การตัดสินใจซื้อ หรือ ผลิต

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การผลิตบ่อพัก ทำเอง ใช้เอง หจก. มภัสกาญ คอนสตรัคชั่น
Advertisements

แนวทางการจัดทำบัญชีสมดุลผลไม้
“กลยุทธ์การบริหารความเสี่ยง จากอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ”
บทที่ 1 การรวมธุรกิจ.
ระบบสารสนเทศทางธุรกิจ (Business Information Systems)
บทที่5 การควบคุมการผลิตและต้นทุนการผลิต
1. 2 งบประมาณ ทั้งสิ้น 33, ลบ. งบประจำ ลบ. (0.37%) งบ บุคลากร ลบ. (0.25%) งบ ดำเนินงา น ลบ. (0.12%) งบลงทุน 33,
บริโภคอย่างมีความสุข งานนำเสนอแฟ้มสะสมผลงาน
LOGO การคำนวณต้นทุนผลผลิต ของปีงบประมาณ 2553 โดย นายธีรชาติ พันธุ์หอม หัวหน้าฝ่ายแผนงานและ งบประมาณด้านก่อสร้าง คณะทำงานต้นทุนผลผลิตสำนัก ชลประทานที่ 11.
การดำเนินงานโครงการ เมื่อได้รับอนุมัติงบประมาณ
บทที่2 การวางแผนการผลิตและกำลังการผลิต
การประเมินผลโครงการ คปสอ.คลองใหญ่.
1.
15 กันยายน 2558 หมวดงบลงทุน. งบ ลงทุน 1) ครุภัณฑ์ 2) ที่ดิน สิ่งก่อสร้าง หมายถึง รายจ่ายที่กำหนดให้จ่าย เพื่อการลงทุน ได้แก่ รายจ่ายที่จ่ายใน ลักษณะค่าครุภัณฑ์
ความเป็นมาของการศึกษาความเป็นไป ได้ของโครงการ ความหมายของการศึกษาความเป็นไป ได้ของโครงการ ขอบข่ายการศึกษาความเป็นไปได้ของ โครงการ การประเมินโครงการและการจัดลำดับ.
การเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับระบบการควบคุมภายใน ระดับสถานศึกษา ประจำปี 2559.
การมอบนโยบายแนวทาง การปฏิรูปที่ดินประจำปี 2559 โดย นายสรรเสริญ อัจจุตมานัส เลขาธิการ ส. ป. ก.
สถาบันด้านปัจจัยการ ผลิตทางการเษตร ( ตลาดแรงงาน ) ศ.491 การวิเคราะห์การผลิต และนโยบายการผลิตสินค้าเกษตร รศ. ภราดร ปรีดาศักดิ์ คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
สร้างความเข้มแข็งของเศรษฐกิจฐานราก จากต้นทาง กลางทาง จนถึงปลายทาง
บทที่ 3 องค์ประกอบของการสัมมนา
บทเรียนโปรแกรมเพื่อการทบทวน
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
ระบบการควบคุมภายในกลุ่มวิสาหกิจชุมชน
ระบบบัญชาการในสถานการณ์ Incident Command System: ICS
Material requirements planning (MRP) systems
หน่วยที่ 1 ข้อมูลทางการตลาด. สาระการเรียนรู้ 1. ความหมายของข้อมูลทางการตลาด 2. ความสำคัญของข้อมูลทางการตลาด 3. ประโยชน์ของข้อมูลทางการตลาด 4. ข้อจำกัดในการหาข้อมูลทาง.
การบัญชีต้นทุนช่วง (Process Costing).
Strategy Map สำนักงานสรรพากรพื้นที่กรุงเทพมหานคร12
