บทที่ 3 แหล่งสารสนเทศและทรัพยากรสารสนเทศ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
หน่วยที่ 2 การศึกษากับการรู้สารสนเทศ
Advertisements

1. ความหมายและความสำคัญของเทคโนโลยี 2. วิวัฒนาการของเทคโนโลยี 3. ระดับและการจัดกลุ่มของเทคโนโลยี 4. ความสัมพันธ์ของเทคโนโลยีกับสาขาวิชาอื่น.
การจัดการองค์ความรู้ ( KM )
 เครือข่ายคอมพิวเตอร์  การที่ระบบเครือข่ายมีบทบาทและ ความสำคัญเพิ่มขึ้น เพราะไมโครคอมพิวเตอร์ได้รับ การใช้งานอย่างแพร่หลาย จึงเกิดความต้องการที่จะ.
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ช่วยประหยัดค่าใช้จ่าย จัดทำโดย ด. ช. ธนันทร ดอกเกี๋ยง ม.1/2 เลขที่ 8 ด. ญ. เกศกมล ใจปินตา ม.1/2 เลขที่ 10 เสนอ อาจารย์ อรอุมา.
คอมพิวเตอร์ช่วยสอน (CAI)
(Information Retrieval : IR)
Management Plus เป็นที่รู้จักดีในด้านการผลิต สิ่งพิมพ์ต่อเนื่องทางด้านวิชาการ เป็นฐานข้อมูลที่ ครอบคลุมและสมบูรณ์ที่สุดในสาขาการจัดการ ครอบคลุม สาขาวิชาการบัญชีและการเงิน.
ประโยชน์และตัวอย่างของการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
รายชื่อผู้จัดทำ ด.ช.จิณณวัตร ทับจันทร์ เลขที่ 1 ม.1/3 ด.ช.ฐิติพงศ์ โลหะเวช เลขที่ 4 ม.1/3 ด.ช. พงศ์ภัค พุทธรักษ์ เลขที่9 ม.1/3 ด.ช.อริยะ แดงงาม เลขที่
ผู้บริหารกับการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชา อุตสาหกรรมการท่องเที่ยว
บทที่ 1 หลักการทำโครงงาน
บทที่ 3 ประเภทของบทและรูปแบบของรายการวิทยุโทรทัศน์
พยาบาลวิชาชีพชำนาญการพิเศษ
ประเภทโครงงาน พัฒนาระบบ (System Development)
ประยุกต์ใช้ในงานด้านการศึกษา เทคโนโลยีสารสนเทศที่นำมาใช้สำหรับการเรียนการสอน เป็นการใช้เทคโนโลยีสมัยใหม่หลายอย่าง สอนด้วยสื่อ อุปกรณ์ที่ทันสมัย ห้องเรียนสมัยใหม่
CSIT-URU อ. กฤษณ์ ชัยวัณณคุปต์ Mathematics and Computer Program, URU บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับ เทคโนโลยีสารสนเทศ Introduction to Information.
โครงการ ( Project) หมายถึง โครงการ ( Project) หมายถึง.
จัดทำโดย นางสาวพิจิตรา ปันเต เลขที่ 18 นางสาวปิยธิดา อุตมา เลขที่ 19 ใบงานที่ 2 เรื่อง ความหมายและความสำคัญของโครงงาน.
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์ วิชาคอมพิวเตอร์พื้นฐาน สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนเฉลิมราชประชาอุทิศ.
ผลการดำเนินงาน ปีงบ ๒๕๕๘ ( ร่าง ) แผนปฏิบัติการฯ ปี งบ ๒๕๕๙ กลุ่มงานบริหารทั่วไป สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดตราด.
บทที่ 3 นักวิเคราะห์ระบบและการ วิเคราะห์ระบบ. 1. นักวิเคราะห์ระบบ (System Analysis) 1.1 ความหมายของนักวิเคราะห์ระบบ นักวิเคราะห์ระบบ (System Analysis:
งานวิชา เทคโนโลยี สารสนเทศ 4/3 เรื่อง INPUT และ OUTPUT จัดทำโดย นาย ชาญชัย ศรีน้อย เลขที่ 3 นาย ณัฐดนัย จันทมาศ เลขที่ 4 นาย อุดมศักดิ์ เกื้อนะ เลขที่
โดย... นายวินิจ รักชาติ อดีตผู้อำนวยการ สำนักงาน ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม จังหวัด กาญจนบุรี
