ห้องผ่าตัด วิสัญญีและ ห้องคลอด

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การพัฒนาสุขภาพกลุ่มวัยทำงาน
Advertisements

ผลการดำเนินงาน ตามตัวชี้วัดระดับโรงพยาบาล ประจำปีงบประมาณ 2554
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
เครื่องชี้วัดคุณภาพ วัตถุประสงค์: เพื่อให้ผู้เรียน
ผลการดำเนินงาน ตามตัวชี้วัดระดับโรงพยาบาล ปีงบประมาณ 2555 เดือน กันยายน 2555 รวมทั้งสิ้น 61 ตัวชี้วัด.
ให้ความรู้ผู้ป่วยโรคไซนัสอักเสบ
ผู้รับผิดชอบ ผลผลิต ฝ่ายบริหารทั่วไป
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
ผลการปฏิบัติราชการ ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ กรมอนามัย ปีงบประมาณ พ
การประเมินผู้ป่วยบาดเจ็บศีรษะ
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
ผลการดำเนินงานต่อเนื่องของ service plan
รพ.พุทธมณฑล.
ประชุมMCH Board จังหวัดอุตรดิตถ์ ครั้งที่ ๒/๒๕๕๘ วันพฤหัสที่ ๑๘มิถุนายน ๒๕๕๘ ณ ห้องประชุมภูสอยดาว สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอุตรดิตถ์
การประเมินผลโครงการ คปสอ.คลองใหญ่.
1 2 ผลผลิต 2 โครงการพัฒนาความรู้ สารสนเทศ ด้านการบัญชี (PC1) หน่วย วัด แผนง าน ไตร มาส 3 แผนง าน ทั้งสิ้น ผลงา น ไตร มาส 3 ร้อยละ ไตร มาส 3 ร้อย ละ.
สำนักโรคติดต่อทั่วไป กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข.
ข้อที่เกณฑ์การประเมินการดำเนินงาน ข้อ 1 พัฒนาแผนกลยุทธ์จากผลการวิเคราะห์ SWOT โดยเชื่อมโยงกับวิสัยทัศน์ของคณะและ สอดคล้องกับวิสัยทัศน์ของคณะ สถาบัน.
1 ตัวชี้วัดที่ 10 ระดับความสำเร็จของการพัฒนา สมรรถนะของบุคลากร ตัวชี้วัดที่ 12 ระดับความสำเร็จของการพัฒนา ปรับปรุงวัฒนธรรมองค์การ หน่วยงานกำกับ : กองการเจ้าหน้าที่
แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ระบบบัญชี สุขภาพ (1-8) กุมภาพันธ์ 2558 สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดบุรีรัมย์
โครงการ ส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิม พระเกียรติ “ ส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิม พระเกียรติ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารี เนื่องในโอกาสฉลองพระชนมายุ
Service Plan 5 สาขาหลัก.
การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ(PMQA)
การเพิ่มประสิทธิภาพ ระบบบริหารจัดการความเสี่ยง
SP สาขาอุบัติเหตุและฉุกเฉิน
ตัวชี้วัดที่ 32 คะแนนเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักในการดำเนินงานเพื่อเสริมสร้างสมรรถนะด้านการบริหารทรัพยากรบุคคลของหน่วยงาน (HR Scorecard) โดย นายชัยณรงค์ บุรินทร์กุล.
จำนวนเตียงจำนวนผู้รับบริการ
COMPETENCY DICTIONARY
การประเมินมาตรฐาน งานระบาดวิทยา ปี 2549
ห้องผ่าตัด วิสัญญีและ ห้องคลอด
ข้อกำหนด/มาตรฐาน ด้านสุขาภิบาลอาหาร
ประสบการณ์การ การใช้ระบบติดตามผลการดำเนินงานในกลุ่มผู้ใช้ยา/สารเสพติด
สรุปแนวทางการดำเนินงานตามกลุ่มวัย
ตัวชี้วัดที่ 1 : อัตราส่วนการตายมารดาไทย ค่าเป้าหมายไม่เกิน 20 ต่อการเกิดมีชีพแสนราย เปรียบเทียบอัตราส่วนการตายมารดารายเขต ปี 2560 กับ 2561ในช่วงเวลาเดียวกัน.
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
การประเมินผลสัมฤทธิ์ของโครงการ
บัตรยิ้ม สร้างเสริมกำลังใจ
“การดูแลหญิงหลังคลอด และ ครอบครัวที่ติดเชื้อ เอช ไอ วี”
โครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพ องค์การบริหารส่วนตำบลท่าดินแดง
(ปัจจุบันไม่มียอดค้างชำระ)
กรมตรวจบัญชีสหกรณ์.
ศูนย์อนามัยที่ 5 ราชบุรี
บทที่ 4 การดูแลให้ได้รับการพักผ่อนและความปลอดภัย การจัดการสิ่งแวดล้อม การทำเตียง อ.กรวรรณ สุวรรณสาร.
ในช่วงเทศกาลสงกรานต์ พ.ศ.2560
ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จขององค์กรปกครอง
รพ.สต.สายใยรัก อำเภอสัตหีบ
การพัฒนาระบบการดูแลผู้รับบริการเพื่อตรวจรักษาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
พัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย (9 ตัว) กลุ่มเด็กปฐมวัย (๐-๕ ปี)/สตรี 1.อัตราส่วนการตายของมารดาไม่เกิน15ต่อการเกิดมีชีพแสนคน 2.ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัย.
ปี 2560 ปฏิทินการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส
กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ
ชาลิณี ปิยะประสิทธิ์ สปสช.เขต 10 อุบลราชธานี 21 กันยายน 2560
อัตราส่วนการตายมารดาไทย
คลินิกโรคติดเชื้อเด็ก โรงพยาบาลสรรพสิทธิประสงค์
ทิศทางการดำเนินงานลดโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD)
สรุปผลการดำเนินงานการใช้ยาอย่างสมเหตุผล (RDU) ไตรมาส 4 ปีงบประมาณ 2560
ขดลวดพยุงสายยาง.
การติดตาม (Monitoring)
ปัญหาและสาเหตุโดยย่อ
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
ศูนย์อนามัยที่ 8 อุดรธานี
การจัดการความรู้ สำนักชลประทานที่ 15
Service Profile :PCT ศัลยกรรม รพร.เดชอุดม
โดย จันทิมา อ่องประกฤษ ֆ คณะทำงานKPI
งานวิสัญญี รพร.เดชอุดม
Service Profile : ตึกศัลยกรรมกระดูก ความเสี่ยง/ความท้าทาย
การพัฒนาการทำแผล หอผู้ป่วยพิเศษร่มเย็น 4
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
MTRD 427 Radiation rotection - RSO
การเตรียมการตรวจประเมินตัวชี้วัด 3.4 Best Service
จุดเน้นในการพัฒนา/แผนพัฒนา ความเสี่ยง/ความท้าทาย
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ห้องผ่าตัด วิสัญญีและ ห้องคลอด สรุปผลการประเมิน ตัวชี้วัดของ งาน - วิสัญญี, ห้องผ่าตัดและ ห้องคลอด ไตรมาส 3 ปีงบประมาณ 2557 สุทธิพันธ์ ถนอมพันธ์ และตัวแทน QA. Nurse ห้องผ่าตัด วิสัญญีและ ห้องคลอด