Design by Agri - Map สำนักงานชลประทานที่ ๘.
Presentation การจัดการข้อร้องเรียนในธุรกิจบริการ Customer Complaint Management for Service.
วัสดุคงเหลือ.
บทที่ 8 การบริหารสินค้าคงเหลือ
การวิเคราะห์ ต้นทุน ปริมาณ กำไร
บทที่ 8 การควบคุมโครงการ
กรณีศึกษา : นักเรียน ระดับ ปวช.2 สาขาวิชาการบัญชี
วิธีการกรอกแบบเสนอโครงการในไฟล์ Power point นี้
บัตรยิ้ม สร้างเสริมกำลังใจ
การรายงานความคืบหน้าหรือสถานะ
การเร่งรัดการเบิกจ่ายงบประมาณ
แนวทาง/เกณฑ์การประเมินโครงการฯ
โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการใช้จ่ายงบประมาณและการดำเนินงานของสถาบันอุดมศึกษา ประจำปีงบประมาณ พ.ศ มีนาคม 2560.
วิธีการกำหนดค่า Microsoft SharePoint ของคุณ เว็บไซต์ออนไลน์
SMS News Distribute Service
บทที่ 3 การวิเคราะห์ความสัมพันธ์ ต้นทุน-ปริมาณ-กำไร
บทที่ 4 หลักทฤษฎีและปฏิบัติการธุรกิจ ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ
สรุปมาตรฐานการบัญชี เรื่อง สัญญาก่อสร้าง
ตัวอย่างการจัดทำรายงานการผลิต และงบการเงิน
เราคือ ‘One PPG’ We protect and beautify the world วัตถุประสงค์ของเรา
บทที่ 9 งบประมาณการลงทุน
ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียง
โซ่อุปทานและโลจิสติกส์ ญาลดา พรประเสริฐ คณะวิทยาการจัดการ
การวิจัยทางการท่องเที่ยว
บทที่ 6 เงินลงทุนในตราสารหนี้และตราสารทุน
แนวคิดทั่วไปเกี่ยวกับการบัญชีต้นทุน
การเปลี่ยนแปลงประมาณการทางบัญชี และข้อผิดพลาด
ตัวแบบมาร์คอฟ (Markov Model)
การวางแผนกำลังการผลิต
การตัดสินใจซื้อ หรือ ผลิต
Supply Chain Management
การจัดทำแผนการสอบบัญชีโดยรวม
การบริหารจัดการระบบสารสนเทศ (ระบบงานสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์)
การจัดการความรู้ สำนักชลประทานที่ 15
8/26/2019 ชื่อบริษัท แผนธุรกิจ.
มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
การขายและการตลาดสำหรับธุรกิจโรงแรมและที่พัก
โซ่อุปทานและโลจิสติกส์ ญาลดา พรประเสริฐ คณะวิทยาการจัดการ
โครงการถ่ายทอดเทคโนโลยีถนนรีไซเคิลเพื่อลดขยะพลาสติกใน 4 ภูมิภาค
บทที่ 7 การบัญชีภาษีมูลค่าเพิ่ม
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
เครื่องขุดหลุมปลูกยาสูบ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การตัดสินใจซื้อ หรือ ผลิต LOGISTICS บทที่ 4 การตัดสินใจซื้อ หรือ ผลิต ญาลดา พรประเสริฐ คณะวิทยาการจัดการ yalada

