิต 3.ผลิตภาพระดับองค์การ วัดเป็นผลิตภาพมูลค่าเพิ่มต่อ แรงงาน กำไรต่อหน่วยลงทุน หรือ อัตราการใช้วัตถุดิบต่อ หน่วยการผลิต Rujipas potongsangarun

28 การวัดระดับองค์การและหน่วยงานแบ่งเป็น 2 กลุ่ม
4.ผลิตภาพระดับหน่วยงาน วัดเป็นผลิตภาพตามปัจจัย การผลิต เช่น ผลิตภาพแรงงาน ผลิตภาพเครื่องจักร การวัดระดับองค์การและหน่วยงานแบ่งเป็น 2 กลุ่ม ก.การวัดผลิตภาพเชิงรวม ข.การวัดผลิตภาพเชิงปัจจัยการผลิต วัดผลิตภาพในเชิงมูลค่าเพิ่มโดยวัดเป็นตัวเงินและแปลงมูลค่าตามฐานปีที่ใช้ วัดในเชิงปริมาณตามปัจจัยการผลิต ไม่ต้องแปลงมูลค่าตามฐานปี Rujipas potongsangarun

29 2 วิธี ก.การวัดผลิตภาพเชิงรวม 1.วิธีหักลบ
มูลค่าเพิ่ม = ยอดขาย – ต้นทุนวัตถุดิบ – ค่าใช้จ่าย – สินค้าคงคลัง ณ.ต้นปี + สินค้าคงคลัง ณ.ปลายปี 2.วิธีบวก มูลค่าเพิ่ม = ค่าจ้างแรงงาน + ค่าสวัสดิการ + ดอกเบี้ย เงินปันผลหุ้น + ค่าเสื่อมราคา + ภาษี Rujipas potongsangarun

30 ข.การวัดผลิตภาพเชิงปัจจัยการผลิต แบ่งเป็น
1.ผลิตภาพแรงงาน = ผลผลิต จำนวนชั่วโมงแรงงานที่ใช้ในการผลิต 2.ผลิตภาพเครื่องจักร = ผลผลิต จำนวนชั่วโมงในการเดินเครื่อง 3.ผลิตภาพวัตถุดิบ = ผลผลิต ปริมาณวัตถุดิบที่ใช้ไป 4.ผลิตภาพการใช้พื้นที่ = ผลผลิต พื้นที่ที่ใช้ในการผลิตที่ใช้ในการผลิต 5.ผลิตภาพพลังงาน = ผลผลิต จำนวนหน่วยของพลังงานที่ใช้ในการผลิต Rujipas potongsangarun

31 แนวทางในการเพิ่มผลผลิต 5 แนวทาง
1)เพิ่มผลผลิตโดยใช้ทรัพยากรน้อย 2)เพิ่มผลผลิตโดยใช้ทรัพยากรเท่าเดิม 3)เพิ่มผลผลิตโดยใช้ทรัพยากรเพิ่มขึ้นแต่ในสัดส่วนที่น้อยกว่าเดิม 4)คงปริมาณผลผลิตโดยใช้ทรัพยากรน้อยลง 5)ลดปริมาณผลผลิตโดยใช้ทรัพยากรในสัดส่วนที่น้อยกว่าเดิม Rujipas potongsangarun

32 แนวทางในการเพิ่มผลิตภาพ
เหมาะสำหรับธุรกิจที่อยู่ในระดับการเติบโตและมีความต้องการของสินค้าในตลาด แนวทางที่ ผลิตภัณฑ์และบริการ Output ทรัพยากรที่ใช้ Input 1 เพิ่ม ลด 2 คงที่ 3 เพิ่มมากกว่า เพิ่มน้อยกว่า 4 5 ลดน้อยกว่า ลดมากกว่า ธุรกิจอยู่ในระดับการทรงตัวและถดถอย Rujipas potongsangarun

33 แนวทางในการเพิ่มผลิตภาพ
แนวทางที่ ผลิตภัณฑ์และหรือ บริการ ทรัพยากร ผลิตภาพ เดิม 10,000 100 1 เพิ่ม 10,500 ลด 95 110 2 คงที่ 105 3 เพิ่มน้อยกว่า 102 103 4 5 9,500 ลดมากกว่า 90 Rujipas potongsangarun

34 เทคนิคของการเพิ่มผลิตภาพแบ่งเป็น 5 แนวทาง
1)การนำเทคโนโลยีใหม่มาใช้ ซึ่งมีผลทำให้ผลผลิตต่อหน่วยของแรงงานเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว ทำให้ลดต้นทุนการผลิต - การใช้เครื่องจักรทันสมัยในกระบวนการผลิต - นำคอมพิวเตอร์ที่มีสมรรถนะสูงมาใช้ในการทำงาน - การใช้เครื่องนับหรือเครื่องตรวจจับ - การลงทุนในเครื่องมือที่มีขีดความสามารถในการผลิตสูง เทคนิค Rujipas potongsangarun