มิติที่ 1 ด้านประสิทธิผลตามพันธกิจ งานวิสัญญี ผลการประเมินตัวชี้วัดคุณภาพ ทางการพยาบาล ปีงบประมาณ 2557 งานวิสัญญี งานห้องผ่าตัด และห้องคลอด มิติที่ 1 ด้านประสิทธิผลตามพันธกิจ งานวิสัญญี ร้อยละของแผนงาน/โครงการที่บรรลุตามเป้าหมาย เกณฑ์ ร้อยละ 100 การประเมินผล: NA

โครงการพัฒนาของหน่วยงาน วิสัญญี 1. การลดอุบัติการณ์ re-intubation 2. การ Time in –Time out ผู้ป่วยที่มาระงับความรู้สึกร่วมกับทีมผ่าตัด 3. การพัฒนางานบริการ Lean ในหญิงตั้งครรภ์ที่มารับคำปรึกษาเรื่องเกี่ยวกับการให้ยาระงับความรู้สึกขณะผ่าตัดคลอดทางหน้าท้องที่แผนกวิสัญญี (คลินิกระงับปวด)ก่อนวันนัดผ่าตัด 4. การพัฒนางานบริการ Lean ในผู้ป่วยโรคไตวายเรื้อรังที่มาผ่าตัด Tenckhoff แบบ OPD case 5. โครงการการพัฒนาเครื่องมือคัดกรองผู้ป่วย วัณโรคปอด ที่มารับบริการงานวิสัญญี 6. โครงการพัฒนาต่อเนื่องเรื่องการปฏิบัติ เพื่อป้องกันการแพร่กระจายเชื้อดื้อยา 7. โครงการให้คำแนะนำก่อนให้บริการวิสัญญี

มิติที่ 1 ด้านประสิทธิผลตามพันธกิจ งานห้องคลอด ร้อยละของแผนงาน/โครงการที่บรรลุตามเป้าหมาย เกณฑ์ ร้อยละ 100 การประเมินผล: NA -จัดโครงการพัฒนาแบบบันทึกการพยาบาล -สายใยรักแห่งครอบครัว -การพัฒนาเครื่องมือพร้อมใช้ และสร้าง 5 นวตกรรม

มิติที่ 1 ด้านประสิทธิผลตามพันธกิจ งานห้องผ่าตัด ร้อยละของแผนงาน/โครงการที่บรรลุตามเป้าหมาย เกณฑ์ ร้อยละ 100 การประเมินผล: NA -กำลังรวบรวมข้อมูล

มิติที่ 2 ด้านคุณภาพการให้บริการพยาบาล ตัวชี้วัดของงานห้องผ่าตัดและงานวิสัญญีที่ประเมินคล้ายกันคือ 2.1. ร้อยละของผู้ป่วยที่นัดผ่าตัด (elective case) ได้รับการประเมินปัญหาและเตรียมความพร้อมตามมาตรฐานก่อนผ่าตัด/วิสัญญี เกณฑ์ประเมิน ร้อยละ 100

2.1.1 ร้อยละของผู้ป่วยที่นัดผ่าตัดของงานห้องผ่าตัด ได้รับการประเมินปัญหาและเตรียมความพร้อมตามมาตรฐานก่อนผ่าตัด (12 โรครับประกัน) คะแนนที่ประเมิน Q2 ปี 2557 =ร้อยละ 94.33 ภาพรวม ปี 2556 =ร้อยละ 75.23 ภาพรวมปี 2555=ร้อยละ91.83 ภาพรวมปี 2554 =ร้อยละ93.17 กำลังรวบรวมข้อมูล Q3 ปี 2557

2.1.1 ร้อยละของผู้ป่วยที่นัดผ่าตัดของงานวิสัญญี ได้รับการประเมินปัญหาและเตรียมความพร้อมตามมาตรฐานก่อนผ่าตัด ภาพรวม ปี 2556 =ร้อยละ 100 ภาพรวมปี 2555 =ร้อยละ100 คะแนนที่ประเมิน ภาพรวมปี 2554 =ร้อยละ99.97 เดือน