การพิจารณาซื้อหรือผลิต วิธีการคุณภาพ ข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับองค์การประกอบด้วยข้อมูลที่เป็นตัวเลขและที่ไม่สามารถกำหนดเป็นตัวเลขมาพิจารณา เป็นแนวทางการตัดสินใจและเปรียบเทียบความเป็นไปได้ของการดำเนินการ และความสามารถขององค์การเพื่อการตัดสินใจดำเนินการด้านต่างๆ การเลือกผู้จำหน่าย การจัดซื้อเป็นการร่วมมือและสร้างความสัมพันธ์ระหว่างผู้ซื้อกับผู้ขาย การซื้อขายเป็นสัญญาและความร่วมมือระยะยาว yalada yalada

กระบวนการจัดซื้อ/จัดหา (Procurement & Purchasing) เป็นขั้นตอนที่มีความสำคัญกับโลจิสติกส์มากที่สุดในเรื่องต้นทุน และคุณภาพผลิตภัณฑ์ เพราะระบบจัดซื้อที่ดีจะช่วยตอบสนองความต้องการวัตถุดิบและบริการจัดส่งในสายโซ่อุปทาน ทำให้เกิดการไหลอย่างต่อเนื่อง ส่วนใหญ่กิจกรรมจัดซื้อเกี่ยวข้องกับการจัดหาวัตถุดิบ เลือกแหล่งจัดซื้อจัดจ้าง เจรจาต่อรอง คุมเวลาและปริมาณในการขนส่ง บริหารระดับคงคลังให้เพียงพอ และควบคุมระดับความถี่ของการสั่งซื้อด้วย yalada yalada

จริยธรรมการจัดซื้อ (๑) หลักจริยธรรมไทย ในฐานะองค์กรของไทย สิ่งที่จะต้องคำนึงถึง คือ เกียรติภูมิและเอกลักษณ์ของไทย (๒) หลักจริยธรรมสากล ประเทศไทยอยู่ในสังคมโลก การปฏิบัติในทุกเวทีในประเทศไทย มีรูปแบบเป็นเวทีสากลเป็นส่วนใหญ่ ในบางเรื่องจำเป็นต้องนำหลักปฏิบัติในมาตรฐานสากลมาประยุกต์ใช้ร่วมกับหลักปฏิบัติแบบไทย ณ จุดบรรจบที่ได้ผลดีที่สุดและปฏิบัติได้จริง yalada

การตัดสินใจทำเองหรือซื้อ (Make-or-Buy-Decisions) ตารางที่ 1 ข้อเปรียบเทียบเหตุผลที่ต้องผลิตเองและเหตุผลที่ซื้อจากภายนอก เหตุผลที่ต้องผลิตเอง เหตุผลที่ซื้อจากภายนอก 1. ไม่ต้องเสียค่าใช้จ่ายในการจัดหาจากภายนอก 1. ตัดส่วนที่ไม่จำเป็นเพื่อการลดต้นทุนการผลิต 2. ลดต้นทุนรวมสำหรับการผลิต 2. การปฏิบัติตามพันธสัญญาทางธุรกิจ 3. คุณสมบัติผู้จัดหาวัตถุดิบไม่เหมาะสม 3. สร้างพันธมิตรเครือข่ายทางธุรกิจในโซ่อุปทาน 4. เป็นหลักประกันว่ามีวัตถุดิบเพียงพอ 4. การถ่ายทอดเทคโนโลยีเกี่ยวกับสินค้า 5. ใช้ประโยชน์จากทรัพยากรในองค์การเต็มที่ 5. ประสิทธิภาพการผลิตไม่เพียงพอ 6. ของที่ผลิตมีคุณภาพตามที่ต้องการ 6. ลดต้นทุนสินค้าคงคลัง 7. ตัดผู้จัดหาวัตถุดิบที่ไม่พึงปรารถนา 7. ประโยชน์ต่างๆ จากข้อเสนอของผู้จัดหา 8. ป้องกันความลับเกี่ยวกับตัวสินค้า 8. ขาดประสิทธิภาพด้านการจัดการและเทคโนโลยี 9. ลดความไม่แน่นอนเกี่ยวกับระยะเวลาส่งมอบ 9. การแลกเปลี่ยนผลประโยชน์ทางการค้า 10. ป้องกันการละเมิดลิขสิทธิ์ในการออกแบบ 10. เพิ่มประสิทธิภาพในกิจกรรมหลักขององค์การ yalada CP , ฟาร์มโชคชัย

วิธีการเชิงปริมาณ พิจารณาค่าใช้จ่ายวิธีการเชิงปริมาณการตัดสินใจซื้อหรือผลิตต้องนำค่าใช้จ่ายและต้นทุนมาศึกษาให้ครบถ้วน ในกรณีลงทุนระยะยาว ต้องนำการคิดดอกเบี้ยหรือค่าปัจจุบันของเงินมาคิดด้วย เช่น การซื้อของพร้อมใช้งาน ค่าชิ้นส่วนหรืออะไหล่ที่ต้องการใช้ ค่าใช้จ่ายในการเตรียมงานจัดซื้อ ค่าขนส่งค่ารับของ ค่าบริการทางเทคนิค ผลิตเอง ค่าใช้จ่ายที่เกี่ยวข้องกับการลงทุนเพื่อการผลิตและดอกเบี้ย ค่าแรงงาน ค่าใช้จ่ายในการผลิต ค่าจัดการที่เกี่ยวข้องกับการผลิต yalada

