ทิศทางการส่งเสริมการศึกษาเอกชน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ทิศทางการศึกษา ในโลกยุคใหม่ ดร. สุรัตน์ ดวงชาทม ผู้อำนวยการสำนักงาน เขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษามหาสารคาม เขต 1.
Advertisements

Skills Development and Lifelong Learning: Thailand in 2010s Tipsuda Sumethsenee Office of the Education Council Thailand’s Ministry of Education.
สาระสำคัญแผนยุทธศาสตร์ 20 ปี (พ.ศ ) มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
ร่าง ปี 2562 (ณ 8 ก.ย. 60) 2. ด้านการสร้างความสามารถในการแข่งขัน
การประชุมเชิงปฏิบัติการ การออกแบบการจัดการเรียนรู้
องค์ประกอบที่ 1 หลักสูตร องค์ประกอบที่ 1 หลักสูตร “หลักสูตรผลิตครู 5 ปี ให้เป็นวิชาชีพชั้นสูง เป็นหลักสูตรที่ได้ มาตรฐานวิชาการ และมาตรฐานวิชาชีพครู
ประชุมผู้บริหารการศึกษา และผู้บริหารสถานศึกษา
สรุปการดำเนินงาน ตามนโยบายสำคัญของกระทรวงศึกษาธิการ
แผนปฏิบัติการ สพฐ. ปี 2554.
สรุปผลการดำเนินงาน โครงการจัดการเรียนรู้ทางด้านสะเต็มศึกษา ปี ๒๕๕๘
ยินดีต้อนรับ คณะกรรมการตรวจประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ระดับหลักสูตร/สาขาวิชา ประจำปีการศึกษา 2558.
นโยบายด้านการทดสอบและมาตรฐานด้าน การประเมิน
วันที่ 30 พฤษภาคม 2560 และ 20 มิถุนายน 2560
การอาชีวศึกษาระบบทวิภาคี (DVE : Dual Vocational Education)
โรงเรียนในเตาพิทยาคม อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง
การพัฒนาคุณภาพการศึกษา ด้วยเทคโนโลยีการศึกษาทางไกล
ชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ
Data mining สุขฤทัย มาสาซ้าย.
นำเสนอโดยนายอนุสรณ์ โชติชื่น และนายสมศักดิ์ พัดพรม
หน่วยที่ 2 การวิเคราะห์ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ (NT/O-NET)
การประชุมผู้บริหารสถานศึกษา ครูและบุคลากรทางการศึกษา
การรับบุคคลเข้าศึกษาในระดับปริญญาตรี
กฎหมายการศึกษาไทย.
ดร.จันทร์ ติยะวงศ์ คณะศึกษาศาสตร์และศิลปศาสตร์ วิทยาลัยนครราชสีมา
สำนักอนามัยสิ่งแวดล้อม กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข
ดร.จันทร์ ติยะวงศ์ คณะศึกษาศาสตร์และศิลปศาสตร์ วิทยาลัยนครราชสีมา
“พัฒนาฝีมือแรงงาน ประจำปี พ.ศ ”
แนวทางขับเคลื่อนการดำเนินงาน 4 ศูนย์เรียนรู้
กับการก้าวสู่ยุคประเทศไทย 4.0
แผนบริหารความเสี่ยง (องค์กร) ปี 2562 มทร.พระนคร
การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน
กลุ่ม 2 เทคนิคการบริหารหลักสูตรสู่ความเป็นเลิศ
โรงเรียนคุณภาพประจำตำบล
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาพระนครศรีอยุธยา เขต 1
การปฏิรูปการศึกษาเพื่อพัฒนาคนอย่างยั่งยืน พ.ศ
ชีวิตหลังจบมหาวิทยาลัย = 0 เล่าให้น้อง ๆ โดยพี่ยักษ์ (จตุพร สวัสดี)
การเตรียมความพร้อม สหกิจศึกษา
“การบริหารจัดการแรงงานต่างด้าว” ผู้ช่วยจัดหางานจังหวัดนครสวรรค์
ของ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษา ขั้นพื้นฐาน
สำนักบริการคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
การเรียนรู้ ในศตวรรษที่ ๒๑
โดย ดร.ปราณี คงพิกุล ผอ.กลุ่มนิเทศติดตามและประเมินผลการศึกษา
๓.จัดระบบบริหารและสารสนเทศ
ผู้อำนวยการวิทยาลัยเทคโนโลยีไทย-ไต้หวัน (BDI)
หมู่บ้านอาสาพัฒนาและป้องกันตนเอง
ในวันที่ 6 กุมภาพันธ์ 2560 เวลา 1๓.00 – น.
ข้อกำหนดการศึกษา (TERM OF REFERENCE)
ปฏิรูปการเรียนรู้ ครูและผู้เรียน ด้วย Active Learning PLC และการนิเทศ
นายดำหริ งิมสันเทียะ ผอ.สพป.อย.1
การปฏิรูปการศึกษา การบริหารราชการ ในภูมิภาค.
รอบสามประเมินกลุ่มตัวบ่งชี้ที่ 1-5)
รายงานสรุปผลการพัฒนา
การศึกษา ในฐานะเป็นปัจจัย กำลังอำนาจแห่งชาติ
นโยบายการบริหารจัดการอาชีวศึกษา
ชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ
ศูนย์อำนวยความสะดวก (TM Clearing House)
การประชุมแลกเปลี่ยน เรียนรู้และสังเคราะห์บทเรียน 3 ปี
รอบที่ ๑ (๑ ตุลาคม ๒๕๖๑ – ๓๑ มีนาคม ๒๕๖๒
ทิศทางการศึกษาเอกชน พ.ศ. 2551
12-13 พฤษภาคม 2561 ณ หอประชุมภัคพิพิธ โรงเรียนหาดใหญ่วิทยาลัย ๒
ความสัมพันธ์ระหว่างรูปเรขาคณิต
มโนทัศน์การจัดการศึกษา แห่งอนาคตใหม่
แรงงานมีทักษะฝีมือสอดคล้องตาม ความต้องการในพื้นที่
การขับเคลื่อนการปฏิรูปการศึกษา ของกระทรวงศึกษาธิการในภูมิภาค
การแต่งกายของเจ้าหน้าที่ ที่ปฏิบัติงานสาธารณสุข
บรรยายโดย พันเอก ณัฐพงษ์ เพราแก้ว
สรุปผลการดำเนินงาน โครงการพัฒนาคุณภาพการศึกษาและการพัฒนาท้องถิ่น โดยมีสถาบันอุดมศึกษาเป็นพี่เลี้ยง ประจำปีงบประมาณ พ.ศ
การส่งเสริมการจ้างยุวแรงงานและพัฒนาทักษะผู้ต้องขังที่จะพ้นโทษในรูปแบบกลไกประชารัฐ นโยบายเร่งด่วน (Agenda Based) : ส่งเสริมการจ้างยุวแรงงาน เป้าหมาย 10,230.
อุปนายกสมาคมวิจัยและพัฒนาการศึกษา ดร.พรสันต์ เลิศวิทยาวิวัฒน์
แนวคิดการจัดการอาชีวศึกษาระบบทวิภาคี
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ทิศทางการส่งเสริมการศึกษาเอกชน โดย นายพะโยม ชิณวงศ์ เลขาธิการคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน

๒ ๑ ๔ ๓ ๖ ๕ วิสัยทัศน์ : ขับเคลื่อนสู่ประเทศไทย ยุทธศาสตร์ชาติ : กรอบการพัฒนาระยะยาว เพื่อให้บรรลุวิสัยทัศน์ “ประเทศมีความมั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน เป็นประเทศพัฒนาแล้ว ด้วยการพัฒนาตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง” นำไปสู่การพัฒนาให้คนไทยมีความสุข และตอบสนองต่อการบรรลุ ซึ่งผลประโยชน์แห่งชาติ ในการที่จะพัฒนาคุณภาพชีวิต สร้างรายได้ระดับสูงเป็นประเทศพัฒนาแล้ว และสร้างความสุขของคนไทย สังคมมีความมั่นคง เสมอภาค และเป็นธรรม ประเทศสามารถแข่งขันได้ในระบบเศรษฐกิจ ๒ การสร้าง ความสามารถ ในการแข่งขัน ๑ ๔ การสร้างโอกาส ความเสมอภาค และเท่าเทียมกัน ทางสังคม ความมั่นคง การพัฒนา และเสริมสร้าง ศักยภาพคน ๓ ๖ ๕ การปรับสมดุลและ พัฒนาระบบการบริหาร จัดการภาครัฐ การสร้างการเติบโต บนคุณภาพชีวิต ที่เป็นมิตรต่อ สิ่งแวดล้อม