หัวข้อที่ 2. ความปลอดภัยของผู้ใช้บริการ ผลการประเมินตัวชี้วัดคุณภาพทางการพยาบาล มิติที่ 2 ด้านคุณภาพการให้บริการพยาบาล งานห้องผ่าตัด หัวข้อที่ 2. ความปลอดภัยของผู้ใช้บริการ เกณฑ์ ร้อยละ 0 กำลังรวบรวมข้อมูล Q3 ปี 2557 Q2 พบว่ามีการดำเนินการดีไม่มีความเสี่ยงเกิดอุบัติการณ์ในตัวชี้วัดดังต่อไปนี้ - จำนวนอุบัติการณ์ความเสี่ยงจากการผ่าตัดผู้ป่วยผิดคน ผิดข้าง ผิดอวัยวะ - จำนวนอุบัติการณ์ความเสี่ยงอุปกรณ์ตกค้าง - จำนวนอุบัติการณ์ความเสี่ยงอุบัติเหตุที่ป้องกันได้หลังผ่าตัด - จำนวนอุบัติการณ์ความเสี่ยงผู้ป่วยลื่นล้ม - จำนวนอุบัติการณ์ความเสี่ยง Burn จากเครื่องจี้ไฟฟ้า และ จำนวนอุบัติการณ์ความเสี่ยงบาดเจ็บจากการผูกยึด

จำนวนอุบัติการณ์ความเสี่ยงจากการBurn จากเครื่องจี้ไฟฟ้า และ บาดเจ็บจากการผูกยึด การผ่าตัดผู้ป่วยผิดคน ผิดข้าง ผิดอวัยวะ อุปกรณ์ตกค้าง อุบัติเหตุที่ป้องกันได้หลังผ่าตัด คะแนนที่ประเมิน Q 2 ปี 2557 =ร้อยละ0 ภาพรวมปี 2554 =ร้อยละ0 ภาพรวม ปี 2556 =ร้อยละ 0 ภาพรวมปี 2555 =ร้อยละ0 เดือน

ร้อยละผู้ป่วยหลังผ่าตัดได้รับการประเมินอาการ และสอนการปฏิบัติตัวหลังผ่าตัด คะแนนที่ประเมิน Q2 ปี 2556 =ร้อยละ 94. ภาพรวม ปี 2556 =ร้อยละ 94.43 ภาพรวมปี 2555 =ร้อยละ87.62 ภาพรวมปี 2554 =ร้อยละ84.21 เดือน

ผลการประเมินตัวชี้วัดคุณภาพทางการพยาบาล มิติที่ 2 ด้านคุณภาพการให้บริการพยาบาล งานวิสัญญี หัวข้อที่ 2. ความปลอดภัยของผู้ใช้บริการ เกณฑ์ ร้อยละ 0 พบว่ามีการดำเนินการดีไม่มีความเสี่ยงเกิดอุบัติการณ์ในตัวชี้วัดดังต่อไปนี้ - จำนวนอุบัติการณ์การรักษาพยาบาลผู้ป่วยผิดคนในห้องพักฟื้น - ให้ยาระงับความรู้สึกผู้ป่วยผิดคน/ผิดข้าง - ความผิดพลาดในการให้เลือดและ/หรือส่วนประกอบของเลือด

จำนวนอุบัติการณ์การรักษาพยาบาลผู้ป่วยผิดคนในห้องพักฟื้น ให้ยาระงับความรู้สึกผู้ป่วยผิดคน/ผิดข้าง และความผิดพลาดในการให้เลือดและ/หรือส่วนประกอบของเลือด จำนวนครั้ง Q3 ปี 2557 =ร้อยละ 0 ภาพรวม ปี 2556 =ร้อยละ 0 ภาพรวม ปี 2555 =ร้อยละ 0 ภาพรวมปี 2554 =0 เดือน

จำนวนอุบัติการณ์การเกิดบาดเจ็บจาก การยึดตรึงผูกมัด จำนวนครั้ง Q3 ปี 2557 =ร้อยละ 0.07 ภาพรวม ปี 2556 =ร้อยละ 0 ภาพรวม ปี 2555 =ร้อยละ 0 ภาพรวมปี 2554 =0 เดือน

จำนวนอุบัติการณ์การเกิดภาวะแทรกซ้อน จากการเกิด high/ total spinal block , จำนวนครั้ง Q 3 ปี 2557 =ร้อยละ 0 ภาพรวม ปี 2556 =4 ราย ร้อยละ 7.9 ภาพรวมปี 2555 = 2 ภาพรวมปี 2554 = 0 เดือน

จำนวนอุบัติการณ์การเกิดภาวะแทรกซ้อน จากการใส่ E.T.ใส่เข้าท้องและเกิด De-saturation SpO2 < 90% จำนวนครั้ง Q3 ปี 2557 =ร้อยละ 0 ภาพรวม ปี 2556 =4 ราย ร้อยละ 7.9 ภาพรวมปี 2555 = 2 ภาพรวมปี 2554 = 0 เดือน

จำนวนอุบัติการณ์การพลัดตกหกล้ม Q3 ปี 2557 =ร้อยละ 0 จำนวนครั้ง Q2 ปี 2557 =ร้อยละ 20.6 ภาพรวม ปี 2556 =ร้อยละ 0 ภาพรวม ปี 2554 และ2555 =ร้อยละ 0 เดือน

จำนวนอุบัติการณ์การเกิดภาวะแทรกซ้อน จากการใส่ E.T. : dental injury Q3 ปี 2557 =ร้อยละ 9.32 จำนวนครั้ง ภาพรวม ปี 2556 =ร้อยละ 0 ภาพรวมปี 2555 = 2 เดือน

จำนวนอุบัติการณ์ความผิดพลาด ในการบริหารยา จำนวนอุบัติการณ์ความผิดพลาด ในการบริหารยา ร้อยละ Q3 ปี 2557 =ร้อยละ 0 ภาพรวม ปี 2556 =ร้อยละ 2.2 ภาพรวมปี 2554 =8 ภาพรวม ปี 2555 = 4 เดือน

จำนวนอุบัติการณ์การเกิด Aspiration pneumonia/lung atelactasis ร้อยละ Q3ปี 2557 =ร้อยละ 0 ภาพรวมปี 2554 = 4 ภาพรวม ปี 2556 = 0 ภาพรวม ปี 2555 = ร้อยละ 2 เดือน

จำนวนอุบัติการณ์แพ้ยา anaphylaxis reaction Q3 ปี 2557 =ร้อยละ 0 ร้อยละ Q1 ปี 2557 =ร้อยละ2.19 ภาพรวม ปี 2556 =ร้อยละ 0.55 ภาพรวมปี 2555 = ร้อยละ0 เดือน