การจัดกิจกรรมการ เรียนรู้แบบการทำ โครงงานคอมพิวเตอร์ การจัดกิจกรรมการ เรียนรู้แบบการทำ โครงงานคอมพิวเตอร์ ครูชาญณรงค์ ปานเลิศ โรงเรียนพระบางวิทยา ครูชาญณรงค์
การกำจัดขยะ โดยใช้หลัก 3R. มารู้จักหลัก 3R กัน Reduce Reuse Recycle.
บทที่ 3 องค์ประกอบของการสัมมนา
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
อาจารย์จุฑามาศ พรหมทอง สาขาวิชาบรรณารักษศาสตร์และสารสนเทศศาสตร์
การสร้างแผนปฏิบัติการระดับตำบลหรือท้องถิ่น
การกำจัดขยะ โดยใช้หลัก 3R. มารู้จักหลัก 3R กัน Reduce Reuse Recycle.
หน่วยที่ 1 ข้อมูลทางการตลาด. สาระการเรียนรู้ 1. ความหมายของข้อมูลทางการตลาด 2. ความสำคัญของข้อมูลทางการตลาด 3. ประโยชน์ของข้อมูลทางการตลาด 4. ข้อจำกัดในการหาข้อมูลทาง.
การใช้ Social Media เพื่อการสื่อสาร
บทที่ 1 สถาปัตยกรรมของระบบฐานข้อมูล (Database Architecture)
การจัดหาทรัพยากรสารสนเทศ
แผนที่และเครื่องมือทางภูมิศาสตร์
การใช้งานฐานข้อมูล ACM Digital Library
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
แหล่งสารสนเทศ : การเลือกแหล่งสารสนเทศ
บทที่ 1 ระบบสารสนเทศ (Information System)
บทที่ 8 การควบคุมโครงการ
ประเภทที่ ๑ วิจัยในชั้นเรียน.
บทที่ 3 แฟ้มข้อมูลและฐานข้อมูล
บทที่ ๒ เรื่องที่ ๑๐ การค้นคว้าหาความรู้ทาง อินเทอร์เน็ต
กรณีศึกษา : นักเรียน ระดับ ปวช.2 สาขาวิชาการบัญชี
การจัดการข้อมูล ดร. นพ. วรสิทธิ์ ศรศรีวิชัย
การศึกษาการเคลื่อนที่เชิงอนุภาค
ภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๖๐ ผู้สอน : คุณครูภาคภูมิ คล้ายทอง
ผลงานทางวิชาการ ความหมาย ลักษณะ ประเภท
แนวคิดเกี่ยวกับระบบสารสนเทศ
พื้นฐานการออกแบบ กราฟิก หมายถึง ศิลปะแขนงหนึ่งซึ่งใช้การสื่อความหมาย ด้วยเส้น สัญลักษณ์ รูปวาด ภาพถ่าย กราฟ แผนภูมิ การ์ตูน ฯลฯ เพื่อให้สามารถสื่อความหมายของข้อมูลได้ถูกต้องตรง.
วาระที่ ผลการประชุมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การเตรียมความพร้อมบุคลากร สำนักแผนงานและโครงการพิเศษเพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงาน ของหน่วยงานในพื้นที่
ทรัพยากรสัตว์ป่า.
การสร้างสรรค์และผลิตเครื่องมือการประชาสัมพันธ์และการสื่อสารองค์กร 1
คณะทำงานขับเคลื่อนงานโภชนาการ (สูงดีสมส่วน)
บทที่ 6 แนวคิดเทคโนโลยีเสมือนจริง
การประเมิน วิเคราะห์ สังเคราะห์สารสนเทศ
การขอโครงการวิจัย.
SMS News Distribute Service
รายวิชา แหล่งสารสนเทศ การเข้าถึงแหล่งสารสนเทศ อาจารย์ ดร.นฤมล รักษาสุข
ผลการเรียนรู้ 1. สามารถบอกความหมายของการสืบค้นข้อมูลได้ 2. สามารถบอกประเภทของการสืบค้นข้อมูลได้ 3. สามารถตรวจสอบความน่าเชื่อถือของข้อมูลได้
Multimedia และระบบความจริงเสมือน Virtual Reality, VR
การค้นหาข้อมูลวิจัย ครั้งที่ 1
การวิจัยทางการท่องเที่ยว
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 การกำหนดประเด็นปัญหา
การอนุรักษ์และสงวนรักษาทรัพยากรสารสนเทศ
การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาไพทอน การเขียนโปรแกรมแบบทางเลือก
โครงการถ่ายทอดเทคโนโลยีถนนรีไซเคิลเพื่อลดขยะพลาสติกใน 4 ภูมิภาค
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