ตัวอย่าง บริษัทผลิตเครื่องสูบน้ำแห่งหนึ่งต้องการชิ้นส่วนมอเตอร์ บริษัทซื้อชิ้นส่วนประจำ จากผู้ผลิตรายหนึ่ง ต่อมามีโครงการผลิตเอง ให้ศึกษาว่า บริษัทควรตัดสินใจอย่างไร รายการ ผลิตระบบ A ผลิตระบบ B สั่งซื้อระบบ C ปริมาณการใช้/ปี ต้นทุนคงที่/ปี ต้นทุนผันแปร/หน่วย 10,000 หน่วย 100,000 บาท 75 บาท 300,000 บาท 70 บาท - 80 บาท บริษัทควรผลิตระบบ A ระบบ B หรือสั่งซื้อดี ถ้าเดิมสั่งซื้ออยู่ ควรเริ่มผลิตเองด้วยระบบ A ที่ปริมาณเท่าไร ควรเปลี่ยนจากระบบ A ไปผลิตแบบระบบ B ที่ปริมาณเท่าไร yalada

วิธีทำ ประมาณค่าใช้จ่ายระบบต่างๆ ค่าใช้จ่ายต่อปี (TC) = ต้นทุนคงที่+ต้นทุนแปรผัน = ต้นทุนคงที่+ปริมาณ*ค่าใช้จ่ายต่อหน่วย ค่าใช้จ่ายในระบบการผลิต A = 100,000 + (10,000 * 75 ) = 850,000 บาท ค่าใช้จ่ายในระบบการผลิต B = 300,000 + (10,000 * 70 ) = 1,000,000 บาท ค่าใช้จ่ายในการสั่งซื้อระบบ c = 0 + (10,000 * 80 ) = 800,000 บาท การใช้ในปริมาณ 10,000 หน่วย บริษัทควรสั่งซื้อ yalada

บริษัทเริ่มเปลี่ยนจากซื้อเป็นผลิตเอง ที่ค่าใช้จ่ายโครงการ A = โครงการ C ในปริมาณ Q ค่าใช้จ่ายต่อปี ในระบบการผลิต A =ค่าใช้จ่ายในการสั่งซื้อ 100,000 + (75) Q = (80) Q 5 Q = 100,000 Q = 20,000 หน่วย yalada

เปลี่ยนระบบการผลิตจาก A เป็น B ที่ปริมาณ 40,000 หน่วย ปริมาณที่เปลี่ยนจากการผลิตระบบ A เป็นระบบ B เพราะระบบ B ค่าใช้จ่ายต่อหน่วยต่ำกว่าให้เปลี่ยนแปลงปริมาณ Q ค่าใช้จ่ายต่อปีเป็น TC และกำหนดให้ เป็นค่าใช้จ่ายต่อปี ในระบบ A และ เป็นค่าใช้จ่ายต่อปี ในระบบ B TCA TCB 100,000 + (75) Q = 300,000 +(70) Q 5 Q = 200,000 Q = 40,000 หน่วย เปลี่ยนระบบการผลิตจาก A เป็น B ที่ปริมาณ 40,000 หน่วย yalada