จำนวนอุบัติการณ์ผู้ป่วยเสียชีวิตในห้องผ่าตัดเนื่องจาก การให้บริการทางวิสัญญีภายใน 24 ชั่วโมงหลังรับบริการ Q3 ปี 2557 =ร้อยละ 27.76 Q1 ปี 2557 =ร้อยละ 5 ร้อยละ ภาพรวม ปี 2556 = 56 ราย ร้อยละ 28.78 ภาพรวมปี 2555= 2 ราย ภาพรวมปี 2554 = 26 ราย เดือน

ร้อยละของผู้ป่วยได้รับการเฝ้าระวังตามมาตรฐาน การดูแลในห้องพักฟื้น* Q3 ปี 2557 =ร้อยละ 93.23 Q1 ปี 2557 =ร้อยละ 90.5 ร้อยละ ภาพรวม ปี 2556 =ร้อยละ 97.72 ภาพรวมปี 2555 = ร้อยละ 95.61 ภาพรวมปี 2554 = ร้อยละ 95.45 เดือน

ร้อยละของผู้ป่วยที่ย้ายออกจากห้องพักฟื้นมี ความพร้อมตามเกณฑ์บ่งชี้ ร้อยละของผู้ป่วยที่ย้ายออกจากห้องพักฟื้นมี ความพร้อมตามเกณฑ์บ่งชี้ Q3 ปี 2557 =ร้อยละ 99.63 ร้อยละ ภาพรวม ปี 2556 =ร้อยละ 97.3 ภาพรวมปี 2555 = ร้อยละ98.43 ภาพรวมปี 2554 = ร้อยละ 96.2ครั้ง เดือน

ร้อยละของผู้ป่วยได้รับการเยี่ยมหลังใช้บริการ พยาบาลวิสัญญี Q3 ปี 2557 =ร้อยละ 100 ร้อยละ Q1 ปี 2557 =ร้อยละ 100 ภาพรวม ปี 2556 =ร้อยละ 100 ภาพรวมปี 2555 = ร้อยละ 100 ภาพรวมปี 2554 = ร้อยละ 100 เดือน

งานห้องคลอด มิติที่ 2 ด้านคุณภาพการให้บริการพยาบาล 2.2 บริการคลอด

งานห้องคลอด มิติที่ 2 ด้านคุณภาพการให้บริการพยาบาล งานห้องคลอด มิติที่ 2 ด้านคุณภาพการให้บริการพยาบาล 2.2 บริการคลอด พบว่ามีการดำเนินการดีไม่มีความเสี่ยงเกิดอุบัติการณ์ในตัวชี้วัดดังต่อไปนี้ - - จำนวนอุบัติการณ์ รักษาพยาบาลผู้ป่วยผิดคน - จำนวนอุบัติการณ์ ผิดพลาดในการบริหารยา

งานห้องคลอด มิติที่ 2 ด้านคุณภาพการให้บริการพยาบาล 2.2 บริการคลอด พบว่ามีการดำเนินการดีไม่มีความเสี่ยงเกิดอุบัติการณ์ในตัวชี้วัดดังต่อไปนี้ - จำนวนอุบัติการณ์ ผู้ใช้บริการบาดเจ็บจากการจัดท่า การผูกยึดอุปกรณ์ - จำนวนอุบัติการณ์การพลัดตกหกล้ม -จำนวนอุบัติการณ์ ความผิดพลาดในการให้เลือดและ/หรือส่วนประกอบของเลือดและการใช้เครื่องมือ/

จำนวนอุบัติการณ์รักษาพยาบาลผู้ป่วยผิดคน บาดเจ็บจากการจัดท่า การผูกยึดอุปกรณ์ พลัดตกหกล้ม และความผิดพลาดในการให้เลือดและ/หรือส่วนประกอบของเลือด คะแนนที่ประเมิน ไตรมาส 3 ปี 2557= 0 ภาพรวม ปี 2555= 0 ภาพรวม ปี 2556 = 0 เดือน

จำนวนอุบัติการณ์มดลูกปลิ้น Q3 ปี 2557 = 0 ราย คะแนนที่ประเมิน ภาพรวม ปี 2556 = 0 ราย ภาพรวม ปี 2555 = 1 ราย ภาพรวม ปี 2554 = 0 ราย เดือน

จำนวนอุบัติการณ์ผิดพลาด ในการบริหารยา Q3 ปี 2557= 8.65 = 6 ราย Q1 ปี 2557 = ร้อยละ 3 ภาพรวม ปี 2556 = 11 ราย = ร้อยละ 4.3 ร้อยละ (คะแนนที่ประเมิน) ภาพรวม ปี 2555 = 9 ราย เดือน

จำนวนอุบัติการณ์ Uteri-Rupture Q3ปี 2557 = 0 ราย ร้อยละ 0 ร้อยละ (คะแนนที่ประเมิน) ภาพรวม ปี 2556 = 2 ราย ร้อยละ 0.06 ภาพรวม ปี 2555= 2 ราย เดือน

จำนวนอุบัติการณ์เกิด การคลอดนอกห้องคลอด ราย Q 3 ปี 2557 = 1 ราย Q 1 ปี 2557 = 1 ราย ภาพรวม ปี 2556 = 9 ราย ร้อยละ 0.28 ภาพรวมปี 2555 = 1 ราย เดือน

จำนวนอุบัติการณ์เกิด Hematoma บริเวณแผลฝีเย็บ ราย Q 3 ปี 2557 = 0 ราย Q 1 ปี 2557 = 2 ราย ภาพรวม ปี 2556 = 2 ราย ร้อยละ 0.12 ภาพรวม ปี 2555 = 1ราย เดือน

จำนวนอุบัติการณ์เกิด Tear Rectum Q 3 ปี 2557 = 3 ราย ราย Q 1 ปี 2557 = 3 ราย ภาพรวม ปี 2556 = 8 ราย ร้อยละ 0.41 ภาพรวม ปี 2555 = 8ราย ภาพรวม ปี 2554 = 6ราย เดือน

