NUR 3263 การรักษาโรคเบื้องต้น (Primary Medical Care) ........................................................ การปฐมพยาบาลและการดูแลผู้ป่วยในภาวะฉุกเฉิน การส่งต่อและการรับผู้ป่วยเพื่อการรักษาต่อเนื่อง ตามขอบเขตของกฎหมาย Lect. Tanawat Ruamsook B.N.S., NP., M.N.S. (Community Health Nurse Practitioner) College of Nursing and Health, Suan Sunandha Ratjabhat University SSRU
........................................................ เป็นนักปฏิบัติ ถนัดวิชาการ เชี่ยวชาญการสื่อสาร ชำนาญการคิด มีจิตสาธารณะ SSRU
Situations Situations 1 Situations 2 เป็นนักปฏิบัติ ถนัดวิชาการ เชี่ยวชาญการสื่อสาร ชำนาญการคิด มีจิตสาธารณะ SSRU
หลักการประเมินผู้ป่วย ประเมินสถานการณ์ อันดับแรก - การป้องกันตนเองจากการติดเชื้อ/อันตราย (Body substance isolation) - กลไกการบาดเจ็บ (Mechanism of injuries) - ความปลอดภัยสถานที่เกิดเหตุ (Scene safety) - จำนวนผู้ป่วย (Number of patients) - ความต้องการแหล่งสนับสนุน (Additional resource) เป็นนักปฏิบัติ ถนัดวิชาการ เชี่ยวชาญการสื่อสาร ชำนาญการคิด มีจิตสาธารณะ SSRU
ประเมินสภาพผู้ป่วย การประเมินขั้นต้น (Initial assessment) Triage ผู้รับบริการอื่นๆ ฉุกเฉินเร่งด่วน ฉุกเฉินไม่เร่งด่วน ฉุกเฉินวิกฤต ทั่วไป Delayed Minor / walking around Dead Immediate Field Triage ที่มา : ราชกิจจานุเบกษา ประกาศคณะกรรมการการแพทย์ฉุกเฉิน เรื่อง หลักเกณฑ์การประเมินเพื่อคัดแยกผู้ป่วยฯ พ.ศ.2554 เป็นนักปฏิบัติ ถนัดวิชาการ เชี่ยวชาญการสื่อสาร ชำนาญการคิด มีจิตสาธารณะ SSRU
Emergency Severity Index (ESI) ประเมินสภาพผู้ป่วย การประเมินขั้นต้น (Initial assessment) 1st Emergency Severity Index (ESI) Triage Resuscitation Emergency Urgent Semi-urgent Non-urgent Emergency 2nd การแพทย์ฉุกเฉิน (กพฉ.) Urgent Non-urgent ที่มา : การคัดแยกผู้ป่วยของแผนกอุบัติเหตุ-ฉุกเฉินในประเทศไทย (พรทิพย์ วชิรดิลกและคณะ, 2559) เป็นนักปฏิบัติ ถนัดวิชาการ เชี่ยวชาญการสื่อสาร ชำนาญการคิด มีจิตสาธารณะ SSRU
Emergency Urgent Non-urgent ประเภทผู้ป่วย ตัวอย่าง Emergency บาดเจ็บหลายระบบ กระดูกหักที่มีแผลเปิดร่วมกับภาวะตกเลือด ภาวะตกเลือดควบคุมไม่ได้ บาดเจ็บศีรษะ คอ และการหายใจ บาดเจ็บที่ทรวงอก บาดเจ็บต่อระบบประสาทอย่างรุนแรง Urgent กระดูกหักที่มีแผลเปิด/ปิด ภาวะตกเลือดที่มีอาการคงที่ กระดูกซี่โครงหักหลายที่ บาดเจ็บช่องท้องที่ไม่พบภาวะความดันโลหิตต่ำ บาดเจ็บที่ดวงตาและสูญเสียการมองเห็น Non-urgent กระดูกหักไม่ซับซ้อน แผลฉีกขาดไม่รุนแรง บาดเจ็บที่ดวงตาแต่ไม่สูญเสียการมองเห็น แผลถลอก ฟกช้ำ ข้อเคล็ด
Emergency Severity Index (ESI) เป็นระบบการคัดแยกผู้ป่วยของประเทศสหรัฐอเมริกาใช้อาการแสดงและการปฏิบัติ การพยาบาลที่คาดว่าจะต้องปฏิบัติแก่ผู้ป่วย ได้แก่ การเปลี่ยนแปลงระบบการหายใจ การทำงานของหัวใจ การทำงานระบบไหลเวียน ความรู้สึกตัว ความรุนแรงของการเจ็บป่วย ปริมาณความต้องการปฏิบัติการพยาบาล ระดับความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้นถ้าไม่ได้รับการช่วยเหลือ เป็นนักปฏิบัติ ถนัดวิชาการ เชี่ยวชาญการสื่อสาร ชำนาญการคิด มีจิตสาธารณะ SSRU
