กฏหมายสำหรับนักศึกษาพยาบาล

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ประกาศกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน เรื่อง หลักเกณฑ์และวิธีการเลือกตั้งคณะกรรมการสวัสดิการในสถานประกอบกิจการ ประกาศราชกิจจานุเบกษา วันที่ 22 พฤษภาคม.
Advertisements

ปทุมธานี นางปลื้มจิตต์ เนี้ยวคงศักดิ์ นายอารัต เมืองจร
ครูพัทธนันท์ เปลี่ยนศรี 1 5 ข. กฎหรือข้อบังคับที่รัฐต้อง ปฏิบัติตาม ค. กฎเกณฑ์ควบคุมความ ประพฤติของบุคคล ง. กฎเกณฑ์ทางสังคม.
ผู้ลี้ภัยการเมือง จัดทำโดย นางสาว อำพันธ์ แสนคำวัง ลำดับ 106.
สิทธิในการเข้าสู่กระบวนการยุติธรรมทางปกครอง
จรรยาบรรณ ทางวิชาชีพและ เชิงสังคม อ. อิทธิพล ปรีติ ประสงค์ อ. อิทธิพล ปรีติ ประสงค์ สถาบันแห่งชาติเพื่อ การพัฒนาเด็กและ ครอบครัว ม. มหิดล สถาบันแห่งชาติเพื่อ.
ครูพัทธนันท์ เปลี่ยนศรี 1. ผลการเรียนรู้ รู้และเข้าใจการแบ่งประเภท และการระบุโทษของการ กระทำความผิดแต่ละประเภท 2.
ภญ.จีรัง ภมรสูต สำนักยา สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา
ดร. มานะ นิมิตรมงคล เลขาธิการ องค์กรต่อต้านคอร์รัปชันฯ 8 พฤษภาคม 2558
กรณีศึกษาของเยาวชนที่กระทำความผิดคดีฆ่าผู้อื่นโดยเจตนา : สถานพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชน จังหวัดสระบุรี ผู้วิจัย โยธิน จารุจุฑารัตน์ หลักสูตร ปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต.
สำนักความรับผิดทางแพ่ง
การจัดซื้อจัดจ้างตามระเบียบ พัสดุ ประกาศคณะรักษาความรักษา ความสงบแห่งชาติ การซื้อและ การจัดจ้างด้วยระบบ อิเล็กทรอนิกส์ (e – GP) และการบริหาร งบประมาณ ขององค์กรปกครองส่วน.
มอบนโยบายการบริหารราชการให้กับหัวหน้าสถานีตำรวจ วันอังคารที่ 2 ๑ มิ. ย.59 เวลา น. สำนักงานตำรวจแห่งชาติ
ระเบียบคณะกรรมการพลังงานปรมาณูเพื่อสันติว่าด้วยวิธีการรักษาความมั่นคงปลอดภัยของวัสดุนิวเคลียร์และสถานประกอบการทางนิวเคลียร์พ.ศ วันที่ประกาศในราชกิจจานุเบกษา.
๕ เรื่องเด่นในร่างรัฐธรรมนูญ
ชุมชนปลอดภัย.
วิชากฎหมายอาคาร รหัสวิชา ท-ป-น (2-0-2) หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ ปวช.2556 ประเภทวิชาช่างอุตสาหกรรม สาขาวิชาช่างก่อสร้าง สาขาวิชาช่างโยธา.
วาระที่ สรุปผลการปฏิบัติงาน ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2559
การพัฒนาคุณภาพชีวิตในการทำงาน (Quality of Work Life)
หลักการของจริยธรรมทางกฎหมาย
ความเข้าใจเรื่องกลไกสิทธิมนุษยชน เรื่อง
พระราชบัญญัติป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ พ.ศ.2551
พงษ์เดช วานิชกิตติกูล
การกระทำอันไม่เป็นธรรม (Unfair Labour Practice)
พ.ร.บ. วิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง
บทที่ 8 การควบคุมโครงการ
โดย นายทรงเกียรติ ตาตะยานนท์ ผู้อำนวยการส่วนจัดการงบประมาณ