35 - การวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์ - การใช้เทคนิคของวิศวกรรมคุณค่า
2)เน้นผลิตภัณฑ์ โดยการพัฒนาผลิตภัณฑ์ให้มีคุณภาพและ มีคุณค่าเป็นที่ต้องการของตลาด - การวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์ - การใช้เทคนิคของวิศวกรรมคุณค่า - การพัฒนาคุณภาพของผลิตภัณฑ์ให้ดีขึ้น - การส่งเสริมการขายและการโฆษณา เทคนิค Rujipas potongsangarun

36 - การกำหนดมาตรฐานการปฏิบัติงาน - การออกแบบวิธีการทำงานใหม่
3)เน้นวิธีการทำงาน โดยอาศัยหลักวิชาการด้านการศึกษาการทำงานมาใช้ รวมทั้งการวางแผนการทำงานต่างๆ - การปรับปรุงงาน - การกำหนดมาตรฐานการปฏิบัติงาน - การออกแบบวิธีการทำงานใหม่ - เทคนิคการวางแผนการผลิตต่างๆ - เทคนิคของ Re-engineering เทคนิค Rujipas potongsangarun

37 4)เน้นด้านวัสดุ โดยจัดการวัสดุและการควบคุมการใช้วัสดุ
- การควบคุมสินค้าคงคลัง - การควบคุมคุณภาพของวัสดุ - ระบบการจัดการวัสดุ - การใช้วัสดุต่างๆอย่างมีประสิทธิภาพมากที่สุด - การใช้เศษเหลือของวัสดุ เทคนิค Rujipas potongsangarun

38 - การจัดตั้งระบบค่าแรงจูงใจ - การจัดตั้งระบบสวัสดิการต่างๆ - การฝึกงาน
4)เน้นด้านพนักงาน โดยการพัฒนาปรับปรุงคุณภาพของพนักงานและการใช้เครื่องมือจูงใจ - การจัดตั้งระบบค่าแรงจูงใจ - การจัดตั้งระบบสวัสดิการต่างๆ - การฝึกงาน - การพัฒนาปรับปรุงฝีมือและทักษะของพนักงาน - การฝึกอบรมและการเรียนรู้ - การสร้างวัฒนธรรมการทำงานเป็นทีม เทคนิค Rujipas potongsangarun

39 6.เหตุที่ทำให้ผลผลิตธุรกิจอุตสาหกรรมตกต่ำ
1)เกิดของเสียในการผลิต 2)หยุดการผลิตเนื่องจากเครื่องจักรขัดข้องหรือชำรุด 3)เกิดอุบัติเหตุ 4)มีการรอคอย 5)ขาดระเบียบและระบบการทำงานที่ดี 6)สัมพันธภาพในหน่วยงานไม่ดี Rujipas potongsangarun

40 7)พนักงานขาดความตั้งใจ 8)พนักงานไม่สามารถทำงานได้เต็มความสามารถ
9)พนักงานทำงานไม่ถูกวิธีและขั้นตอนการทำงาน 10)ขั้นตอนการทำงานที่ขาดประสิทธิภาพ สาเหตุที่ทำให้อัตราผลผลิตต่ำ 1.ปัญหาจากพนักงาน - ขาดความชำนาญ - ขาดทักษะที่จำเป็นในการทำงานนั้นๆ Rujipas potongsangarun

41 - ขาดการให้คำแนะนำที่ดี 2.ปัญหาจากสภาพแวดล้อมในการทำงาน
- ขาดการศึกษาอบรม - ขาดการให้คำแนะนำที่ดี 2.ปัญหาจากสภาพแวดล้อมในการทำงาน - การให้แสงสว่างในบริเวณการทำงานที่ไม่เพียงพอ - อุณหภูมิไม่เหมาะสม - การถ่ายเทอากาศไม่ดี - ความปลอดภัยในการทำงานไม่ดี - ความสัมพันธ์ในหมู่พนักงานไม่ดี Rujipas potongsangarun

42 3.ปัญหาจากสาเหตุทางเทคนิคและการวางแผนได้แก่
- การวางแผนการผลิตที่ไม่เหมาะสม - การใช้เครื่องจักรไม่เหมาะสม - ไม่มีมาตรฐานในการผลิต - การออกแบบผลิตภัณฑ์ไม่ดี - การใช้กระบวนการผลิตที่ไม่ถูกต้อง - การจัดวางผังโรงงานที่ไม่ดี - สายการผลิตไม่สมดุล Rujipas potongsangarun