บทที่ 3 แหล่งสารสนเทศและทรัพยากรสารสนเทศ บทที่ 3 แหล่งสารสนเทศและทรัพยากรสารสนเทศ อาจารย์วรพจน์ พรหมจักร http://shypoj.wordpr ess.com

ทรัพยากรสารสนเทศ (Information Resources)

ทรัพยากรสารสนเทศ (Information Resources) ความหมาย ทรัพยากรสารสนเทศ หมายถึง สื่อที่ ใช้ในการบันทึกข้อมูลความรู้ในเรื่อง ต่างๆ โดยมีลักษณะเป็น ข้อความ ตัวอักษร ตัวเลข ภาพ เสียง ดังนั้นทรัพยากรสารสนเทศจึง เปรียบเสมือนตัวกลางที่ใช้ในการ แพร่กระจายความรู้ของบุคคลหนึ่งไป ยังคนอื่นๆที่ต้องการรับความรู้นั้น

ทรัพยากรสารสนเทศ (Information Resources) เนื่องจาก เราสามารถรับ ความรู้ที่บันทึกอยู่ในทรัพยากร สารสนเทศได้หลายลักษณะ ไม่ว่าจะเป็นข้อความ ภาพ และเสียง ดังนั้นเราจึงแบ่ง ทรัพยากรสารสนเทศได้ 3 ประเภทดังนี้ ทรัพยากรตีพิมพ์ /สื่อสิ่งพิมพ์ ทรัพยากรไม่ตีพิมพ์/สื่อไม่ ตีพิมพ์ ทรัพยากรอิเล็กทรอนิกส์/สื่อ อิเล็กทรอนิกส์

ทรัพยากรตีพิมพ์/สื่อตีพิมพ์ (Printed Resources) หมายถึง สารสนเทศที่บันทึกใน สื่อสิ่งพิมพ์ สื่อกระดาษ ผ่าน กระบวนการพิมพ์ เช่น หนังสือ/ ตำรา วิทยานิพนธ์ รายงานการ วิจัย สิ่งพิมพ์รัฐบาล นวนิยาย เรื่องสั้น วารสาร นิตยสาร หนังสือพิมพ์ เป็นต้น

หนังสือ หนังสือทั่วไป (General books) แบ่งตามลักษณะเนื้อหา ได้แก่ 1. หนังสือวิชาการ 2. หนังสือสารคดี 3. หนังสือบันเทิงคดี 4. หนังสืออ้างอิง 5. สิ่งพิมพ์รัฐบาล

ตัวอย่างหนังสือแบ่งตามลักษณะเนื้อหา หนังสือ วิชาการ หนังสือสาร คดี

ตัวอย่างหนังสือแบ่งตามลักษณะเนื้อหา หนังสือบันเทิง คดี หนังสืออ้างอิง

ตัวอย่างหนังสือแบ่งตามลักษณะเนื้อหา สิ่งพิมพ์รัฐบาล

หนังสืออ้างอิง Reference books ลักษณะของหนังสืออ้างอิง คือ จัดเรียบเรียงเนื้อหาอย่างเป็นระบบ เพื่อช่วย ในการค้นหา เนื้อหาแต่ละเรื่องกระชับ ชัดเจน เข้าใจทันที ส่วนใหญ่ผู้เขียนเป็นผู้ทรงคุณวุฒิ(เฉพาะด้าน) ส่วนใหญ่ตัวเล่มมีขนาดใหญ่ หรือ เป็นหนังสือ ชุด(Series) ส่วนใหญ่ห้องสมุดจะไม่นิยมให้ยืมออก ส่วนใหญ่เป็นหนังสือราคาแพง หายาก จัดพิมพ์ครั้งเดียว จัดพิมพ์ในวาระพิเศษ

หนังสืออ้างอิง Reference books ประเภทของหนังสืออ้างอิง แบ่งได้ เป็น พจนานุกรม(Dictionary) สารานุกรม(Encyclopedia) หนังสือรายปี(Yearbook) นามานุกรม(Directory) อักขรานุกรมชีวประวัติ(Biographical Dictionary) หนังสืออ้างอิงทางภูมิศาสตร์(Geographical sources) หนังสือบรรณานุกรม(Bibliographies) หนังสือดรรชนี(Index)

