นโยบายการดำเนินงานป้องกันการบาดเจ็บ จากการจราจรในเมืองใหญ่ (City RTI)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ประเด็นในการพัฒนา DHS-PCA
Advertisements

สถานการณ์การบาดเจ็บเสียชีวิต นครราชสีมา เทศกาลสงกรานต์
การบาดเจ็บจากอุบัติเหตุทางถนน ในช่วงเทศกาลสงกรานต์
การพัฒนาสุขภาพกลุ่มวัยทำงาน
สถานการณ์และการเตรียมความพร้อม การป้องกันอุบัติเหตุทางถนน
การแลกเปลี่ยน เรียนรู้ ด้านเฝ้าระวัง การ ป้องกัน ควบคุมโรคและภัย สุขภาพ ระหว่างจังหวัดและ สคร.8 วันที่ 1 ธันวาคม 2552 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครสวรรค์
การอบรมทีมเฝ้าระวังสอบสวนเคลื่อนที่เร็ว(SRRT) เครือข่ายอำเภอเมืองนครปฐม วันที่ 27 มิถุนายน 2557 ณ ห้องประชุมอำเภอเมือง จังหวัดนครปฐม ดรุณี โพธิ์ศรี
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
มาตรการป้องกันควบคุม การบาดเจ็บจากอุบัติเหตุทางถนนในช่วง เทศกาลสงกรานต์ จังหวัด นครศรีธรรมราช.
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
แผนการดำเนินงานปี 2558 กลุ่มโรคติดต่อระหว่างสัตว์และคน
สถานการณ์และการเตรียมความพร้อม การป้องกันอุบัติเหตุทางถนน
เป็นเจ้าภาพหลัก 2 ประเด็น เพื่อเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ปี 2558
การบูรณาการยุทธศาสตร์สุขภาพฯ กลุ่มเด็กวัยเรียน มาตรการ เป้าหมาย วิธีการวัด เป้าหมาย/KPI 1.นโยบายร่วมระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง แผนพัฒนาสุขภาพเด็กวัยเรียนแห่งชาติ/วาระสุขภาพแห่งชาติ
การบูรณาการยุทธศาสตร์สุขภาพ ด้านพัฒนาระบบการคุ้มครองผู้บริโภค
แผนงานย่อย “น้ำมันทอดซ้ำเสื่อมสภาพ”
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
สำนักงานพัฒนาระบบสาธารณสุข
อำเภอควบคุมยาสูบและเครื่องดื่ม แอลกอฮอล์เข้มแข็ง ปี 2556
นโยบายด้านโรคติดต่อ ศ. คลินิกเกียรติคุณ นพ. ปิยะสกล สกลสัตยาทร รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข.
๒ ปี...ก้าวย่างของการพัฒนา
วันที่ 25 มกราคม 2559 เวลา – น. ณ โรงแรมพลูแมน ขอนแก่น นายแพทย์อัษฎางค์ รวยอาจิณ รองอธิบดี กรมควบคุมโรค.
สำนักบูรณาการสาธารณภัย อุบัติภัย และความปลอดภัยทางถนน มิติการพัฒนา องค์กร มิติประสิทธิภาพของ การปฏิบัติราชการ มิติคุณภาพ การให้บริการ มิติประสิทธิผล ตามยุทธศาสตร์
การจัดการข้อมูล 3 ฐาน จังหวัดร้อยเอ็ด นางสุภาภรณ์ ทัศนพงศ์ สสจ. ร้อยเอ็ด.
สำนักโรคติดต่อทั่วไป กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข.
เทศบาลนคร นครศรีธรรมราช จังหวัด นครศรีธรรมราช. ผศ. เชาวน์วัศ เสน พงศ์ นายกเทศมนตรีนคร นครศรีธรรมราช.
โดย นายแพทย์ณัฐพร วงษ์ศุทธิภากร รองอธิบดีกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข “เรียนรู้ สิ่งแวดล้อม สร้างสรรค์” นโยบายการดำเนินงานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม กรมอนามัย.
สงกรานต์ ๒๕๕๗. ร่วมสร้างวัฒนธรรมความปลอดภัย สงกรานต์ ทั่วไทยไร้อุบัติเหตุ  จะร่วมสร้างวัฒนธรรมความ ปลอดภัยกันอย่างไร  จะทำสงกรานต์ทั่วไทยไร้อุบัติเหตุ
ชุมชนปลอดภัย.
