ภาพรวมการพัฒนาสู่สังคมคาร์บอนต่ำ ระดับโลก ระดับประเทศ ระดับท้องถิ่น ระดับโรงเรียน และตัวอย่างปฏิบัติการมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่ำ โครงการพัฒนาการจัดการศึกษาโรงเรียนในสังกัดเทศบาลเมืองทุ่งสง ก้าวสู่สังคมคาร์บอนต่ำ
การเพิ่มขึ้นของระดับความเข้มข้นของคาร์บอนไดออกไซด์จนมาถึงระดับปัจจุบัน ได้ส่งผลโดยตรงต่อการเพิ่มขึ้นของอุณหภูมิของโลก โดยอุณหภูมิเฉลี่ยของโลกได้เพิ่มขึ้นแล้ว 0.85 องศาเซลเซียส เทียบจากช่วงก่อนยุคอุตสาหกรรม
โลกร้อนขึ้น แล้วเราเดือดร้อนอะไร? โลกร้อนขึ้น แล้วเราเดือดร้อนอะไร? ฝนแรง ถี่ และปริมาณมากขึ้น โรคติดต่อระบาดหนัก จากภัยธรรมชาติ (Hazard) กลายเป็นหายนะ (Disaster)! ร้อนจนคนทนไม่ได้
มนุษย์เราจะตกอยู่ในภาวะ...เงินเต็มกระเป๋า แต่ไม่มีอาหารจะกิน!
ข้อตกลงและโครงการรณรงค์ระดับนานาชาติ... ที่เกี่ยวข้องกับท้องถิ่น ข้อตกลงของ 150 ประเทศจะร่วมมือกันในการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกให้ได้ในปี ค.ศ 2020 (พ.ศ. 2563) และพยายามควบคุมมิให้อุณหภูมิของโลกมิให้เพิ่มขึ้นเกิน 1.5 - 2.0 องศาเซลเซียสเทียบก่อนยุคอุตสาหกรรม โครงการรณรงค์ให้ผู้บริหารเมืองในระดับท้องถิ่น รวมถึงเจ้าหน้าที่ภาครัฐในระดับประเทศแสดงบทบาทร่วมกัน เพื่อสร้างเมืองปลอดภัยจากภัยพิบัติ ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของการสร้างเมืองอย่างยั่งยืน กรอบการดำเนินงานเซนไดเพื่อการลดความเสี่ยงจากภัยพิบัติ พ.ศ. 2558 – 2573 มีเป้าหมายในการลดความเสี่ยงจากภัยพิบัติและลดการสูญเสียชีวิต วิถีชีวิต และสุขภาพของบุคคล ธุรกิจ ชุมชน และประเทศอย่างเป็นรูปธรรม เป็นข้อตกลงของสมาชิกเครือข่ายองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจากทั่วโลกในการให้การสนับสนุนการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกระดับเมือง เพื่อลดความเสี่ยงและเพิ่มความยืดหยุ่นต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
ข้อตกลงระดับนานาชาติ... โอกาสและความท้าทายของท้องถิ่น ข้อตกลงปารีส มีเป้าหมายควบคุมการเพิ่มขึ้นของอุณหภูมิโลกโดยเฉลี่ยให้น้อยกว่า 2 องศาเซลเซียส (“well below 2 °C”) เหนือระดับก่อนการปฏิวัติอุตสาหกรรม รวมทั้ง เพิ่มศักยภาพในการปรับตัวต่อผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ และส่งเสริมการพัฒนาคาร์บอนต่ำที่มีความต้านทานต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ เป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน หรือ Sustainable Development Goals (SDGs) ริเริ่มโดยองค์การสหประชาชาติ เพื่อใช้เป็นทิศทางการพัฒนาตั้งแต่เดือนกันยายน ปี 2558 ถึงเดือนสิงหาคม 2573 ครอบคลุมระยะเวลา 15 ปี ประกอบไปด้วย 17 เป้าหมาย ซึ่งเป้าหมายที่ 13 ได้กำหนดให้มีการดำเนินการอย่างเร่งด่วนเพื่อต่อสู้กับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและผลกระทบที่เกิดขึ้น
ปฏิบัติการตอบสนองต่อพันธะสัญญา ด้านการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ -ของประเทศไทย-
แผนและนโยบายระดับชาติ ที่เกี่ยวข้องกับการเปลี่ยนแปลง สภาพภูมิอากาศ ยุทธศาสตร์แห่งชาติว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ พ.ศ. 2551-2555 แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 พ.ศ. 2560-2564 แผนแม่บทรองรับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ พ.ศ. 2558-2593
ตัวอย่างโครงการที่สนับสนุนบทบาทของท้องถิ่นและโรงเรียน ในการบรรเทาและรับมือกับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ โครงการเมืองปกป้องสภาพภูมิอากาศ หรือ Cities for Climate Protection (CCP) Campaign โครงการเพื่อพัฒนาการกำหนดนโยบายและดำเนินงานด้านการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของไทย โครงการปลุกเมืองให้โลกเปลี่ยน หรือ Earth Hour City Challenge (EHCC)
ศูนย์วิชาการนานาชาติด้านการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (Climate change International Technical and Training Center, CITC) โครงการสนับสนุนกิจกรรมลดก๊าซเรือนกระจก (Low Emission Support Scheme, LESS) โครงการส่งเสริมการจัดทำคาร์บอน ฟุตพริ้นท์ขององค์กร (Carbon Footprint for Organization,CFO) โครงการจัดทำข้อมูลปริมาณการปล่อย ก๊าซเรือนกระจกระดับเมือง (City Carbon Footprint, CCF)
โครงการสร้างเมืองคาร์บอนต่ำ เมืองจักรยาน และเมืองรู้สู้ภัยพิบัติ โครงการเทศบาลไทยมุ่งสู่เมืองคาร์บอนต่ำ เพื่อเฉลิม พระเกียรติพระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัว 84 พรรษา เมืองแห่งต้นไม้-เมืองไร้มลพิษ-เมืองพิชิตพลังงาน-เมืองแห่งการบริโภคยั่งยืน โครงการสร้างเมืองคาร์บอนต่ำ เมืองจักรยาน และเมืองรู้สู้ภัยพิบัติ
โครงการโรงเรียนคาร์บอนต่ำสู่ชุมชน โครงการโรงเรียนใหญ่ รอยเท้าเล็ก