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
บัตรยิ้ม สร้างเสริมกำลังใจ
กรมบัญชีกลาง กองการพัสดุภาครัฐ
ประกาศกรมควบคุมมลพิษ เรื่องหลักเกณฑ์ในการพิจารณาความเหมาะสมของพื้นที่ การออกแบบก่อสร้างและการจัดการสถานที่หมักปุ๋ยจากมูลฝอย ประกาศในกรมควบคุมมลพิษ.
ประกาศกระทรวงแรงงาน เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขในการขออนุญาตทำงาน และการอนุญาตให้ทำงานตามพระราชกำหนดการบริหารจัดการการทำงานของคนต่างด้าว พ.ศ.
กำหนดกรอบระยะเวลาการขึ้นทะเบียนปี2556/57 1. ข้าว
(มีผลใช้บังคับวันที่ ๑ พ.ย. ๒๕๕๗)
ขีดความสามารถในการรองรับได้ของแหล่งท่องเที่ยว
กลุ่มเกษตรกร.
พ.ร.บ. ระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ.2546
โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการใช้จ่ายงบประมาณและการดำเนินงานของสถาบันอุดมศึกษา ประจำปีงบประมาณ พ.ศ มีนาคม 2560.
ประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
กองทุนเงินทดแทน ประกันสังคม.
องค์กรตรวจสอบการทำงานภาครัฐ (สตง. / ปปช. / ปปท. )
การแสดงเจตจำนงของประชาชนตามระบอบประชาธิปไตย
อำนาจอธิปไตย 1.
สาเหตุที่ต้องมีพระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
กฎหมายเอกเทศสัญญา 1 อาจารย์ สุรศักดิ์ มีบัว สาขานิติศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์และ สังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา ครั้งที่ 13.
อำนาจ การปกครอง และการระงับข้อพิพาท
แนวปฏิบัติ การจัดสวัสดิการภายในส่วนราชการ
กฎกระทรวง ความปลอดภัยทางรังสี พ.ศ.2561
วิชากฎหมายอาญาภาคทั่วไป (177181)
อภิรัฐธรรมนูญไทย.
แนวทางการแก้ไขปัญหาก๊าซ LPG
ระเบียบคณะกรรมการกำกับกิจการพลังงาน ว่าด้วยการจัดหาไฟฟ้าจากผู้ผลิตไฟฟ้ารายเล็ก โครงการผลิตไฟฟ้าจากพลังงานหมุนเวียน ในรูปแบบ Feed-in Tariff พ.ศ
อำนาจสืบสวน สอบสวน (มาตรา 17-21)
การเปลี่ยนแปลงประมาณการทางบัญชี และข้อผิดพลาด
หลักเกณฑ์การเก็บรักษาข้อมูลจราจรทางคอมพิวเตอร์ ของผู้ให้บริการ
สำนักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ จังหวัดเชียงใหม่
ศาสนาเชน Jainism.
จรรยาบรรณวิชาชีพและกฎหมายสำหรับการท่องเที่ยวและการโรงแรม
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
ขอบเขตของงานการจัดซื้อ
มารู้จักและมีส่วนร่วมในกิจกรรม CSR ของ สศช. กันเถอะ
มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
บทที่ 7 นิติบุคคล (Juristic Persons)
ลักษณะของกฎหมายระหว่างประเทศ อ.ดร. นวพร เสนีย์วงศ์ ณ อยุธยา
จริยธรรม (Ethics) คืออะไร
กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา
MTRD 427 Radiation rotection - RSO
บทที่ 7 การบัญชีภาษีมูลค่าเพิ่ม
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
วิชากฎหมายล้มละลาย
ใบสำเนางานนำเสนอ:

กฏหมายสำหรับนักศึกษาพยาบาล โดย นางวารุณี สุรนิวงศ์ อดีตที่ปรึกษากฎหมายของสภาการพยาบาล โทรศัพท์ ๐๘๑ ๘๑๗ ๗๔๒๐

ความรู้เกี่ยวกับกฏหมายทั่วไป กฎหมาย คือ กฏเกณท์ที่รัฐหรือผู้มีอำนาจกำหนดขึ้น เพื่อควบคุมความประพฤติของมนุษย์ที่อาจก่อให้เกิดความไม่เป็นระเบียบเรียบร้อยในสังคม หากผู้ใดฝ่าฝืนจะต้องได้รับโทษ * ลักษณะหรือองค์ประกอบที่สำคัญของกฎหมาย 1. ต้องเป็นระเบียบ กฎเกณท์ ข้อบังคับที่ใช้บังคับโดยทั่วไปในสังคม 2. กำหนดขึ้นโดยรัฐหรือผู้มีอำนาจในองค์กร 3. เพื่อควบคุมความประพฤติ / บังคับพฤติกรรมของมนุษย์ 4. ต้องมีสภาพบังคับ

ความรู้เกี่ยวกับกฎหมายทั่วไป (ต่อ) ระบบของกฎหมาย 1.กฎหมายลายลักษณ์อักษร (Civil Law ) เป็นการจัดระบบโดยนำคำพิพากษาของศาลและ การตีความนักปราชญ์ทางกฎหมายจนได้กฎหมาย ที่มีการบันทึกเป็นลายลักษณ์อักษร เช่น ไทย ญี่ปุ่น อิตาลี เยอรมัน ฝรั่งเศส

ความรู้เกี่ยวกับกฎหมายทั่วไป (ต่อ) ลำดับชั้นหรือศักดิ์ของกฎหมายลายลักษณ์อักษร - รัฐธรรมนูญ - ประมวลกฎหมาย - พระราชบัญญัติ - พระราชกำหนด - พระราชกฤษฏีกา - กฎกระทรวง - ระเบียบ ข้อบังคับ ประกาศ คำสั่ง - กฎหมายที่ออกโดยองค์กรปกครองตนเอง เช่น ข้อบัญญัติ เทศบัญญัติ

ความรู้เกี่ยวกับกฎหมายทั่วไป (ต่อ) 2. จารีตประเพณี ( Commmon Law ) - มีระบบพิพากษาอาศัยจากคดีที่คล้ายกันและผู้พิพากษาคนก่อนตัดสินใว้ - สร้างเกณฑ์พิจารณาคดีโดยจัดตั้งศาลและส่งผู้พิพากษาไปตัดสินคดีทั่วประเทศ จนเกิดเป็นเกณฑ์ / บรรทัดฐาน - เป็นคำตัดสินของผู้พิพากษาที่ปฏิบัติสืบต่อกันมา เช่นอินเดีย ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ อังกฤษ สหรัฐฯ

ความรู้เกี่ยวกับกฎหมายทั่วไป (ต่อ) ประเภทของกฎหมาย 1. กฎหมายมหาชน (public law) เป็นกฎหมายที่กำหนดความสัมพันธ์ของรัฐ/หน่วยงานของรัฐกับประชาชนที่รัฐมีอำนาจปกครองและอยู่เหนือประชาชน เพื่อความสงบสุขของประชาชนและความมั่งคงของประเทศ 2. กฎหมายเอกชน (Private law) เป็นกฎหมายที่กำหนดความสัมพันธ์ระหว่างเอกชนด้วยกัน หรือรัฐและรัฐวิสาหกิจที่ดำเนินธุรกิจแบบเอกชน(การท่องเที่ยว ฯ การบินไทย) มีอำนาจเท่าเทียมกัน

ความรู้เกี่ยวกับกฎหมายทั่วไป (ต่อ) 3. กฏหมายระหว่างประเทศ (International law) เป็นกฎหมายที่กำหนดความสัมพันธ์ระหว่างประเทศเอกราช โดยมีข้อตกลงหรือสนธิสัญญาระหว่างประเทศ

การบังคับใช้กฏหมาย ใช้กับประชาชนทุกคนและคนต่างด้าวที่อยู่ในอาณาเขตไทย ยกเว้น พระมหากษัตริย์ ประมุขของรัฐต่างประเทศและข้าราชบริพารที่เยี่ยมเยียนทางการทูต สมาชิกในสถานทูตและบริวาร ครอบคลุมราชอาณาจักรไทย (ผืนดิน พื้นน้ำ ทะเล อากาศ เรือไทยและอากาศยานไทย) กรณีปกติใช้บังคับตามวันที่ที่ระบุไว้ในกฎหมายนั้น ถ้าไม่ระบุให้ถือวันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษา กรณีเร่งด่วน ให้ใช้บังคับได้ทันทีในวันที่ประกาศในราชกิจจาฯ

การยกเลิกกฏหมาย การยกเลิกโดยชัดแจ้ง เช่น ยกเลิกตามวันที่กฎหมายระบุ / ยกเลิกโดยกฎหมายใหม่ที่มีศักดิ์เท่ากันหรือสูงกว่า / รัฐสภาไม่อนุมัติพระราชกำหนด การยกเลิกโดยปริยาย เช่น กฎหมายเรื่องเดียวกันสองฉบับ แต่มีข้อความขัดแย้งกัน - ถ้าศักดิ์เท่ากัน กฎหมายเก่าก็จะถูกยกเลิก - ถ้าศักดิ์ต่างกัน กฏหมายที่มีศักดิ์ต่ำกว่าจะถูกยกเลิก