จำนวนอุบัติการณ์เกิดการตกเลือดหลังคลอด (Post partum Haemorrhage) เนื่องจากรกค้าง/หรือมดลูกหดรัดตัวไม่ดี* ราย Q 3 ปี 2557 = 13 ราย Q 1 ปี 2557 = 12 ราย ภาพรวมปี 2556= 27 ราย ร้อยละ 0.98 ภาพรวม ปี 2555 = 39 ราย ภาพรวม ปี 2554 = 27 ราย เดือน

จำนวนอุบัติการณ์เกิดทารกบาดเจ็บจาก กระบวนการคลอด ราย Q 3 ปี 2557 = 5 ราย Q 1 ปี 2557 = 4 ราย ภาพรวม ปี 2556= 16 ราย ร้อยละ 6.16 ภาพรวม ปี 2555 = 23 ราย เดือน

จำนวนอุบัติการณ์เกิดภาวะขาด O2 เนื่องจาก Birth Asphyxia ราย Q3 ปี 2557 = 33 ราย Q 1 ปี 2557 = 47 ราย ภาพรวม ปี 2556 = 165 ราย ร้อยละ 50.8 ภาพรวม ปี 2555 = 179 ราย ภาพรวม ปี 2554 = 108ราย เดือน

จำนวนอุบัติการณ์เกิดการระบุทารกผิด และ/หรือส่งให้มารดาผิดคน ราย Q 3 ปี 2557 = 0 ราย ภาพรวม ปี 2556 = 12 ราย ร้อยละ 2.28 ภาพรวม ปี 2555 = 6 ราย ภาพรวม ปี 2554 = 9 ราย เดือน

จำนวนอุบัติการณ์เกิดการระบุตัวผิด Q 3 ปี 2557 = 1 ราย ราย ภาพรวม ปี 2556 = 17 ราย ร้อยละ 2.74 ภาพรวม ปี 2555 = 0 ราย เดือน

พบว่าหน่วยงาน ห้องคลอดและงานวิสัญญี ไม่พบข้อร้องเรียนในหัวข้อดังนี้ ผลการประเมินตัวชี้วัดคุณภาพทางการพยาบาล มิติที่ 2 ด้านคุณภาพการให้บริการพยาบาล 3 การร้องเรียนของผู้ใช้บริการ เกณฑ์ประเมิน ร้อยละ 0 พบว่าหน่วยงาน ห้องคลอดและงานวิสัญญี ไม่พบข้อร้องเรียนในหัวข้อดังนี้ 2.3.1 จำนวนข้อร้องเรียนเกี่ยวกับการละเมิดสิทธิของผู้ใช้บริการ

จำนวนข้อร้องเรียนเกี่ยวกับพฤติกรรมบริการของบุคลากร (งานห้องคลอด) คะแนนที่ประเมิน Q 3 ปี 2557 = 1 ราย ภาพรวม ปี 2556 =1 ราย ภาพรวม ปี 2555= 5 ราย เดือน

จำนวนข้อร้องเรียนเกี่ยวกับพฤติกรรมบริการของบุคลากร (งานวิสัญญี) คะแนนที่ประเมิน Q3 ปี 2557 =ร้อยละ 0 ภาพรวม ปี 2555= 1 ราย ภาพรวม ปี 2556 =0 ราย เดือน

ผลการประเมินตัวชี้วัดคุณภาพทางการพยาบาล มิติที่ 2 ด้านคุณภาพการให้บริการพยาบาล งานห้องผ่าตัด งานห้องคลอดและงานวิสัญญี 3 การร้องเรียนของผู้ใช้บริการ เกณฑ์ ร้อยละ 100 2.3.3 ร้อยละของการแก้ไข และ/หรือการตอบกลับข้อร้องเรียนของผู้ใช้บริการ

ร้อยละของการแก้ไข และ/หรือการตอบกลับ ข้อร้องเรียนของผู้ใช้บริการ (งานห้องคลอด) Q 3 ปี 2557 = ร้อยละ 100 คะแนนที่ประเมิน ภาพรวม ปี 2556= ร้อยละ 100 ภาพรวม ปี 2555= ร้อยละ 100 เดือน

ผลการประเมินตัวชี้วัดคุณภาพทางการพยาบาล มิติที่ 2 ด้านคุณภาพการให้บริการพยาบาล 4. ร้อยละความพึงพอใจของผู้ใช้บริการต่อบริการพยาบาล เกณฑ์ : ร้อยละ 100

ร้อยละความพึงพอใจของผู้ใช้บริการ ต่อบริการพยาบาล (ปีงบประมาณ 2556) คะแนนที่ประเมิน 86.26 79.6 UNIT

ร้อยละความพึงพอใจของผู้ใช้บริการ ต่อบริการพยาบาล (ปีงบประมาณ 2557) คะแนนที่ประเมิน 86.26 79.6 UNIT กำลังรวบรวมข้อมูล Q3 ปี 2557

ผลการประเมินตัวชี้วัดคุณภาพทางการพยาบาล งานวิสัญญี มิติที่ 3 ด้าน ประสิทธิภาพของการปฏิบัติการพยาบาล เกณฑ์ ไม่เกินร้อยละ 100 พบว่ามีการดำเนินการดี ไม่พบอุบัติการณ์ในหัวข้อ 3.2 จำนวนยา/เวชภัณฑ์/อุปกรณ์ทางการแพทย์หมดอายุเหลือค้าง 3.3. จำนวนอุบัติการณ์การเลื่อนผ่าตัดเนื่องจาก ความไม่พร้อมของทีมวิสัญญี  

ผลการประเมินตัวชี้วัดคุณภาพทางการพยาบาล งานวิสัญญี มิติที่ 3 ด้าน ประสิทธิภาพของการปฏิบัติการพยาบาล เกณฑ์ ร้อยละ 100 5. ร้อยละของบุคลากรทางการพยาบาลปฏิบัติการพยาบาลโดยใช้กระบวนการพยาบาลได้ถูกต้อง   5.1อัตราความครบถ้วนสมบูรณ์ของแบบบันทึกทางการพยาบาล*