จุดเน้นเชิงนโยบายรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ (นายธีระเกียรติ เจริญเศรษฐศิลป์) กฎหมายการศึกษา/ ปรับปรุงการบริหารงานบุคคล/ จัดตั้งกระทรวงอุดมศึกษา/ ขับเคลื่อนนโยบายระดับพื้นที่ (ศธภ. และ ศธจ.)/ บริหารจัดการโรงเรียนแม่เหล็ก ความปรองดอง ความสามัคคี และพัฒนาหลักสูตรการเรียน การสอนวิชาประวัติศาสตร์ / สถาบัน พระมหากษัตริย์ / จัดการศึกษา ในจังหวัดชายแดนภาคใต้/ชายขอบ / ป้องกัน แก้ไขปัญหายาเสพติด ความมั่นคง การผลิต พัฒนากำลังคน และสร้างความสามารถ ในการแข่งขัน การพัฒนาระบบ และการบริหาร จัดการ จัดการศึกษาทวิภาคีรูปแบบ ”โรงงานเป็นโรงเรียน”/ ยกระดับภาษาอังกฤษรองรับ Thailand 4.0 และพัฒนาวิชาภาษาจีน ในสถานศึกษาอาชีวศึกษา/ Echo English Vocational / การอบรมโดย Boot Camp/ การพัฒนาหลักสูตร ระยะสั้นภาษาอังกฤษ / ผลิตกำลังคนรองรับ New S-Curve/ การพัฒนานวัตกรรมและเทคโนโลยี ฃ 10 อุตสาหกรรม เป้าหมาย และ STEM Education โครงการธนาคารขยะ/ สร้างจิตสำนึก ความตระหนักในการพัฒนา อย่างยั่งยืน/หลักปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียง จุดเน้น เชิงนโยบาย รมว.ศธ. การเสริมสร้าง คุณภาพชีวิตประชาชน ที่เป็นมิตร กับสิ่งแวดล้อม การพัฒนา และเสริมสร้าง ศักยภาพคน การสร้างโอกาส ความเสมอภาค และการลดความเหลื่อมล้ำ ทางการศึกษา ยกระดับคุณภาพสถานศึกษา ที่ต้องการความช่วยเหลือและ พัฒนาเป็นพิเศษอย่างเร่งด่วน (ICU)/ เพิ่มโอกาสทางการศึกษา ผ่านเทคโนโลยีดิจิทัล /Admission ผ่านระบบ Clearing-House/ No Child Left Behind จัดการศึกษาเด็กปฐมวัยอนุบาล 1-3 / ปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรม/ รณรงค์”เกลียดการโกง”/ปรับพัฒนาหลักสูตรให้ยืดหยุ่น/ เน้นการเรียนการสอน Active Learning/วางแผนให้ผล PISA สูงขึ้น/ ประเมินผล O-NET วิชาสังคม วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์/ ผลิตครูเพื่อพัฒนาท้องถิ่น (สพฐ. สอศ.) /ปรับเกณฑ์การประเมิน วิทยฐานะแนวใหม่/พัฒนาและอบรมครูเชื่อมโยงกับการได้รับวิทยฐานะ