แผนยุทธศาสตร์การคุ้มครองผู้บริโภคแห่งชาติ ฉบับที่ 1 (พ.ศ )
สำนักโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค วันที่ 17 ตุลาคม 2560
แนวทาง การดำเนินงาน ป้องกันการจมน้ำ สำนักโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค
การพัฒนาคุณภาพชีวิตในการทำงาน (Quality of Work Life)
การประเมินความจำเป็นด้านสุขภาพ Health Needs Assessment - HNA
สายส่งเสริมตามกลุ่มวัยและประเด็น
แนวทางการปฏิบัติงานตามข้อสั่งการ ของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
ระบบรายงานอุบัติภัยทางถนน e - Report
งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรคและภัยสุขภาพ
ส้วมสะอาดในร้านอาหาร
ตัวชี้วัดที่ 1 : อัตราส่วนการตายมารดาไทย ค่าเป้าหมายไม่เกิน 20 ต่อการเกิดมีชีพแสนราย เปรียบเทียบอัตราส่วนการตายมารดารายเขต ปี 2560 กับ 2561ในช่วงเวลาเดียวกัน.
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
โดย ศรีปัญญา ม่วงเพ็ชร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
โครงการกำจัดปัญหาโรคพยาธิใบไม้ตับและมะเร็งท่อน้ำดี ถวายเป็นพระราชกุศลฯ
การบริหารงานประชาสัมพันธ์ของจังหวัด : การประชาสัมพันธ์และการจัดการสื่อ
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูลเพื่อการพัฒนาชุมชน ปี 2561
นโยบายการขับเคลื่อน การสร้างเสริมความรอบรู้ด้านสุขภาพของคนไทย ยุค 4.0
ในช่วงเทศกาลสงกรานต์ พ.ศ.2560
ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จขององค์กรปกครอง
ข้อเสนอต่อการพัฒนา ระบบการสร้างเสริมสุขภาพ ของประเทศไทย
“การดำเนินงานป้องกันการบาดเจ็บจากการจราจร” (Road Traffic Injury)
ณ ห้องประชุมกำธร สุวรรณกิจ
พัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย (9 ตัว) กลุ่มเด็กปฐมวัย (๐-๕ ปี)/สตรี 1.อัตราส่วนการตายของมารดาไม่เกิน15ต่อการเกิดมีชีพแสนคน 2.ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัย.
การเสียชีวิตจากการบาดเจ็บ
แพทย์หญิงศศิธร ตั้งสวัสดิ์
ความก้าวหน้าในการดำเนินงาน Product Champion Cluster วัยรุ่น
จุดเน้นการดำเนินงานป้องกัน ควบคุมโรค และภัยสุขภาพ ประจำปีงบประมาณ
การเสียชีวิตจากการบาดเจ็บจากจราจรทางถนน
ความปลอดภัยด้านอาหารและน้ำ
นโยบายการดำเนินงานป้องกันการบาดเจ็บ จากการจราจรในเมืองใหญ่ (City RTI)
การใช้ข้อมูลต่างๆ เพื่อการ ป้องกัน แก้ไข การบาดเจ็บจากอุบัติเหตุ
อัตราส่วนการตายมารดาไทย
Reff: นายพีรวัฒน์ ตั้งตระกูล สสจ.นครพนม นายประดอม ไพสน สสจ.บึงกาฬ
ทิศทางการดำเนินงานลดโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD)
การดำเนินงานเขตเศรษฐกิจพิเศษและแรงงานต่างด้าว
สรุปผลการดำเนินงานการใช้ยาอย่างสมเหตุผล (RDU) ไตรมาส 4 ปีงบประมาณ 2560
โครงการพัฒนารูปแบบการดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน : ชุมชนลดเสี่ยง ลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง.
นโยบายการขับเคลื่อน อาหารปลอดภัยของประเทศ
พัฒนาแผนงาน / ยุทธศาสตร์
จุฑารัตน์ สะธรรมกิจ ศูนย์อนามัยที่ 5 ราชบุรี
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
ใบสำเนางานนำเสนอ:

นโยบายการดำเนินงานป้องกันการบาดเจ็บ จากการจราจรในเมืองใหญ่ (City RTI) นายแพทย์อำนวย กาจีนะ อธิบดีกรมควบคุมโรค

การเสียชีวิตของประชากรไทย พ.ศ. 2556 จำแนกตามอายุ เพศ และกลุ่มโรค สถานการณ์ปัญหาสุขภาพ การเสียชีวิตของประชากรไทย พ.ศ. 2556 จำแนกตามอายุ เพศ และกลุ่มโรค แหล่งข้อมูล : การสูญเสียปีสุขภาวะ Disability-Adjusted Life Year : DALY รายงานภาระโรคและการบาดเจ็บของประชากรไทย พ.ศ. 2556

สถานการณ์ปัญหาสุขภาพของประชากรไทย พ.ศ.2556 การสูญเสียปีสุขภาวะของประชากรไทย จำแนกตามเพศและรายโรคทุกกลุ่มอายุ (10 อันดับแรก) การสูญเสียปีสุขภาวะของประชากรไทยอายุ 15 -29 ปี ชาย หญิง ลำดับโรค ร้อยละ 1. อุบัติเหตุทางถนน 32.5 12.9 2. การถูกทำร้าย 7.1 2. โรคซึมเศร้า 11.1 3. เสพย์ติดเครื่องดื่มที่มีAlc 6.8 3. การติดเชื้อ HIV AIDs 8.6 4. การติดเชื้อ HIV /AIDs 6.2 4. ภาวะโลหิตจาง 7.5 5. การทำร้ายตนเอง 3.6 5. โรควิตกกังวล ชาย หญิง ลำดับโรค ร้อยละ 1. การเสพติดเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ 8.8 1. โรคหลอดเลือดสมอง 8.2 2. อุบัติเหตุทางถนน 8.0 2. โรคเบาหวาน 7.9 3. โรคหลอดเลือดสมอง 6.9 3. โรคซึมเศร้า 5.4 4. โรคมะเร็งตับ 4.4 4. โรคหัวใจขาดเลือด 4.1 5.โรคหัวใจขาดเลือด 5. ต้อกระจก 3.7 6. การติดเชื้อ HIV/ เอดส์ 4.2 6. โรคข้อเสื่อม 3.2 7. โรคเบาหวาน 3.9 7.การติดเชื้อ HIV/ เอดส์ 2.9 8. โรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง 3.4 8.อุบัติเหตุทางถนน 2.7 9. ภาวะตับแข็ง 3.3 9.ภาวะโลหิตจาง 2.6 10.โรคมะเร็งหลอดลมและปอด 2.3 10.โรคมะเร็งตับ 2.5 การสูญเสียปีสุขภาวะของประชากรไทยอายุ 30 - 59 ปี ชาย หญิง ลำดับโรค ร้อยละ 1. เสพย์ติดเครื่องดื่มที่มี Alc 13.2 1. โรคซึมเศร้า 8.1 2. อุบัติเหตุทางถนน 8.0 2. โรคเบาหวาน 6.5 3. การติดเชื้อ HIV /AIDs 6.8 3. โรคข้อเข่าเสื่อม 5.5 4. โรคหลอดเลือดสมอง 6.3 5. โรคมะเร็งตับ 5.4 5. การติดเชื้อ HIV AIDs 5.2 การสูญเสียปีสุขภาวะ Disability-Adjusted Life Year : DALY รายงานภาระโรคและการบาดเจ็บของประชากรไทย พ.ศ. 2556

แหล่งข้อมูล : จากระบบ e-claim ของบริษัทกลางคุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถ จำกัด

การขับเคลื่อนนโยบายในระดับประเทศ เพื่อการบูรณาการ กรมควบคุมโรคและคณะผู้บริหารเข้าพบหารือความร่วมมือกับอธิบดีกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น (นายจรินทร์ จักกะพาก) ที่ประชุมได้ให้ความสำคัญกับการแก้ไขปัญหาอุบัติเหตุทางถนนในเมืองใหญ่ และพร้อมให้ความร่วมมือในการแก้ไขปัญหา นำร่องความร่วมมือกับเทศบาลนครทุกแห่งทั่วประเทศ มีหนังสือจากกระทรวงมหาดไทยให้มีการจัดตั้งศูนย์อำนวยการความปลอดภัยทางถนนเทศบาลนครขึ้น