จำนวนยา/เวชภัณฑ์/อุปกรณ์ทางการแพทย์ หมดอายุ พบเหลือค้างในหน่วยงาน Q3 ปี 2557 =ร้อยละ 0 ร้อยละ ภาพรวม ปี 2556 = ร้อยละ 0 ภาพรวมปี 2555 = 1 ราย ภาพรวมปี 2554 = 0 ราย เดือน

จำนวนการเลื่อนผ่าตัดเนื่องจากความไม่พร้อม ของทีมวิสัญญี Q3 ปี 2557 =ร้อยละ 0 ร้อยละ ภาพรวม ปี 2556 = ร้อยละ 0 ภาพรวมปี 2555 = 0 ราย ภาพรวมปี 2554 = 0 ราย เดือน

จำนวนผลิตภาพ (Productivity) ของหน่วยงานวิสัญญีอยู่ในเกณฑ์* Q2 ปี 2557 =ร้อยละ 139 Q1 ปี 2557 =ร้อยละ 139. จำนวนร้อยละ ภาพรวม ปี 2556 = ร้อยละ 104 ภาพรวมปี 2555 = ร้อยละ 112.80 ภาพรวมปี 2554 = ร้อยละ 102.51 เดือน กำลังรวบรวมข้อมูล Q3 ปี 2557

จำนวนผลิตภาพ (Productivity) ของหน่วยงานห้องคลอดอยู่ในเกณฑ์* Q 3 ปี 2557 = ร้อยละ 131.01 Q 1 ปี 2557 = ร้อยละ 125 จำนวนร้อยละ ภาพรวม ปี 2556 = ร้อยละ 110.49 ภาพรวมปี 2555 = ร้อยละ 112.80 ภาพรวมปี 2554 = ร้อยละ 102.51 เดือน

ร้อยละของบุคลากรทางการพยาบาลของห้องคลอด ปฏิบัติตาม CPG Q 3 ปี 2557 = ร้อยละ 95 คะแนนที่ประเมิน ภาพรวม ปี 2556 = ร้อยละ 95 ภาพรวมปี 2555 = ร้อยละ 100 ภาพรวมปี 2554 = ร้อยละ 93.84 เดือน

ร้อยละของบุคลากรทางการพยาบาลหน่วยงานวิสัญญีปฏิบัติตาม CPG Q3 ปี 2557 =ร้อยละ 100 คะแนนที่ประเมิน ภาพรวม ปี 2556 = ร้อยละ 100 ภาพรวมปี 2555 = ร้อยละ 100 ภาพรวมปี 2554 = ร้อยละ 93.84 เดือน

คะแนนที่ประเมิน(ร้อยละ) อัตราการเตรียมเครื่องดมยาตามมาตรฐาน* Q3 ปี 2557 =ร้อยละ 98.62 Q1 ปี 2557 =ร้อยละ 94.62 คะแนนที่ประเมิน(ร้อยละ) ภาพรวมปี 2556 = ร้อยละ 96.2 ภาพรวมปี 2555 = ร้อยละ 95.78 ภาพรวมปี 2554 = ร้อยละ 94.85 เดือน

อัตราการเตรียมรถเตรียมยาครบตามมาตรฐาน* Q3 ปี 2557 =ร้อยละ 96.59 Q1 ปี 2557 =ร้อยละ 97.74 คะแนนที่ประเมิน (ร้อยละ) ภาพรวม ปี 2556 = ร้อยละ 97.72 ภาพรวมปี 2555 = ร้อยละ 95.30 ภาพรวมปี 2554 = ร้อยละ 94.85 เดือน

อัตราร้อยละความครบถ้วนสมบูรณ์ของแบบบันทึกทางการพยาบาล* Q3 ปี 2557 =ร้อยละ 100 Q1 ปี 2557 =ร้อยละ 99.35 คะแนนที่ประเมิน (ร้อยละ) ภาพรวม ปี 2556 = ร้อยละ 99.41 ภาพรวมปี 2555= ร้อยละ 84.50 ภาพรวมปี 2554 = ร้อยละ 81.2 เดือน

ผลการประเมินตัวชี้วัดคุณภาพทางการพยาบาล งานห้องคลอด มิติที่ 3 ด้าน ประสิทธิภาพของการปฏิบัติการพยาบาล พบว่ามีการดำเนินการดีไม่พบอุบัติการณ์ใน หัวข้อ 3.2 จำนวนยา/เวชภัณฑ์/อุปกรณ์ทางการแพทย์หมดอายุเหลือค้างและใน หัวข้อ 4.1 ร้อยละของบุคลากรทางการพยาบาลปฏิบัติตาม CPG และ 4.2 ปฏิบัติการพยาบาลโดยใช้กระบวนการพยาบาลได้ถูกต้อง เมื่อประเมินแล้ว มีการปฏิบัติร้อยละ 100  

จำนวนยา/เวชภัณฑ์/อุปกรณ์ทางการแพทย์หมดอายุเหลือค้าง Q 3 ปี 2557 = 0 ภาพรวม ปี 2556= 0 ภาพรวมปี 2555 =0 ภาพรวมปี 2554 = 0 เดือน

ร้อยละของบุคลากรทางการพยาบาล ปฏิบัติตาม CPG Q 3 ปี 2557 = ร้อยละ 95 คะแนนที่ประเมิน ภาพรวม ปี 2556= ร้อยละ 95 ภาพรวมปี 2555 = ร้อยละ 95 ภาพรวมปี 2554 = ร้อยละ 80 เดือน

ร้อยละของบุคลากรทางการพยาบาลปฏิบัติการพยาบาลโดยใช้กระบวนการพยาบาลได้ถูกต้อง Q 3 ปี 2557 = ร้อยละ 100 คะแนนที่ประเมิน ภาพรวม ปี 2556=ร้อยละ 100 ภาพรวมปี 2555 = ร้อยละ 100 ภาพรวมปี 2554 = ร้อยละ 100 เดือน