การจัดการศึกษาเพื่อผลิตและพัฒนาศักยภาพกำลังคนให้สอดคล้องกับความต้องการในการพัฒนาประเทศ พัฒนาคุณลักษณะของคนไทยที่พึงประสงค์ ทั้งในฐานะพลเมืองและพลโลก โดยจัดการเรียนรู้ที่มุ่งพัฒนาผู้เรียนเป็นสำคัญ บริหารจัดการโดยใช้สถานศึกษา เป็นฐาน สร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ ให้เข้มแข็ง เพื่อสอดคล้องกับความต้องการ กำลังคนของประเทศ ม.4-6 วิชาการ (สายสามัญเพื่อการศึกษาต่อ) มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัย ม.1-3 Career Exploration ประกอบอาชีพ Career Awareness & Orientation Career Academy (สายอาชีพเพื่อการศึกษาต่อ) การศึกษาเพื่อรองรับ การเปลี่ยนแปลงฯ และอาชีพ หลักสูตรแกนกลางฯ เน้นวิชาการ ภาษา/วิทยาศาสตร์ เน้นอาชีพ เกษตร/อุตสาหกรรม/บริการ/อาหาร/เทคโนโลยี ปฐมวัย ป.1 – 6 Secondary Career Education (มัธยมปฏิบัติการ) สถานประกอบการ 1 สถานประกอบการ 2 ประกอบอาชีพอิสระ Career Preparation (สายอาชีพเพื่อการทำงาน) ประกอบอาชีพ ประกอบอาชีพ ในระดับที่สูงขึ้น เน้นเสริมสร้าง พลังการเรียนรู้ ทางกายและสมอง พัฒนาทักษะ ความสามารถ การเรียนรู้พื้นฐาน มีการวัดแววตามหลัก พหุปัญญาให้รู้จักจุดแข็ง ของตนเองเพื่อความ ภาคภูมิใจและการต่อ ยอด เน้นการสร้าง คุณลักษณะ ผู้ทำงานที่พึงประสงค์ สร้างความตระหนักและ ความเข้าใจต่ออาชีพ มีทักษะ ความสามารถ และสมรรถนะตาม หลักสูตร มีโอกาสได้เรียนรู้ ภาพอนาคตของงาน ลักษณะต่างๆ และ ค้นพบความต้องการของ ตัวเองในการกำหนดอาชีพ วัดแววอาชีพ มีความรับผิดชอบ และ มีจิตสำนึกที่ดีต่อหน้าที่ สหกิจศึกษา / ทวิศึกษา / ทวิภาคี 1 ปวช. ปวส. ประกอบอาชีพ 1.อุตสาหกรรม 2.เกษตรกรรม 3.พาณิชยกรรม 4.คหกรรม 5.ศิลปกรรม 1.อุตสาหกรรม 2.เกษตรกรรม 3.พาณิชยกรรม 4.คหกรรม 5.ศิลปกรรม Career Preparation อาชีวศึกษา Career Preparation มหาวิทยาลัย เส้นทาง สู่อาชีพ ประกอบอาชีพ ประกอบอาชีพ ประกอบอาชีพ

ข้อมูลพื้นฐานด้านการจัดการศึกษา : ประเภทและจำนวนสถานศึกษา โรงเรียน นักเรียน ครู 1. โรงเรียนในระบบ 4,069 2,231,180 105,691 1.1 ประเภทสามัญศึกษา 3,894 2,180,222 98,297 1.2 ประเภทนานาชาติ 175 50,958 7,394 2. โรงเรียนนอกระบบ 8,572 1,257,911 38,213 2.1 หลักสูตรระยะสั้น (สอนศาสนา ศิลปะและกีฬา วิชาชีพ กวดวิชา สร้างเสริมทักษะชีวิต) 5,987 1,009,103 22,239 2.2 สถาบันศึกษาปอเนาะ 479 44,235 1,659 2.3 ศูนย์ฯ ตาดีกา 2,106 204,573 14,315

สัดส่วนจำนวนนักเรียนโรงเรียนในระบบภาครัฐและเอกชน ปีการศึกษา 2560 คิดเป็นสัดส่วน 78.3 : 21.7

ข้อมูลด้านคุณภาพการศึกษา (สช. มีคะแนนเฉลี่ย O-NET สูงเป็นอันดับสองรองจาก สกอ. (โรงเรียนสาธิต))