กฏหมายแพ่ง 1. กฎหมายแพ่ง 2. ลักษณะของกฎหมาย - เป็นกฎหมายเอกชน - ทั้งสองฝ่ายตกลงทำสิ่งหนึ่งสิ่งใด - ความเสียหายเป็นเรื่องเฉพาะตัว 2. ลักษณะของกฎหมาย - กำหนดความสัมพันธ์ระหว่างเอกชนกับเอกชน - เกี่ยวข้องกับชีวิตตั้งแต่เกิดจนตาย

กฎหมายแพ่ง (ต่อ) 3. ความผูกพันทางแพ่ง - ความสมัครใจของคู่กรณี - นิติกรรมสัญญา 4. ความรับผิดทางแพ่ง - ความรับผิดตามสัญญา - ความรับผิดจากการละเมิด - พรบ.ว่าด้วยความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ ฯ

กฎหมายแพ่ง (ต่อ) - ความสมัครใจของคู่กรณี - นิติกรรมสัญญา 3. ความผูกพันทางแพ่ง - ความสมัครใจของคู่กรณี - นิติกรรมสัญญา 4. นิติกรรม คือการกระทำของบุคคลด้วยความสมัครใจและถูกต้องตามกฎหมาย มุ่งให้เกิดการเปลี่ยนแปลง โอน สงวน หรือระงับสิทธิระหว่างบุคคล

กฎหมายแพ่ง (ต่อ) ความสามารถของบุคคล ผู้เยาว์ (ยังไม่บรรลุนิติภาวะ) ต้องได้รับความยินยอมจากผู้แทนโดยชอบธรรม (บิดามารดาหรือผู้ปกครอง) - ถ้าไม่ได้รับความยินยอมจะเป็นโมฆียะจนกว่าผู้เยาว์หรือผู้แทนโดยชอบธรรมจะบอกเลิกนิติกรรมในภายหลัง - ถ้ารู้เห็นการทำนิติกรรมของผู้เยาว์แล้วไม่ทักท้วง ถือว่าให้ความยินยอมโดยปริยาย

ผู้เยาว์ทำนิติกรรมเองโดยไม่ต้องได้รับความยินยอม นิติกรรมที่ทำให้ผู้เยาว์ได้รับประโยชน์ฝ่ายเดียวโดยไม่มีเงื่อนไขผูกพันใด ๆ เช่น รับของที่มีผู้ให้โดยเสน่หา นิติกรรมที่ผู้เยาว์ต้องกระทำเองเฉพาะตัว เช่น การทำพินัยกรรมเมื่ออายุครบ 15 ปีบริบูรณ์ ขึ้นไป นิติกรรมที่สมควรแก่ฐานะและจำเป็นแก่การดำรงชีพ เช่น การซื้ออาหาร เครื่องดื่มและของใช้ในชีวิตประจำวัน การว่าจ้างรถไปโรงเรียน การจำหน่ายทรัพย์สิน ประกอบธุรกิจการค้าหรือสัญญาจ้างแรงงานที่ผู้แทนโดยชอบธรรมได้อนุญาตหรือยินยอมผู้เยาว์กระทำต่อเนื่องได้

กฎหมายแพ่ง (ต่อ) คนไร้ความสามารถ คือ คนวิกลจริต (บุคคลที่สมองพิการหรือจิตใจผิดปกติโดยมีอาการหนักขนาดเสียสติพูดไม่เข้าใจและไม่รู้ผิดชอบชั่วดี) หรือบุคคลที่อยู่ในภาวะผัก หากทำนิติกรรมโดยไม่ได้รับความยินยอมจากผู้อนุบาลก่อนถือว่าเป็นโมฆียะ นิติกรรมบางอย่าง (การสมรส และการทำพินัยกรรม) หากคนไร้ความสามารถหรือผู้อนุบาลทำก็เป็นโมฆะ

กฎหมายแพ่ง (ต่อ) คนเสมือนไร้ความสามารถ คือ บุคคลที่ไม่สามารถจัดการงานได้เอง หรือจัดกิจการในทางเสื่อมเสียแก่ทรัพย์สินของตนหรือครอบครัว หรือไม่สามารถทำงานได้เนื่องจากมีเหตุบกพร่อง คือกายพิการ(พิการทางสมอง / อัมพาต) จิตฟั่นเฟือน ประพฤติ สรุ่ยสุร่าย เสเพล เสพสุรามึนเมาหรือยาเสพติดจนเป็นนิสัยและเลิกไม่ได้ มีอาการมึนเมาไม่เหลือสภาพปกติ ทำนิติกรรมโดยไม่ได้รับความยินยอมจากผู้พิทักษ์ ถือว่าเป็นโมฆียะ