ประเมินสภาพผู้ป่วย (ต่อ) Rapid trauma assessment Initial assessment Rapid trauma assessment เป็นการประเมินผู้บาดเจ็บ/ผู้ป่วย ที่ได้รับอันตรายหรือกลไก การบาดเจ็บที่รุนแรง ที่อาจส่งผลให้เกิดการบาดเจ็บต่อกระดูกไขสันหลังหรือความรู้สึกตัวที่เปลี่ยนแปลงไป จึงควรมีการกระดูกคอส่วนหลัง (C-spine stabilization)ไปพร้อมๆกับการประเมินแบบ head – to – toe และควรมีการประเมินซ้ำ (Reassessment) ทุก 15 นาที : โดยใช้หลัก DCAP-BTLS เป็นนักปฏิบัติ ถนัดวิชาการ เชี่ยวชาญการสื่อสาร ชำนาญการคิด มีจิตสาธารณะ SSRU
ประเมินสภาพผู้ป่วย (ต่อ) ขั้นตอนการประเมินผู้บาดเจ็บอย่างรวดเร็ว ประกอบด้วย C-spine stabilization Assess the head Assess the neck Apply cervical spinal immobilization collar Assess the chest Assess the pelvic Assess all four extremities Assess posterior Assess vital signs and SAMPLE history DCAP-BTLS ในกรณีผู้บาดเจ็บ D = Deformities C = Contusion A = Abrasion P = Puncture B = Burns T = Tenderness L = Lacerations S = Swelling การผิดรูป รอยฟกช้ำ แผลถลอก แผลจาการถูกแทง แผลไหม้ ตำแหน่งเจ็บ แผลฉีกขาด อาการบวม เป็นนักปฏิบัติ ถนัดวิชาการ เชี่ยวชาญการสื่อสาร ชำนาญการคิด มีจิตสาธารณะ SSRU
ประเมินสภาพผู้ป่วย (ต่อ) ในผู้ป่วยบาดเจ็บไม่รุนแรงหรือในผู้เจ็บป่วย Focused assessment เป็นการตรวจ/ประเมินโดยเน้นจุดสำคัญ โดยการซักประวัติเพื่อให้ได้ข้อมูลที่ถูกต้อง ในผู้ป่วยบาดเจ็บไม่รุนแรงหรือในผู้เจ็บป่วย โดยใช้หลัก SAMPLE ……………… S = Signs and symptoms อาการและอาการแสดงที่ผู้ป่วยบอก A = Allergies ประวัติการแพ้ยาและสิ่งอื่นๆ M = Medication ประวัติการใช้ยา P = Past history ประวัติการเจ็บป่วย/การบาดเจ็บในอดีต L = Last oral intake การรับประทานครั้งสุดท้าย E = Event ลำดับเหตุการณ์สำคัญต่างๆ เป็นนักปฏิบัติ ถนัดวิชาการ เชี่ยวชาญการสื่อสาร ชำนาญการคิด มีจิตสาธารณะ SSRU
ประเมินสภาพผู้ป่วย (ต่อ) ABCDE assessment เป็นนักปฏิบัติ ถนัดวิชาการ เชี่ยวชาญการสื่อสาร ชำนาญการคิด มีจิตสาธารณะ SSRU
Initial assessment (ต่อ) No airway obstruction from … Is the airway patient?, Can the patients talk ? No airway obstruction from … Bleeding Secretion Foreign body Clear airway - Suction - Naso/oropharyngeal airway - Head tilt-chin lift, Jaw thrust เป็นนักปฏิบัติ ถนัดวิชาการ เชี่ยวชาญการสื่อสาร ชำนาญการคิด มีจิตสาธารณะ SSRU
วิธีการเปิดทางเดินหายใจ Head tilt – chin lift maneuver Jaw thrust maneuver *ในกรณีสงสัย C-spine injury เป็นนักปฏิบัติ ถนัดวิชาการ เชี่ยวชาญการสื่อสาร ชำนาญการคิด มีจิตสาธารณะ SSRU