แผนพัฒนาการศึกษาเอกชน ปี 2560 – 2564 7 ยุทธศาสตร์การพัฒนา การพัฒนาหลักสูตร การเรียนการสอน การวัดและประเมินผล การปฏิรูประบบทรัพยากรเพื่อการศึกษาเอกชน การเสริมสร้างประสิทธิภาพการจัดการศึกษาของโรงเรียนเอกชน การส่งเสริมการมีส่วนร่วมในการจัดและสนับสนุนการศึกษาเอกชน การส่งเสริมการศึกษานอกระบบเพื่อสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ การพัฒนาการศึกษาเอกชนในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ การพัฒนาระบบการบริหารจัดการส่งเสริมการศึกษาเอกชน

การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์สู่การปฏิบัติในปีงบประมาณ 2561 การพัฒนาหลักสูตร การเรียนการสอน การวัดและประเมินผล ยุทธศาสตร์ที่ 1 โครงการขับเคลื่อนการจัดการเรียนรู้สะเต็มศึกษา (STEM Education) 223 โรง บันทึกข้อตกลงความร่วมมือ (MOU) ระหว่าง สช., ร.ร.เอกชน และ สสวท. เรื่อง การพัฒนาและส่งเสริมผู้มีความสามารถพิเศษทางวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และเทคโนโลยี ในรูปแบบห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์ระดับมัธยมต้น โครงการเสริมสร้างคุณธรรมจริยธรรมในสถานศึกษา “ร.ร.คุณธรรม” 600 โรง โครงการขับเคลื่อนนโยบาย ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ 400 โรง โครงการพัฒนาคุณภาพผู้บริหารและครู ร.ร.เอกชน 32,620 คน (1) ยกระดับo-net (2) การจัดการเรียนการสอนที่เสริมสร้างผู้เรียนให้มีทักษะในศตวรรษ ที่ 21 : Active Learning, Problem-based Learning, Project-based Learning

การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์สู่การปฏิบัติในปีงบประมาณ 2561 การพัฒนาหลักสูตร การเรียนการสอน การวัดและประเมินผล ยุทธศาสตร์ที่ 1 โครงการพัฒนาทักษะการใช้ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารในโรงเรียนเอกชน 180 คน โครงการพัฒนาการจัดประสบการณ์การเรียนการสอนปฐมวัย 1,000 โรง โครงการส่งเสริมกระบวนการเรียนการสอนลูกเสือในสถานศึกษา 320 โรง (อบรมหลักสูตรผู้บังคับบัญชาลูกเสือ) โครงการประเมินคุณภาพผู้เรียนระดับการศึกษาภาคบังคับ (การสอบ NT) โครงการยกระดับคุณภาพการจัดการศึกษาสำหรับเด็กที่มีความต้องการจำเป็นพิเศษ 767 โรง

การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์สู่การปฏิบัติในปีงบประมาณ 2561 การปฏิรูประบบทรัพยากรเพื่อการศึกษาเอกชน โครงการสนับสนุนค่าใช้จ่ายในการจัดการศึกษาตั้งแต่ระดับอนุบาลจนจบการศึกษา ขั้นพื้นฐาน (อุดหนุนรายบุคคล + อุดหนุนเรียนฟรี 4 รายการ) 2,055,910 คน ปีงบประมาณ 2561 ปรับเพิ่มเงินอุดหนุนรายบุคคลในส่วนของเงินสมทบเงินเดือนครู โดยเงินอุดหนุนรายหัวจะเพิ่มขึ้น - ระดับก่อนประถม – ประถม 360 บาท/คน/ปี - ระดับมัธยมต้น – มัธยมปลาย 450 บาท/คน/ปี โครงการอาหารเสริม (นม) อ.1-3 = 573,428 คน ป.1-ป.6 = 1,019,483 คน โครงการอาหารกลางวัน อ.1-3 = 184,814 คน ป.1-ป.6 = 282,098 คน ยุทธศาสตร์ที่ 2

การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์สู่การปฏิบัติในปีงบประมาณ 2561 การปฏิรูประบบทรัพยากรเพื่อการศึกษาเอกชน ปรับเพิ่มเงินอุดหนุนค่าตอบแทนพิเศษครูที่สอนนักเรียนพิการ 210 คน เงินอุดหนุนสิ่งอำนวยความสะดวกและสื่อบริการของนักเรียนพิการ 4,047 คน เงินอุดหนุนสื่อการเรียนการสอนนักเรียน 767 โรง เงินอุดหนุนค่าก่อสร้างและปรับปรุงโรงเรียนเอกชนการกุศล 7 โรง ยุทธศาสตร์ที่ 2 การส่งเสริมสนับสนุนการจัดการศึกษา

การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์สู่การปฏิบัติในปีงบประมาณ 2561 การเสริมสร้างประสิทธิภาพการจัดการศึกษาของร.ร.เอกชน โครงการส่งเสริมการประกันคุณภาพโรงเรียนเอกชน เงินอุดหนุนพระราชทานรางวัลโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลาม 30 รางวัล โครงการพัฒนาการจัดทำบัญชีและงบการเงินของ ร.ร.เอกชนในระบบ 1,206 คน ยุทธศาสตร์ที่ 3 ยกระดับคุณภาพและประสิทธิภาพการจัดการศึกษาของโรงเรียนเอกชน การส่งเสริมการบริหารจัดการศึกษาของโรงเรียนเอกชน

การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์สู่การปฏิบัติในปีงบประมาณ 2561 ยุทธศาสตร์ที่ 3 การเสริมสร้างประสิทธิภาพการจัดการศึกษาของ ร.ร.เอกชน การปรับปรุงสวัสดิการค่ารักษาพยาบาลของกองทุนสงเคราะห์ การกำหนดตำแหน่งทางวิชาการของผู้บริหารและครูโรงเรียนเอกชน ปรับปรุงหลักเกณฑ์การให้กู้/ยืมเงินจากกองทุนส่งเสริมโรงเรียนในระบบ สวัสดิการผู้บริหาร ครู และบุคลากรทางการศึกษา กองทุนส่งเสริมโรงเรียนในระบบ

การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์สู่การปฏิบัติในปีงบประมาณ 2561 การส่งเสริมการมีส่วนร่วมในการจัดและสนับสนุนการศึกษาเอกชน วันการศึกษาเอกชน 2561 (ครบ 100 ปี) แผนปฏิบัติการขับเคลื่อนการพัฒนาการศึกษาเอกชนด้านต่างประเทศ พ.ศ. 2560 - 2564 โครงการส่งเสริมความร่วมมือการพัฒนาการเรียนการสอนภาษาจีน 1,200 คน การประชุมเครือข่ายพัฒนาการศึกษาเอกชน การปรับปรุงโครงสร้างคณะกรรมการ ปสกช. สร้างเครือข่ายส่งเสริมประสิทธิภาพในกลุ่มจังหวัด (18 กลุ่มจังหวัด) ยุทธศาสตร์ที่ 4 งานเสริมสร้างความร่วมมือและพัฒนาเครือข่ายการศึกษาเอกชน

การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์สู่การปฏิบัติในปีงบประมาณ 2561 ยุทธศาสตร์ที่ 5 การส่งเสริมการศึกษานอกระบบเพื่อสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ โครงการส่งเสริมการประกันคุณภาพโรงเรียนเอกชน ขับเคลื่อนแนวทางการส่งเสริมการจัดการศึกษานอกระบบ - แนวทางสนับสนุนค่าใช้จ่ายสำหรับผู้ด้อยโอกาสในการศึกษาวิชาชีพ (คูปองวิชาชีพ) - การเทียบโอนความรู้และการสะสมหน่วยกิตการศึกษานอกระบบกับในระบบ - การจัดกลุ่มการศึกษานอกระบบในรูปแบบ Cluster บันทึกข้อตกลงเครือข่ายความร่วมมือพัฒนาการศึกษา อาชีพ การท่องเที่ยว เพื่อรองรับการ พัฒนาระเบียงเศรษฐกิจภาคตะวันออก (EEC) ระหว่าง สช. สวนนงนุช พัทยา จ.ชลบุรี สมาคม การศึกษาเอกชนนอกระบบ (ประเทศไทย)  สมาคมโรงเรียนบริบาล  สมาคมโรงเรียนเสริมสวย และตัดเย็บเสื้อผ้าสมาคมโรงเรียนเอกชนจังหวัดชลบุรี บันทึกข้อตกลงทางวิชาการ (MOU) ระหว่างโรงเรียนการจัดการโรงแรมและการท่องเที่ยว นานาชาติ (ไอทิม) กับ Pacific International Hotel Management School (PIHMS)

การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์สู่การปฏิบัติในปีงบประมาณ 2561 ยุทธศาสตร์ที่ 6 การพัฒนาการศึกษาเอกชนในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ โครงการ ส่งเสริมการพัฒนาโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลามในโครงการ ตามพระราชดำริสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี 15 โรง โครงการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานด้านกายภาพโรงเรียนเอกชน สอนศาสนาอิสลามขนาดเล็กจังหวัดชายแดนภาคใต้ 22 โรง โครงการพัฒนาประสิทธิภาพการจัดการศึกษาของโรงเรียนเอกชน ในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ 85,893 คน โครงการ พัฒนาคุณภาพการจัดการเรียนรู้โรงเรียนเอกชน ที่จัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน 225 คน

การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์สู่การปฏิบัติในปีงบประมาณ 2561 การพัฒนาการศึกษาเอกชนในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ โครงการส่งเสริมการใช้หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานและหลักสูตรอิสลามศึกษา แบบบูรณาการ 40 โรง โครงการเสริมสร้างความเข้าใจในสถานศึกษาเอกชน 36,500 คน โครงการยกระดับคุณภาพการศึกษาเอกชน จชต. ในศตวรรษที่ 21 2,780 คน โครงการเสริมสร้างคุณภาพชีวิตตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง ในสถานศึกษาเอกชนจังหวัดชายแดนภาคใต้ 2,761 คน โครงการพัฒนาการศึกษาเอกชนใน จชต.เพื่อความมั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน 450 คน ยุทธศาสตร์ที่ 6

การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์สู่การปฏิบัติในปีงบประมาณ 2561 การพัฒนาระบบการบริหารจัดการส่งเสริมการศึกษาเอกชน โครงการพัฒนาระบบศูนย์กลางบูรณาการข้อมูลทะเบียนโรงเรียนและประวัติ ผู้เรียน ครู บุคลากรโรงเรียนเอกชน โครงการพัฒนาประสิทธิภาพการดำเนินงานตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ และการบริหารจัดการภาครัฐแนวใหม่ การตรวจติดตามประเมินผลการจัดการศึกษาโรงเรียนเอกชน คณะอนุกรรมการพัฒนาและทบทวนความเหมาะสมของกฎหมายว่าด้วย โรงเรียนเอกชนเพื่อเสนอความคิดเห็นที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติงาน ด้านการจัดการศึกษาเอกชน ยุทธศาสตร์ที่ 7

การพัฒนาระบบการบริหารจัดการส่งเสริมการศึกษาเอกชน ยุทธศาสตร์ที่ 7 การบูรณาการการดำเนินงานส่งเสริมการศึกษาเอกชนใน ศธจ. การจัดทำแผนพัฒนาการศึกษาเอกชนจังหวัดโดยบูรณาการแผนพัฒนาการศึกษาภาค/จังหวัด การจัดทำแผนการรับ นร.ร่วมกันระหว่าง รัฐ อปท. และเอกชนในพื้นที่ โดยใช้กลไกของ กศจ. การทำงานเชิงบูรณาการ โดยอาศัยความเข้มแข็งของเครือข่ายพัฒนาการศึกษาเอกชนจังหวัด (ปสกช.จังหวัด / สมาคมการศึกษาเอกชน) กำกับ ดูแล โรงเรียนเอกชนโดยการสร้างความรู้ความเข้าใจแก่เจ้าหน้าที่เกี่ยวกับกฎ ระเบียบ แนวปฏิบัติในการส่งเสริมการศึกษาเอกชนเพื่อให้เกิดความเป็นเอกภาพในการปฏิบัติงาน การนิเทศและพัฒนาคุณภาพโรงเรียนเอกชน การจัดสรรงบประมาณของ สช. สู่จังหวัด บทบาทของศึกษานิเทศก์ / กลุ่มส่งเสริมการศึกษาเอกชน / กลุ่มอำนวยการ