ผลการประเมินตัวชี้วัดคุณภาพทางการพยาบาล งานห้องงานผ่าตัด มิติที่ 3 ด้าน ประสิทธิภาพของการปฏิบัติการพยาบาล กำลังรวบรวมข้อมูล Q3 ปี 2557 พบว่ามีโอกาสพัฒนาในการรวบรวมข้อมูลข้อตัวชี้วัดดังต่อไปนี้ 3.1 ผลิตภาพ (Productivity) 3.2 จำนวนยา/เวชภัณฑ์/อุปกรณ์ทางการแพทย์ หมดอายุเหลือค้าง  

ผลการประเมินตัวชี้วัดคุณภาพทางการพยาบาล งานห้องผ่าตัด มิติที่ 3 ด้าน ประสิทธิภาพของการปฏิบัติการพยาบาล เกณฑ์ ร้อยละ 100 4. ร้อยละของบุคลากรทางการพยาบาลปฏิบัติตาม CPG พบว่ามีการดำเนินการดีประเมินได้คะแนน ร้อยละ 100 ในหัวข้อต่อไปนี้ - ผู้ป่วยได้รับการทำความสะอาดคราบเลือดบริเวณรอบ แผลผ่าตัดก่อนสวมเสื้อผ้า - ผู้ป่วยได้รับการรักษาความอบอุ่นร่างกายก่อน เคลื่อนย้าย - ผู้ป่วยได้รับการจัดส่งชิ้นเนื้อตามแผนการรักษา  

5.1 อัตราผู้ป่วยได้รับการบันทึกการพยาบาลขณะผ่าตัดเพื่อส่งต่อ ผลการประเมินตัวชี้วัดคุณภาพทางการพยาบาล งานห้องผ่าตัด มิติที่ 3 ด้าน ประสิทธิภาพของการปฏิบัติการพยาบาล เกณฑ์ ร้อยละ 100 กำลังรวบรวมข้อมูล Q3 ปี 2557 5. ร้อยละของบุคลากรทางการพยาบาลปฏิบัติการพยาบาลโดยใช้กระบวนการพยาบาลได้ถูกต้อง   5.1 อัตราผู้ป่วยได้รับการบันทึกการพยาบาลขณะผ่าตัดเพื่อส่งต่อ

จำนวนอุบัติการณ์การเลื่อนผ่าตัด เนื่องจากแพทย์ Q2 ปี 2556 = ร้อยละ 4.56 คะแนนที่ประเมิน ภาพรวม ปี 2556 = ร้อยละ 5.27 ภาพรวมปี 2555 = ร้อยละ 3.17 ภาพรวมปี 2554 = ร้อยละ 2.82 เดือน

จำนวนอุบัติการณ์การเลื่อนผ่าตัด เนื่องจากความไม่พร้อมของผู้ป่วย Q2 ปี 2557 = ร้อยละ 3.32 คะแนนที่ประเมิน ภาพรวม ปี 2556 = ร้อยละ 5.71 ภาพรวมปี 2555 = ร้อยละ 3.84 ภาพรวมปี 2554 = ร้อยละ 3.62 เดือน

จำนวนอุบัติการณ์การเลื่อนผ่าตัด เนื่องจากอุปกรณ์เครื่องมือและห้องผ่าตัดไม่พร้อม คะแนนที่ประเมิน ภาพรวมปี 2554 = ร้อยละ 0.06 ภาพรวม ปี 2555 = ร้อยละ 0.03 ภาพรวม ปี 2556 = ร้อยละ 0 Q2 ปี 2557 = ร้อยละ 0 เดือน

ร้อยละของบุคลากรทางการพยาบาลปฏิบัติตาม CPG ผู้ป่วยได้รับการทำความสะอาดคราบเลือดบริเวณรอบแผลผ่าตัดก่อนสวมเสื้อผ้า คะแนนที่ประเมิน Q2 ปี 2557 = ร้อยละ 99.96 ภาพรวม ปี 2556 = ร้อยละ 100 ภาพรวม ปี 2555 = ร้อยละ 99.95 เดือน

ร้อยละของบุคลากรทางการพยาบาลปฏิบัติตาม CPG ผู้ป่วยได้รับการรักษาความอบอุ่นร่างกายก่อนเคลื่อนย้าย คะแนนที่ประเมิน Q2 ปี 2557 = ร้อยละ 100 ภาพรวม ปี 2556 = ร้อยละ 100 ภาพรวม ปี 2555 = ร้อยละ 99.21 เดือน

ร้อยละของบุคลากรทางการพยาบาลปฏิบัติตาม CPG ผู้ป่วยได้รับการจัดส่งชิ้นเนื้อตามแผนการรักษา คะแนนที่ประเมิน Q2 ปี 2557 = ร้อยละ 100 ภาพรวม ปี 2556 = ร้อยละ 100 ภาพรวม ปี 2555 = ร้อยละ 100 เดือน

ร้อยละของบุคลากรทางการพยาบาลปฏิบัติตาม CPG ผู้ป่วยได้รับการสวมเสื้อผ้าสะอาดก่อนเคลื่อนย้ายออกจากห้องผ่าตัด Q2 ปี 2557 = ร้อยละ 99.96 คะแนนที่ประเมิน ภาพรวม ปี 2556 = ร้อยละ 99.81 ภาพรวม ปี 2555 = ร้อยละ 99.95 ภาพรวมปี 2554 = ร้อยละ 99.98 เดือน

ร้อยละของบุคลากรทางการพยาบาลปฏิบัติตาม CPG ถุงรองรับน้ำปัสสาวะและขวด RDอยู่ในตำแหน่ง ที่เหมาะสม Q2 ปี 2557 = ร้อยละ 98.92 ภาพรวม ปี 2556 = ร้อยละ 98.92 คะแนนที่ประเมิน ภาพรวม ปี 2555 = ร้อยละ 98.68 ภาพรวมปี 2554 = ร้อยละ 98.93 เดือน