กรณีผู้เสียหายถึงแก่ความตาย 1. ค่าปลงศพและค่าใช้จ่ายอันจำเป็นอย่างอื่น 2. ค่าขาดไร้อุปการะตามกฎหมาย 3. ค่าขาดแรงงาน

กรณีผู้เสียหายไม่ถึงแก่ความตาย 1. ค่ารักษาพยาบาล 2. ค่าขาดประโยชน์ทำมาหาได้ในระหว่างเจ็บป่วย 3. ค่าเสียความสามารถประกอบการงานในอนาคต 4. ค่าเสียหายอื่นที่ไม่ใช่ตัวเงิน

กฏหมายอาญา 1.กฎหมายอาญา - เป็นกฎหมายรักษาความสงบเรียบร้อยของบ้านเมือง - เป็นกฎหมายมหาชน - เป็นกฎหมายรักษาความสงบเรียบร้อยของบ้านเมือง - เป็นกฎหมายที่ควบคุมบุคคลมิให้ละเมิดสิทธิผู้อื่น - เป็นกฏหมายว่าด้วยการกระทำผิดและกำหนดโทษ

กฎหมายอาญา (ต่อ) 3. ความผิดทางอาญา - เป็นกฎหมายที่ชัดแจ้ง 2. ลักษณะความผิดทางอาญา - เป็นกฎหมายที่ชัดแจ้ง - เป็นกฎหมายที่ไม่มีผลย้อนหลัง 3. ความผิดทางอาญา - ความผิดต่อแผ่นดิน - ความผิดต่อส่วนตัว

กฎหมายอาญา (ต่อ) 4. โทษทางอาญา - ประหารชีวิต - จำคุก - กักขัง - ปรับ - ริบทรัพย์สิน

6. ข้อยกเว้นไม่ต้องรับผิดทางอาญา กฎหมายอาญา (ต่อ) 5. ความรับผิดทางอาญา - การกระทำโดยเจตนา - การกระทำโดยประมาท 6. ข้อยกเว้นไม่ต้องรับผิดทางอาญา - การป้องกันโดยชอบด้วยกฎหมาย - ผู้เสียหายยินยอมให้กระทำ - กฎหมายประเพณี - กฏหมายอื่น

กฎหมายอาญา (ต่อ) 7. การปฏิบัติการพยาบาลกับความผิดทางอาญา การไม่ช่วยเหลือหรือปฏิเสธการประกอบวิชาชีพ มาตรา 374 (1 เดือน / 1,000 บาท ) เห็นผู้อื่นตกอยู่ในอันตรายแห่งชีวิต ตนอาจช่วยได้โดยไม่กลัวอันตรายแก่ตนหรือผู้อื่น ไม่ช่วยตามความจำเป็น

ประกอบวิชาชีพโดยผู้ป่วยไม่ยินยอม มาตรา 309 (3 ปี / 6,000 บาท) ประกอบวิชาชีพโดยผู้ป่วยไม่ยินยอม มาตรา 309 (3 ปี / 6,000 บาท) บังคับข่มขืนใจผู้อื่นให้กระทำหรือไม่กระทำหรือจำยอมต้องกระทำการรักษา ทำให้กลัวว่า จะเกิดอันตรายต่อชีวิต เสรีภาพ ชื่อเสียงหรือทรัพย์สิน หรือ ใช้กำลังประทุษร้ายจนผู้ถูกข่มขืนใจต้องกระทำ/ไม่กระทำการนั้น/จำยอมต่อสิ่งนั้น

ประกอบวิชาชีพโดยผู้ป่วยไม่ยินยอม (ต่อ) มาตรา 310 (3 ปี / 6,000 บาท) หน่วงเหนี่ยวหรือกักขัง ปราศจากเสรีภาพ ถ้าตายหรืออันตรายสาหัส(อาจมีโทษฐานทำร้ายร่างกายอีก)มาตรา 290 มาตรา 297หรือมาตรา 298