Initial assessment (ต่อ) Is the breathing sufficient? Hypoxia / Hypoxemia, Cyanosis, Respiration… Accessory muscles Breathing depth and rhythm Tracheal position Symmetrical chest expansion Breath sounds and auscultation Chest percussion เป็นนักปฏิบัติ ถนัดวิชาการ เชี่ยวชาญการสื่อสาร ชำนาญการคิด มีจิตสาธารณะ SSRU
Initial assessment (ต่อ) Is the circulation sufficient? Bleeding……. Skin : - Color(pale, red, mottled) - Cool/warm/dry/sweaty Action Capillary refill time Stop bleed, IV/IO/Blood access Vitals signs : Pulse, Blood pressure เป็นนักปฏิบัติ ถนัดวิชาการ เชี่ยวชาญการสื่อสาร ชำนาญการคิด มีจิตสาธารณะ SSRU
Initial assessment (ต่อ) What is the level of consciousness? AVPU and Glasgow Coma Scale/Score : GCS เรียกหรือตีไหล่เบาๆเพื่อประเมินว่ารู้สึกตัวหรือไม่? AVPU assessment A = Alert รู้สึกตัวดี V = Verbal stimuli ตอบสนองต่อเสียงเรียก P = Painful stimuli ตอบสนองต่อความเจ็บปวด U = Un-response ไม่รู้สึกตัว/ไม่ค่อยตอบสนอง เป็นนักปฏิบัติ ถนัดวิชาการ เชี่ยวชาญการสื่อสาร ชำนาญการคิด มีจิตสาธารณะ SSRU
Initial assessment (ต่อ) Glasgow Coma Scale/Score : GCS 13 – 15 = Mild 9 – 12 = Moderate 3 – 8 = Severe
Decorticate VS Decerebrate
Initial assessment (ต่อ) Any clues to explain the patient’s condition? Completely undress but prevent hypothermia Head - to - toe assessment : - Trauma, Fracture, Wounds, Lesions… - Infection, Petechiae, rash - Bleeding เป็นนักปฏิบัติ ถนัดวิชาการ เชี่ยวชาญการสื่อสาร ชำนาญการคิด มีจิตสาธารณะ SSRU
การประเมิน Glasgow Coma Scale/Score : GCS พบผู้ป่วยหญิงไทย อายุ 54 ปี ประสบอุบัติเหตุ จากการประเมินสภาพร่างกาย พบว่า ผู้ป่วยลืมตาเมื่อเรียก สื่อสารได้แต่ลำดับเหตุการณ์ไม่ได้ สามารถทำตามคำสั่งได้ E? V? M? เป็นนักปฏิบัติ ถนัดวิชาการ เชี่ยวชาญการสื่อสาร ชำนาญการคิด มีจิตสาธารณะ SSRU
เป็นนักปฏิบัติ ถนัดวิชาการ เชี่ยวชาญการสื่อสาร ชำนาญการคิด มีจิตสาธารณะ SSRU
เป็นนักปฏิบัติ ถนัดวิชาการ เชี่ยวชาญการสื่อสาร ชำนาญการคิด มีจิตสาธารณะ SSRU
ผู้ป่วย / ผู้รับบริการ 1 กลุ่มอาการฉุกเฉินที่ต้องช่วยเหลือเบื้องต้นและส่งต่อทันที 2 กลุ่มอาการที่ต้องได้รับการวินิจฉัยเพิ่มเติม 3 กลุ่มอาการที่ต้องวินิจฉัยแยกโรคและให้การรักษาเบื้องต้น การจำแนก ผู้ป่วย / ผู้รับบริการ เป็นนักปฏิบัติ ถนัดวิชาการ เชี่ยวชาญการสื่อสาร ชำนาญการคิด มีจิตสาธารณะ SSRU
กลุ่มอาการฉุกเฉินที่ต้องช่วยเหลือเบื้องต้นและส่งต่อทันที เป็นกลุ่มอาการฉุกเฉินที่ต้องได้รับการดูแลรักษาพยาบาลเบื้องต้นตามความเหมาะสมก่อนการส่งต่อ มี 38 อาการ ดังนี้ การหยุดหายใจและระบบไหลเวียนโลหิตไม่ทำงาน (Cardiopulmonary arrest) การหมดสติ (Unconscious) 7. โรคหลอดเลือดสมอง (Stroke, Cerebrovascular disease) ภาวะช็อค (Shock) 8. จมน้ำ (Drowning and Near drowning) ชัก (Seizure) 9. ตกเลือดรุนแรง (Massive blood loss) การแพ้อย่างรุนแรง (Anaphylaxis) 10. ไฟฟ้าช๊อต (Electrical injury) เป็นลม (Syncope / Fainting) 11. ฟ้าผ่า (Lighting injury) 12. ตกจากที่สูง (Falling) เป็นนักปฏิบัติ ถนัดวิชาการ เชี่ยวชาญการสื่อสาร ชำนาญการคิด มีจิตสาธารณะ SSRU