MOU ร่วมกับเทศบาล 7 แห่ง วันที่ 8 มิถุนายน 2559

บทบาทของกรมควบคุมโรค 1. แต่งตั้งคณะกรรมการขับเคลื่อนการป้องกันการบาดเจ็บจากการจราจรในเมืองใหญ่ (City RTI) 2. แต่งตั้งคณะกรรมการร่วมประเมินภายนอกสำหรับการขับเคลื่อนการป้องกันการบาดเจ็บจากการจราจร ในเมืองใหญ่ ( Joint External Evaluation Panel) 3. จัดทำแนวทางการดำเนินงาน City RTI สำหรับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น สคร. และสสจ. 4. จัดทำแนวทางและผังการติดตามความก้าวหน้าของการดำเนินงาน (Progress Monitoring Dashboard) 5. จัดการประชุมคณะกรรมการขับเคลื่อนการป้องกันการบาดเจ็บจากการจราจรในเมืองใหญ่ (City RTI) ศึกษาดูงานการเลือก Traffic Safety Zones และอบรมการวิเคราะห์การบาดเจ็บจากวิดีโอ 6. จัดการประชุมเชิงปฏิบัติการร่วมกับเทศบาลนครทั่วประเทศ30 แห่ง เพื่อชี้แจงและนำเสนอรูปแบบการ ดำเนินงานของเทศบาลที่เป็นรูปธรรม 7. สนับสนุนองค์ความรู้ในการจัดการข้อมูล และการสอบสวนในพื้นที่ โดยสำนักงานป้องกันควบคุมโรค

บทบาทของเทศบาล จัดให้มีกลไกการจัดการข้อมูล เพื่อเฝ้าระวังติดตามสถานการณ์อย่างทันท่วงที (Situation Room) ในการจัดการความเร็ว จัดการจุดเสี่ยง พัฒนาพื้นที่ควบคุมพิเศษเพื่อเป็นเขตจราจรปลอดภัย (Traffic Safety Zones)ในการใช้พื้นที่จราจร การส่งเสริมการสวมหมวกนิรภัย การใช้โทรศัพท์มือถือขณะขับขี่ การใช้สารเสพติดขณะขับขี่ การจัดการความปลอดภัยในเด็ก การจัดการความปลอดภัยของรถจักรยาน และมาตรการองค์กรความปลอดภัยทางถนน

Situation Room หรือ Control room บันทึกภาพ CCTV เหตุการณ์ต่างๆ ทั้งอาชญากรรม อุบัติเหตุการจราจร สนับสนุนการทำงานด้านอาชญากรรมของเจ้าหน้าที่ตำรวจ วิเคราะห์เหตุการณ์ สอบสวนหาสาเหตุ แก้ไขความเสี่ยง และจุดเสี่ยง บันทึกจุดเกิดเหตุในแผนที่ GIS เฝ้าระวังพฤติกรรมเสี่ยงต่อการการบาดเจ็บ เช่น การไม่สวมหมวกนิรภัย การขับรถเร็ว การใช้พื้นผิวจราจร กำหนดเป็นพื้นที่ควบคุมพิเศษ Traffic Safety Zones

Traffic Safety Zones Traffic Safety Zones : การกำหนดพื้นที่ที่มีความเสี่ยงต่อการเกิดอุบัติสูง เพื่อเป็นเขตควบคุมพิเศษสำหรับเป็นเขตจราจรปลอดภัย มีการจัดทำป้ายสัญลักษณ์เขตจราจรปลอดภัย การบังคับใช้กฎหมาย ติดตั้งกล้อง CCTV เก็บข้อมูลการเกิดเหตุและสอบสวนหาสาเหตุ ถนนที่เกิดเหตุสูง ถนนที่มีการสัญจรคับคั่ง ใช้ความเร็วสูง ถนนที่มีการกำหนดเป็นเลนจักรยาน จุด/บริเวณที่มีความเสี่ยง เช่น หน้าโรงเรียน หน้าตลาดสด/ตลาดนัด

จบการนำเสนอ