ความผิดฐานทอดทิ้งหรือปล่อยปละละเลยผู้ป่วย มาตรา 307 3 ปี/ 6,000 บาท มีหน้าที่ตามกฎหมายหรือสัญญา ต้องดูแลผู้ที่พึ่งตนเองไม่ได้เพราะอายุ ความเจ็บป่วย กายพิการ/จิตพิการ ทอดทิ้งโดยน่าจะเกิดอันตรายถึงชีวิต มาตรา 373 (500 บาท) ปล่อยปละละเลยให้ผู้วิกลจริตออกไปเที่ยวโดยลำพัง

ความผิดฐานเปิดเผยความลับ มาตรา 323 (6 เดือน / 1,000 บาท) ล่วงรู้ความลับของผู้อื่นโดยเหตุที่ประกอบวิชาชีพ เปิดเผยความลับในประการที่น่าจะเกิดความเสียหายแก่ผู้หนึ่งผู้ใด

ความผิดฐานประมาท กระทำโดยไม่เจตนา มาตรา 59 วรรค 4 กระทำโดยไม่เจตนา กระทำโดยปราศจากความระมัดระวังซึ่งบุคคลในภาวะเช่นนั้นจักต้องมีตามวิสัยและพฤติการณ์ ผู้กระทำอาจใช้ความระมัดระวังได้ แต่หาได้ใช้ให้เพียงพอไม่

ความผิดฐานประมาท (ต่อ) ผู้ป่วยได้รับอันตรายเล็กน้อย มาตรา 390 ( 1 เดือน/ 1,000 บาท กระทำโดยประมาท เป็นเหตุให้ผู้อื่นได้รับอันตรายแก่กายและจิตใจ ผู้ป่วยได้รับอันตรายสาหัส มาตรา 300 (3 ปี / 6,000 บาท) - ตาบอด หูหนวก ลิ้นขาดหรือเสียฆานประสาท - เสียอวัยวะสืบพันธุ์หรือความสามารถสืบพันธุ์

เสียแขน ขา มือ เท้า นิ้วหรืออวัยวะอื่น - หน้าเสียโฉมอย่างติดตัว - แท้งลูก - จิตพิการอย่างถาวร - ทุพพลภาพหรือเจ็บป่วยเรื้อรังซึ่งอาจถึงชีวิต - ทุพพลภาพหรือเจ็บป่วยด้วยอาการทุขเวทนาเกินกว่า 20 วันหรือจนประกอบกรณียกิจตามปกติไม่ได้เกินกว่า 20 วัน

ผู้ป่วยได้รับอันตรายถึงแก่ความตาย มาตรา 291 (10 ปี / 20,000 บาท) - กระทำโดยประมาท - เป็นเหตุให้ผู้อื่นถึงแก่ความตาย

ความผิดฐานทำหรือรับรองเอกสารอันเป็นเท็จ ทำคำรับรองเป็นเท็จ มาตรา 269 (2 ปี / 4,000 บาท) เป็นผู้ประกอบวิชาชีพ ทำคำรับรองเอกสารอันเป็นเท็จ ปลอมเอกสาร มาตรา 264 วรรคสอง ( 3 ปี / 6,000 บาท) กรอกข้อความลงในแผ่นกระดาษหรือวัตถุใด มีลายมือชื่อของผู้อื่นโดยไม่รับความยินยอม/ฝ่าฝืนคำสั่งของผู้อื่น นำไปใช้ในกิจการที่อาจเกิดความเสียหายแก่ผู้หนึ่งผู้ใด/ประชาชน

ความผิดฐานทำให้แท้งลูก มาตรา 301 (3 ปี / 6,000 บาท) ทำให้ตนเองแท้งลูก หรือ ยอมให้ผู้อื่นทำให้ตนแท้งลูก

ความผิดฐานทำให้แท้งลูก(ต่อ) มาตรา 302 ทำให้หญิงแท้งลูกโดยหญิงยินยอม (5 ปี / 10,000 บาท) ถ้าการกระทำนั้นเป็นเหตุให้หญิงได้รับอันตรายสาหัสอย่างอื่นด้วย (7 ปี / 14,000 บาท) ถ้าการกระทำนั้นเป็นเหตุให้หญิงถึงแก่ความตาย( 10 ปี / 20,000 บาท)

มาตรา 305 (ไม่มีความผิด) แพทย์กระทำตามมาตรา 301และมาตรา 302 โดย - จำเป็นต้องทำเพื่อสุขภาพของหญิงนั้น หรือ - หญิงมีครรภ์ เนื่องจากการกระทำความผิดอาญาตาม มาตรา 276 มาตรา 277 มาตรา 282 มาตรา 283หรือมาตรา 284