กลุ่มอาการฉุกเฉินที่ต้องช่วยเหลือเบื้องต้นและส่งต่อทันที (ต่อ) เป็นกลุ่มอาการฉุกเฉินที่ต้องได้รับการดูแลรักษาพยาบาลเบื้องต้นตามความเหมาะสมก่อนการส่งต่อ มี 38 อาการ ดังนี้ 13. กระดูกหัก (Fracture) 19. การบาดเจ็บที่ศีรษะ (Head injury) (ถ้ามีอาการรุนแรง) 14. ภาวะฉุกเฉินทางตา (Eye emergency) 20. การบาดเจ็บทรวงอก (Chest injury) 15. ภาวะฉุกเฉินทางหู (Ear emergency) 21. การบาดเจ็บช่องท้อง (Abdominal injury) 16. ภาวะฉุกเฉินทางคอ (Throat emergency) 22. การบาดเจ็บที่ไขสันหลัง (Spinal injury) 17. ภาวะฉุกเฉินทางจมูก (Nose emergency) 23. แผลไหม้ (Burn) (ถ้ามีอาการรุนแรง) 18. ซิปติดหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศ (Zipper injury) 24. อุบัติภัยหมู่ (Mass casualty) 25. ได้รับสารพิษ หรือ ยาเกินขนาด (Toxic substance / Drug overdose) เป็นนักปฏิบัติ ถนัดวิชาการ เชี่ยวชาญการสื่อสาร ชำนาญการคิด มีจิตสาธารณะ SSRU
กลุ่มอาการฉุกเฉินที่ต้องช่วยเหลือเบื้องต้นและส่งต่อทันที (ต่อ) เป็นกลุ่มอาการฉุกเฉินที่ต้องได้รับการดูแลรักษาพยาบาลเบื้องต้นตามความเหมาะสมก่อนการส่งต่อ มี 38 อาการ ดังนี้ 26. คันกัด (Human bite) 32. ได้รับสารพิษจากแมงกะพรุน (Jellyfish dermatitis) 27. งูกัด (Snake bite) 33. พยายามฆ่าตัวตาย (Suicide attempt) 28. สัตว์กัด (Animal bite) 34. ถูกข่มขืน (Rape) (ถ้ามีอาการรุนแรง) 29. ผึ้ง ต่อ แตนต่อย (Bee/Wasp/hornet sting) 35. คลุ้มคลั่ง อาละวาด (Violence) 30. แมงป่อง ตะขาบ แมงมุมกัด (Scorpion sting / 36. เจ็บหน้าอกจากกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือดและ Centipede and spider bite) กล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน 31. เม่นทะเลตำ (Sea urchins) 37. ภาวะป่วยจากความร้อน (Heat stroke) 38. ภาวะฉุกเฉินทางสูตินรีเวช เป็นนักปฏิบัติ ถนัดวิชาการ เชี่ยวชาญการสื่อสาร ชำนาญการคิด มีจิตสาธารณะ SSRU
กลุ่มอาการที่ต้องได้รับการวินิจฉัยเพิ่มเติม เป็นกลุ่มอาการที่ควรได้รับการวินิจฉัยเพิ่มเติม ซึ่งต้องปรึกษาแพทย์ในเวลาที่กำหนด คือ 1 – 7 วัน ดังนี้ 1. มีไข้เกิน 7 วัน 7. ตามัว 13. เลือดออกทางช่องคลอด/ปจด.ผิดปกติ 2. ไข้หนาวสั่น 8. หูอื้อ หูตึง 14. คอพอก 3. ดีซ่าน 9. กลืนลำบาก 15. มีก้อนในที่ต่างๆ 4. บวม 10. อาเจียนเป็นเลือด 16. มีจุดแดง จ้ำเขียว 5. ท้องมาน 11. ไอเป็นเลือด 17. แขนขาเกร็ง/อ่อนแรง 6.น้ำหนักลด/เพิ่มอย่างรวดเร็ว 12. ปัสสาวะ/ อุจจาระเป็นเลือด 18. มือสั่น เป็นนักปฏิบัติ ถนัดวิชาการ เชี่ยวชาญการสื่อสาร ชำนาญการคิด มีจิตสาธารณะ SSRU