43 4.ปัญหาจากสิ่งกระตุ้นและองค์ประกอบอื่นๆ ได้แก่
4.ปัญหาจากสิ่งกระตุ้นและองค์ประกอบอื่นๆ ได้แก่ - โครงสร้างการบริหารขององค์การและโอกาสในการเลื่อน ตำแหน่ง - การสั่งการและการบังคับบัญชาของหัวหน้างาน - อิทธิพลจากกลุ่มต่างๆภายในองค์การ - ผลตอบแทนและสวัสดิการไม่ทำให้เกิดแรงจูงใจ - ปัญหาจากสาเหตุส่วนบุคคล Rujipas potongsangarun

44 ปัจจัยนำเข้า ผลผลิต กระบวนการผลิต
ความสัมพันธ์ของการศึกษางานกับการเพิ่มผลผลิต ปัจจัยนำเข้า ผลผลิต กระบวนการผลิต Man Machine Material Methods Production Quality Delivery Cost Safety Morale Rujipas potongsangarun

45 7.การตรวจสอบและการขนย้าย
การออกแบบระบบการควบคุมคุณภาพ ต้องพิจารณาตรวจสอบเฉพาะจุดที่มีความสำคัญของคุณภาพผลิตภัณฑ์ ตรวจสอบทุกองค์ประกอบจนกระทั่งคุณภาพเข้าใกล้ระดับ “ของเสียเป็นศูนย์” 8.เวลาส่วนเกินและเวลาไร้ประสิทธิภาพ เวลางาน 3 ประเภท ก.เวลาที่ใช้ในการผลิตจริง ข.เวลาที่เป็นเวลาส่วนเกิน ค.เวลาไร้ประสิทธิภาพ Rujipas potongsangarun

46 เวลาที่ใช้ในการผลิตจริง คือ เวลาที่ใช้ในการผลิตโดยปราศจาก ความสูญเสียเวลาทำงานด้วย สาเหตุใดใด
เวลาที่เป็นเวลาส่วนเกิน คือ เวลาที่ใช้ในการทำงานแต่ไม่เกิด ผลงานอะไร เป็นส่วนของงานที่ เกิดขึ้นเพราะความบกพร่องของ การทำงาน เวลาไร้ประสิทธิภาพ คือ เวลาที่ไม่ได้ทำอะไรและไม่ให้เกิดผล ผลิตใดๆในการดำเนินการผลิต Rujipas potongsangarun

47 เวลาส่วนเกิน & เวลาไร้ประสิทธิภาพ
เวลาประเภท “รอ” “หยุด” “หลบ” “หลีก” “เลี่ยง” การค้นพบเวลาไร้ประสิทธิภาพจึงเป็นการเพิ่มประสิทธิภาพ เพิ่มผลผลิต โดยไม่มีข้อโต้แย้ง เวลาส่วนเกินจากการออกแบบกระบวนการผลิตและผลิตภัณฑ์ การออกแบบกระบวนการผลิตที่ไม่เหมาะสม เกิดของเสียจากการผลิต ทำให้ทำงานเพิ่มขึ้นในการแก้ไข Rujipas potongsangarun

48 เวลาส่วนเกินเกิดจากวิธีการทำงานไม่ถูกต้อง
วิธีการทำงานที่มีเวลาส่วนเกินอยู่ทำให้ต้องทำงานมากได้งานน้อยหรือเท่าเดิม การทำงานที่ใช้เครื่องมือหรือเครื่องจักรที่ไม่ถูกต้อง การทำงานที่มีขั้นตอนซับซ้อน เวลาไร้ประสิทธิภาพเกิดจากความบกพร่องของฝ่ายการจัดการ การวางแผนงานที่บกพร่องทำให้เกิดการขาดแคลนแรงงาน วัสดุ และเครื่องมือเครื่องจักร Rujipas potongsangarun

49 เวลาไร้ประสิทธิภาพเกิดจากความบกพร่องของฝ่ายแรงงาน - การขาด ลา มาสาย
- ความเกียจคร้านในการทำงาน - การหลบงาน - การขาดความระมัดระวังในการทำงาน - การไม่รักษากฎเกณฑ์และกฎระเบียบด้านความปลอดภัย Rujipas potongsangarun

50 9.แหล่งที่ตั้งและรูปแบบของความสูญเสีย
แรงงาน (Man) วัสดุ (Material) เครื่องจักร (Machine) เงินทุน (Money) พลังงาน (Energy) สิ่งแวดล้อม (Environments) ข้อมูล(Information) พื้นที่ (Space) ค้นหาความสูญเสีย ทรัพยากรที่ใช้ในการผลิต รูปแบบของการสูญเสีย ค้นหาความสูญเสีย Rujipas potongsangarun