ค่าใช้จ่ายผลิตเองต่อปีน้อยกว่าซื้อมาต่อปี ควรผลิตเอง ตัวอย่าง บริษัทสากลบริการเกมส์ เป็นบริษัทผลิตของเล่นเด็กเพื่อส่งออกรายใหญ่ ซื้อมอเตอร์ไฟฟ้าขนาดเล็กจากไต้หวัน เพื่อประกอบรถเด็กเล่นปีละ 150,000 หน่วยในราคาหน่วยละ 75 บาท พิจารณาว่าจะดำเนินการผลิตเองมีค่าใช้จ่ายโดยประมาณ คือค่าวัตถุดิบหน่วยละ 45 บาทและค่าแรงหน่วยละ 9 บาทค่าใช้จ่ายคงที่ประกอบด้วยค่าน้ำ ค่าไฟฟ้าและค่าใช้จ่ายบริหารปีละ 1,000,000 บาทให้พิจารณาว่าควรซื้อหรือผลิตเอง ค่าใช้จ่ายซื้อมาปีละ 150,000หน่วยจากผู้ผลิตที่ไต้หวัน ค่าใช้จ่ายผลิตเองปีละ 150,000 หน่วย ค่าใช้จ่ายผลิตเองต่อปีน้อยกว่าซื้อมาต่อปี ควรผลิตเอง TCซื้อ = ราคาหน่วยละ X จำนวนที่ใช้ต่อปี = 75 บาท/หน่วย*150,000หน่วย = 11,250,000 บาท TCผลิต = ค่าใช้จ่ายแปรผัน +ค่าใช้จ่ายคงที่ = (ค่าวัตถุดิบ+ค่าแรง)(หน่วยต่อปี)+ ค่าน้ำค่าไฟฟ้าค่าบริหาร = (45 บาท/หน่วย+9 บาท /หน่วย ) X (150,000หน่วย)+1,000,000บาท = 9,100,000 บาท yalada

n=จำนวนงวด หรือครั้งต่อการคิดดอกเบี้ย เป็นปี เดือน หรือไตรมาส แบบที่ 2 มีค่าดอกเบี้ยเข้าเกี่ยวข้อง การคิดดอกเบี้ยมีสัญลักษณ์และตัวแทนค่าเพื่อการคำนวณสูตรในการวิเคราะห์ ดังนี้ P= ค่าของเงินที่บันทึกไว้ในขณะที่เป็นเวลาที่เริ่มต้น เป็นเวลาปัจจุบันเป็นมูลค่าปัจจุบันมีหน่วยเป็นค่าเงินบาท F= ค่าของเงินที่กำหนดไว้ในระยะเวลาอนาคตเป็นเงินรวมของเงินต้นและดอกเบี้ยเป็นมูลค่าอนาคต A=อนุกรมแบ่งจ่ายจำนวนเท่าๆกันทุกงวดของเงินต้นและรวมดอกเบี้ยเป็นจำนวนบาทต่อเดือน หรือต่อปี n=จำนวนงวด หรือครั้งต่อการคิดดอกเบี้ย เป็นปี เดือน หรือไตรมาส i=อัตราดอกเบี้ยต่องวดที่สัมพันธ์กันกับ n ที่กำหนด t=เวลากำหนดตามงวดเป็นปี เดือน หรือไตรมาส yalada

F1 ดอกเบี้ยเชิงเดียว การคิดดอกเบี้ยจากการกู้ยืมเป็นสัดส่วนโดยตรงกับดอกเบี้ย ไม่นิยมใช้ในวงการธุรกิจและธนาคาร ดอกเบี้ยเชิงซ้อน และการหาตัวประกอบจ่ายครั้งเดียว ในสถานการณ์ทั่วไปคิดดอกเบี้ยจากดอกเบี้ยค้างจ่ายทบเข้ากับเงินต้นที่มีอยู่เดิม การคิดดอกเบี้ยจะเป็นดอกเบี้ยเชิงซ้อนโดยคำนวณจากการลงทุนด้วยเงินต้น P เพื่อหาเงินรวม ของเงินต้นรวมดอกเบี้ย เมื่อสิ้นปีที่ 1 โดยมีอัตราดอกเบี้ย I % ต่อปี F1 = P+ Pi = P (1+i) ปลายปีที่ 2 เงินรวม F2 เป็นเงินรวมของเงินต้นและดอกเบี้ยเมื่อสิ้นปีที่ 1 และนำมาคิด ดอกเบี้ยเพิ่มอีก Fn = P (1+i) n P = F ( ) 1 (1+ i) n yalada