กลุ่มอาการที่ต้องได้รับการวินิจฉัยเพิ่มเติม เป็นกลุ่มอาการที่ควรได้รับการวินิจฉัยเพิ่มเติม ซึ่งต้องปรึกษาแพทย์ในเวลาที่กำหนด คือ 1 – 7 วัน ดังนี้ 19. กล้ามเนื้ออ่อนแรง 22. ปากเบี้ยว 24. หนองไหลจากท่อปัสสาวะ 20. หนังตาตก 23. ข้ออักเสบ (บวม/แดง/ร้อน) 25. หูดหงอนไก่ (Condyloma) 21. ข้อมือตก / ข้อเท้าตก เป็นนักปฏิบัติ ถนัดวิชาการ เชี่ยวชาญการสื่อสาร ชำนาญการคิด มีจิตสาธารณะ SSRU
กลุ่มอาการที่ต้องวินิจฉัยแยกโรคและให้การรักษาโรคเบื้องต้น เป็นกลุ่มอาการฉุกเฉินที่ต้องได้รับการดูแลรักษาพยาบาลเบื้องต้นตามความเหมาะสมก่อนการส่งต่อ มี 38 อาการ ดังนี้ 1. อาการในระบบทางเดินหายใจ ได้แก่ 3. อาการในระบบทางเดินอาหาร - ไข้หวัด คัดจมูก/น้ำมูกไหล ไอ หอบ เสียงแหบ - ปวดฟัน ปวดท้อง เบื่ออาหาร ท้องเดินฯ 2. อาการทางหู คอ จมูก ได้แก่ 4. อาการทางโลหิตวิทยา/ระบบหัวใจและหลอดเลือด - ตามัว คันตา ตาแดง/ตาแฉะ ปวดตา/เคืองตา - จุดแดง / จ้ำเขียว / ซีด / เจ็บหน้าอก / ใจสั่น - เจ็บคอ เจ็บหู/หูอื้อ/หูตึง 5. อาการในระบบสืบพันธุ์/ทางเดินปัสสาวะ - ปัสสาวะบ่อย /ขัดเบา/ตกขาว เป็นนักปฏิบัติ ถนัดวิชาการ เชี่ยวชาญการสื่อสาร ชำนาญการคิด มีจิตสาธารณะ SSRU
กลุ่มอาการที่ต้องวินิจฉัยแยกโรคและให้การรักษาโรคเบื้องต้น เป็นกลุ่มอาการฉุกเฉินที่ต้องได้รับการดูแลรักษาพยาบาลเบื้องต้นตามความเหมาะสมก่อนการส่งต่อ มี 38 อาการ ดังนี้ 6. อาการทางผิวหนัง - ผื่น / ตุ่ม / อาการคัน 7. อาการทางระบบประสาท/กล้ามเนื้อ/กระดูก/ข้อ ได้แก่ - ชา ชัก/มือเท้าเกร็ง/ปวดศีรษะ/ปวดข้อ/ปวดกล้ามเนื้อ 8. อาการในระบบอื่นๆ ได้แก่ - อาการไข้ / อ่อนเพลีย / บวม เป็นนักปฏิบัติ ถนัดวิชาการ เชี่ยวชาญการสื่อสาร ชำนาญการคิด มีจิตสาธารณะ SSRU
เอกสารอ้างอิง วราภรณ์ บุญเชียง และวิลาวัณย์ เตือนราษฎร์. (2557). การรักษาพยาบาลโรคเบื้องต้น. (พิมพ์ครั้งที่ 3). เชียงใหม่: มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. วิทยา ศรีดามา. (2552). การสัมภาษณ์และตรวจร่างกาย. (พิมพ์ครั้งที่ 12). กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยสภาการพยาบาล. (2551). ข้อกำหนดการรักษาโรคเบื้องต้นและการให้ภูมิคุ้มกันโรค สำหรับผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาลชั้นหนึ่ง ผู้ประกอบ วิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ชั้นหนึ่ง.(พิมพ์ครั้งที่ 4). กรุงเทพฯ: พี.เอ.ลีฟวิ่ง. สภาการพยาบาล. (2541). กฎหมายกับการประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์.(พิมพ์ครั้งที่ 1). นนทบุรี: พี.เอ.ลีฟวิ่ง. เอกสารประกอบการสอน รายวิชาการรักษาโรคเบื้องต้น เภสัชวิทยาและภาวะฉุกเฉิน. ปีการศึกษา 2559. หลักสูตร พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการพยาบาลเวชปฏิบัติชุมชน คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล. เป็นนักปฏิบัติ ถนัดวิชาการ เชี่ยวชาญการสื่อสาร ชำนาญการคิด มีจิตสาธารณะ SSRU