51 รูปแบบความสูญเสีย แรงงาน วัสดุ เครื่องจักร เงินทุน พลังงาน สิ่งแวดล้อม
ทำงานผิดวิธี เลี่ยงงาน หลบงาน ไม่รอบคอบ แรงงาน วัสดุ เครื่องจักร เงินทุน พลังงาน สิ่งแวดล้อม ข้อมูล พื้นที่ การจัดเก็บ การขนย้ายวัสดุ วัสดุเสื่อมสภาพ เครื่องจักรชำรุด เครื่องจักรขาดประสิทธิภาพ การควบคุมเงินไม่มีประสิทธิภาพ ขาดความรู้ด้านการจัดการพลังงาน ขาดการดูแลเอาใจใส่ เก็บข้อมูลที่ไม่เป็นประโยชน์ การใช้พื้นที่อย่างไม่เหมาะสม Rujipas potongsangarun

52 10.หลักของ 4 ศูนย์ หลักของการ ..ไม่ให้มี ไม่ให้เกิด..
ไม่มีในสิ่งที่ไม่ต้องการให้เกิด ของเสียเป็นศูนย์(Zero Defect) รอเป็นศูนย์ (Zero Delay) พัสดุคงคลังเป็นศูนย์(Zero Inventory) อุบัติเหตุเป็นศูนย์(Zero Accident) Rujipas potongsangarun

53 ก.สภาพแวดล้อมการทำงาน ข.การออกแบบสิ่งป้องกันเครื่องจักรและอุปกรณ์
สิ่งที่ต้องพิจารณาในการลดอุบัติเหตุ ก.สภาพแวดล้อมการทำงาน ข.การออกแบบสิ่งป้องกันเครื่องจักรและอุปกรณ์ ค.ความระมัดระวังของคนงาน ง.การระมัดระวังในการควบคุมดูแลพัสดุที่เป็นสารพิษ จ.การใช้กฎเคร่งครัดในการใช้อุปกรณ์ป้องกันภัย ฉ.การให้ความรู้แก่คนงานเกี่ยวกับอุบัติเหตุที่อาจเกิดขึ้น Rujipas potongsangarun

54 11.กิจกรรมกลุ่มที่เกี่ยวเนื่องกับการศึกษาการทำงาน
ช.การกำหนดจุดที่อันตราย ซ.การสร้างจิตสำนึกด้านความปลอดภัย ฌ.การเตรียมพร้อมด้านการผจญอุบัติภัย 11.กิจกรรมกลุ่มที่เกี่ยวเนื่องกับการศึกษาการทำงาน -กิจกรรมกลุ่มคุณภาพ -กิจกรรมกลุ่ม 5 ส -กิจกรรมกลุ่มการเสนอแนะ -กิจกรรมกลุ่มการเพิ่มผลผลิต -กิจกรรมกลุ่มการลดต้นทุน Rujipas potongsangarun

55 แผนภูมิก้างปลาวิเคราะห์สาเหตุของปัญหา
-กิจกรรมกลุ่มคุณภาพ เครื่องมือที่ใช้ในการวิเคราะห์ปัญหา ได้แก่ กราฟ แผนภูมิ ผังหรือไดอะแกรม แผนภูมิก้างปลาวิเคราะห์สาเหตุของปัญหา เทคนิคศึกษาการทำงานวิเคราะห์ค้นหาความสูญเสีย กำหนดแนวทางลดการสูญเสีย ปรับปรุงวิธีการทำงาน Rujipas potongsangarun

56 ฝ่ายจัดการ -ลดต้นทุน เพิ่มผลิตภาพ
12.ประโยชน์ของการใช้เทคนิคการศึกษาการทำงานในการเพิ่มผลผลิต กลุ่มบุคคล ฝ่ายจัดการ ลดต้นทุน เพิ่มผลิตภาพ พนักงาน มีขั้นตอนการทำงานที่สะดวก ง่าย และปลอดภัย เพิ่มผลิตภาพ ลูกค้าและผู้บริโภค -สินค้ามีคุณภาพในราคาที่ยุติธรรม การบริหารจัดการ -ระบบข้อมูลของกระบวนการทำงานที่ ถูกต้องได้มาตรฐานเพื่อใช้ประโยชน์ใน การพัฒนาและปรับปรุงองค์การ Rujipas potongsangarun

57 จบ Rujipas potongsangarun


ดาวน์โหลด ppt หลักการและแนวคิดที่ใช้ในการศึกษาการทำงาน

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google