ร้อยละของบุคลากรทางการพยาบาลปฏิบัติการพยาบาลโดยใช้กระบวนการพยาบาลได้ถูกต้อง อัตราผู้ป่วยได้รับการบันทึกการพยาบาลขณะผ่าตัดเพื่อส่งต่อ คะแนนที่ประเมิน Q2 ปี 2557 = ร้อยละ 96.52 ภาพรวม ปี 2556 = ร้อยละ 97.09 ภาพรวมปี 2555 = ร้อยละ 96.57 ภาพรวมปี 2554 = ร้อยละ 97.39 เดือน

ผลการประเมินตัวชี้วัดคุณภาพทางการพยาบาล งานวิสัญญี มิติที่ 4 ด้าน การพัฒนาองค์กร เกณฑ์ ร้อยละ 100 ตัวชี้วัดในหัวข้อดังนี้ - ร้อยละของบุคคลากรทางการพยาบาลได้รับการอบรมเกี่ยวข้องกับงานที่รับผิดชอบ เฉลี่ยอย่างน้อย 10 วันคน/ปี - ร้อยละของบุคลากรทางการพยาบาลได้รับการอบรมฟื้นฟูทักษะการช่วยฟื้นคืนชีพขั้นพื้นฐานอย่างน้อย 1 ครั้ง/คน/ปี (CPR advanced program)

ร้อยละของบุคลากรทางการพยาบาลได้รับการอบรมฟื้นฟูทักษะการช่วยฟื้นคืนชีพขั้นadvanced program อย่างน้อย 1 ครั้ง/คน/ปี ภาพรวม ปี 2556 = ร้อยละ 100 คะแนนที่ประเมิน (ร้อยละ) ภาพรวมปี 2554 =ร้อยละ 92 ภาพรวมปี 2555 =ร้อยละ 98 เดือน

ร้อยละของบุคลากรทางการพยาบาลมีสมรรถนะ ตามเกณฑ์ที่กำหนด (งานวิสัญญี) Q3 ปี 2557 =ร้อยละ 100 คะแนนที่ประเมิน ภาพรวม ปี 2556 = ร้อยละ 100 ภาพรวมปี 2554 =ร้อยละ 100 ภาพรวมปี 2555 =ร้อยละ 100 เดือน

จำนวนอุบัติการณ์การเกิดอุบัติเหตุจากการปฏิบัติงานของบุคลากรทางการพยาบาล(งานวิสัญญี) Q3 ปี 2557 =ร้อยละ 0 จำนวนครั้ง ภาพรวมปี 2555 =5 ภาพรวม ปี 2556 = 1 ราย ร้อยละ 0.55 ภาพรวมปี 2554 = 0 เดือน

ผลการประเมินตัวชี้วัดคุณภาพทางการพยาบาล งานห้องคลอด มิติที่ 4 ด้าน การพัฒนาองค์กร เกณฑ์ ร้อยละ 100 พบว่ามีการดำเนินงานในข้อตัวชี้วัดดังต่อไปนี้ - ร้อยละของบุคคลากรทางการพยาบาลได้รับการอบรมเกี่ยวข้องกับงานที่รับผิดชอบ เฉลี่ยอย่างน้อย 10 วันคน/ปี - ร้อยละของบุคลากรทางการพยาบาลได้รับการอบรมฟื้นฟูทักษะการช่วยฟื้นคืนชีพขั้นพื้นฐานอย่างน้อย 1 ครั้ง/คน/ปี หน่วยงานกำลังดำเนินการตามแผนปีงบประมาณ 2557

ร้อยละของบุคลากรทางการพยาบาลมีสมรรถนะ ตามเกณฑ์ที่กำหนด (งานห้องคลอด) คะแนนที่ประเมิน Q 3 ปี 2557 = ร้อยละ 95 ภาพรวม ปี 2556 = ร้อยละ 95 ภาพรวม ปี 2555 = ร้อยละ 90 ภาพรวม ปี 2554 = ร้อยละ 90 เดือน

จำนวนอุบัติการณ์การเกิดอุบัติเหตุจากการปฏิบัติงานของบุคลากรทางการพยาบาล(ห้องคลอด) Q3 ปี 2557 = 1 ราย คะแนนที่ประเมิน (ราย) ภาพรวม ปี 2556 = 4 ราย ภาพรวมปี 2555 = 0 ภาพรวมปี 2554 = 2 เดือน

ผลการประเมินตัวชี้วัดคุณภาพทางการพยาบาล หน่วยงานห้องผ่าตัด มิติที่ 4 ด้าน การพัฒนาองค์กร กำลังรวบรวมข้อมูล Q3 ปี 2557 Q.2 พบว่ามีโอกาสพัฒนาในการรวบรวมข้อมูลข้อตัวชี้วัดดังต่อไปนี้ - จำนวนอุบัติการณ์การเกิดอุบัติเหตุจากการปฏิบัติงานของบุคลากรทางการพยาบาล** - ร้อยละของบุคลากรทางการพยาบาลมีสมรรถนะตามเกณฑ์ที่กำหนด - ร้อยละของบุคคลากรทางการพยาบาลได้รับการอบรมเกี่ยวข้องกับงานที่รับผิดชอบ เฉลี่ยอย่างน้อย 10 วันคน/ปี - ร้อยละของบุคลากรทางการพยาบาลได้รับการอบรมฟื้นฟูทักษะการช่วยฟื้นคืนชีพขั้นพื้นฐานอย่างน้อย 1 ครั้ง/คน/ปี

จำนวนอุบัติการณ์การเกิดอุบัติเหตุจากการปฏิบัติงานของบุคลากรโรงพยาบาล(ห้องผ่าตัด) Q 1-2 ปี 2557 = 3 ราย คะแนนที่ประเมิน (ราย) ภาพรวม ปี 2556 = 4 ราย ภาพรวมปี 2555 = 0 ภาพรวมปี 2554 = 2 เดือน