มูลค่าปัจจุบัน- อนุกรมแบ่งจ่ายและตัวประกอบคืนทุน 1 (1+ i) 1 P =A( )+( )+( ) +( )___สมการที่ 1 P =A( + + + ) ___สมการที่ 2 คูณสมการทั้งสองข้างด้วย 1/( 1+i) =A( + + + + ) ตั้งสมการที่ 2 ลบด้วยสมการที่ 3 และคูณสมการทั้งสองข้างด้วย -1/( 1+i) และจะมีค่าคงเหลือเป็นค่า P  0 และ I  0 P =A( ) ___สมการที่ 3 ถ้ามีค่า P สามารถหาค่า A ได้จากสมการที่ 3 สูตร A =P ( ) ___สมการที่ 4 1 (1+ i) 2 1 (1+ i) 3 1 (1+ i) n 1 (1+ i) 1 1 (1+ i) 2 1 (1+ i) 3 1 (1+ i) n P (1+ i) 1 1 (1+ i) 1 1 (1+ i) 2 1 (1+ i) 3 1 (1+ i) n 1 (1+ i) n+1 (1+ i)n -1 1 (1+ i) n (1+ i) n (1+i)n -1 yalada

การหาค่าตัวประกอบคืนทุนและตัวประกอบคืนทุนจำนวนรวม-อนุกรมแบ่งจ่าย P= F( ) แทนค่าลงในสมการที่ 4 ดังนี้ A = F ( ) ( ) = F ( ) ___สมการที่ 5 ถ้าต้องการหาค่า A โดยแปลงค่า F เป็นค่าA ที่เป็นอนุกรมที่เท่ากัน ดังนี้ สูตร F = A 1 (1+ i) n (1+ i) n (1+i)n -1 1 (1+ i) n i (1+i)n -1 (1+i)n -1 i yalada

ตัวอย่าง บริษัทแห่งหนึ่งได้รับการเสนอราคาเครื่องจักรเครื่องหนึ่งเพื่อผลิตชิ้นส่วนที่ใช้อยู่ในราคา 400,000 บาท มีค่าซากหลังจากใช้งานแล้ว 5 ปีเป็นเงิน 50,000 บาท เครื่องจักรมีค่าบำรุงรักษาปีละ 15,000 บาท อัตราดอกเบี้ย 8% ในการผลิตมีค่าใช้จ่ายแปรผันที่ประกอบด้วยค่าไฟฟ้า ค่าแรงงานและค่าวัตถุดิบหน่วยละ 70 บาท ถ้าโรงงานมีความต้องการปีละ 10,000 หน่วยในขณะเดียวกันมีผู้เสนอขายชิ้นส่วนชนิดเดียวกันที่แทนกันได้ในราคาหน่วยละ 85 บาทและจะซื้อได้ปีละ 10,000 หน่วย ให้พิจารณาว่าควรตัดสินใจผลิตหรือซื้อ ค่าเทียบค่าใช้จ่ายรายปี ของค่าเครื่องจักร A=-P( A/P,6%,5) = -400,000(0.2374 ) = -94,960 บาท ค่าเทียบเท่าค่าใช้จ่ายรายปีคำนวณจากซากจากสูตรและตารางดอกเบี้ยท้ายเล่ม A = F( A/F,6%,5) = 50,000(0.1774 ) = 8,870 บาท yalada

ค่าบำรุงรักษารายปี = -15,000 บาท ค่าใช้จ่ายแปรผัน = -70 X 10,000 ค่าบำรุงรักษารายปี = -15,000 บาท ค่าใช้จ่ายแปรผัน = -70 X 10,000 = -70,000 บาท ค่าใช้จ่ายรวมสำหรับผลิตเองในหนึ่งปี = -801,090 บาท ถ้าชิ้นส่วนสำเร็จรูป มีค่าใช้จ่ายต่อปี = -85 X 10,000 = -850,000 บาท ควรผลิตเอง เพราะค่าใช้จ่ายต่ำกว่า yalada

ขอขอบคุณที่สนใจฟัง... yalada