กลไกการเกิดสปีชีสใหม่ ลำดับขั้นย่อยสุดของการจัดหมวดหมู่สิ่งมีชีวิต ซึ่งประกอบด้วยสิ่งมีชีวิตที่ :- สปีชีส์ (Species) ผสมพันธุ์กันให้ลูกที่ไม่เป็นหมัน มีกลุ่มยีน (gene pool) เดียวกัน เกิด gene flow กันได้ มีโครโมโซมเป็น homologous กัน มียีนเป็น allele กัน มีวิวัฒนาการร่วมกัน มีชื่อวิทยาศาสตร์เดียวกัน
การเกิดสปีชีส์ใหม่ของสิ่งมีชีวิต (Phyletic evolutiion = Anagenesis) 1. วิวัฒนาการสายตรง (Phyletic evolutiion = Anagenesis) สิ่งมีชีวิตสปีชีส์หนึ่งเปลี่ยนไปเป็นอีกสปีชีส์ใหม่ sp. A เปลี่ยนเป็น sp. B จำนวนสปีชีส์ไม่เพิ่ม
(Speciation = Cladogenesis) 2. การแยกแขนงสีปีชีส์ (Speciation = Cladogenesis) การเกิดสปีชีส์ใหม่หลายๆ สปีชีส์ จากสปีชีส์เดิม sp. B sp. A sp. C sp. D sp. E
2.1 Allopatric speciation การเกิดสปีชีส์ใหม่กับประชากรที่อยู่ต่างภูมิศาสตร์กัน (allopatric population)
2.2 Sympatric speciation 1) RIM ก่อนระยะไซโกต การเกิดสปีชีส์ใหม่กับประชากรที่อยู่ในภูมิศาสตร์เดียวกัน (Sympatric population) ก่อให้เกิดสิ่งมีชีวิตหลากหลายที่สุด 2.2.1 กลไกการแบ่งแยกทางการสืบพันธุ์ (Reproductive isolation Mechanism = RIM) กลไกที่ก่อให้เกิด Species ใหม่ได้แน่นอนที่สุด 1) RIM ก่อนระยะไซโกต 2) RIM หลังระยะไซโกต
2.2.2 การเพิ่มจำนวนชุดโครโมโซม (Polyploidy) Autopolyploidy (AAAA) Alloopolyploidy (AABB) ผักกาดแดง 2n = 18 (BB) P. กะหล่ำปลี 2n = 18 (AA) ลูกผสม 2n = 18 (AB) เซลล์สืบพันธุ์บางเซลล์ 2n = 18 (AB) 2n = 18 (AB) ลูก 4n = 36 (AABB) New species
2.2.3 วิวัฒนาการร่วม (Coevolution) สิ่งมีชีวิตมีวิวัฒนาการร่วมกัน ปรับตัวเพื่อการอยู่ร่วมกัน New Species Host เหาอีกา อีกา sp. A sp. I Parasite อีกา sp. B sp. II Ex. เหาอีกา sp. X อีกา sp. C sp. III อีกา sp. D sp. IV