พจนานุกรม

สารานุกรม

นามานุกรม

อักขรานุกรมชีวประวัติ

พจนานุกรม 2 ภาษา

พจนานุกรม 3 ภาษา

พจนานุกรมเฉพาะทาง

วิทยานิพนธ์ Thesis วิทยานิพนธ์หรือปริญญานิพนธ์ (thesis or dissertation)    เป็นรายงานผลการ ค้นคว้าวิจัยเพื่อขอรับปริญญาตาม หลักสูตรในระดับปริญญาโท (thesis) และ ปริญญาเอก  (dissertation)  เนื่องจากเป็น รายงานผลการค้นพบสาระความรู้ใน สาขาวิชาต่าง ๆ ที่ได้จากการ สำรวจ  ทดลอง  วิเคราะห์และสังเคราะห์ อย่างเป็นระบบภายใต้การให้คำปรึกษา จากอาจารย์ที่ปรึกษาและผู้เชี่ยวชาญใน สาขาวิชาต่าง ๆ    จึงเหมาะสำหรับการใช้ เป็นข้อมูลประกอบการเขียนเอกสารตำรา วิชาการ หรือรายงานภาคนิพนธ์

วิทยานิพนธ์ Thesis

รายงานการวิจัย Research Report

รายงานการวิจัย Research Report

สิ่งพิมพ์ต่อเนื่อง Periodicals ประเภทของวารสาร แบ่งได้ เป็น วารสารวิชาการ(Journal) นิตยสาร(Magazine) วารสารเชิงวิเคราะห์ (Review journal)

หนังสือพิมพ์ Newspaper ประเภทของหนังสือพิมพ์ แบ่งได้ตามลักษณะเนื้อหา คือ เชิงปริมาณ เชิงคุณภาพ แบ่งตามกำหนดออก คือ รายวัน รายสัปดาห์ รายกึ่งสัปดาห์

จุลสาร (Pamphlet) กฤตภาค (Clipping)

ทรัพยากรไม่ตีพิมพ์/สื่อไม่ตีพิมพ์ (Non-printed Resources) คือ สารสนเทศที่ถูกบันทึก ทรัพยากรสารสนเทศที่บันทึก ไว้ในสื่อต่างๆ ที่ไม่ได้ผ่าน กระบวนการตีพิมพ์ และไม่ จัดทำเป็นรูปเล่ม

ต้นฉบับตัวเขียน (Manuscript) ทรัพยากรสารสนเทศที่จัดทำขึ้น โดยใช้ลายมือเขียน ได้แก่ หนังสือ ที่จัดทำในสมัยโบราณก่อนที่จะมี การพิมพ์ โดยใช้การจาร หรือสลัก ลงบนวัสดุต่างๆ เช่น สมุดข่อย ใบลาน แผ่นปาปิรัส (papyrus) แผ่นดินเหนียว แผ่นหนัง ศิลา จารึก เป็นต้น ซึ่งรวมถึงต้นฉบับ ของผู้เขียนที่อาจเป็น ลายมือเขียนหรือเป็นฉบับพิมพ์ ทั้งพิมพ์ด้วยพิมพ์ดีดและเครื่อง คอมพิวเตอร์

ต้นฉบับตัวเขียน

โสตวัสดุ (Audio materials) วัสดุสารสนเทศที่ใช้เสียง เป็นสื่อในการถ่ายทอด สารสนเทศ   เช่น เทปบันทึกเสียง แผ่นเสียง

เทปบันทึกเสียง บันทึกเสียงลงในแถบแม่เหล็ก เรียก “ม้วนเทป” “ตลับ เทป” The memory of cassettes. (2551). ค้นข้อมูลวันที่ 26 พ.ย. 2555, จาก http://dream-pop-art.exteen.com/20070529/the-memory-of- cassettes

แผ่นเสียง

ทัศนวัสดุ (Visual materials) วัสดุสารสนเทศที่ต้องใช้ สายตาเป็นสื่อในการรับรู้ สารสนเทศโดยการดู อาจดู โดยตาเปล่าหรือใช้ เครื่องมือหรืออุปกรณ์ สำหรับฉายประกอบ  เช่น รูปภาพ หุ่นจำลอง ลูกโลก แผนที่ สไลด์

ทัศนวัสดุ

ทัศนวัสดุ

โสตทัศนวัสดุ (Audvisual materials) วัสดุสารสนเทศที่ถ่ายทอด โดย การใช้ทั้งภาพและเสียง ประกอบกัน เช่น ดีวีดี วีซีดี

โสตทัศนวัสดุ (Audvisual materials)

วัสดุย่อส่วน (Microforms) เป็นวัสดุสารสนเทศที่ใช้เทคนิค การถ่ายภาพย่อส่วน จากของจริง ลงบนแผ่นฟิล์มหรือวัสดุที่ใช้ บันทึกภาพ ประโยชน์ที่ได้คือ เพื่อ ประหยัดเนื้อที่ในการจัดเก็บ เมื่อ ต้องการใช้สารสนเทศ จะต้องนำ ฟิล์มย่อส่วนนั้นมาเข้าเครื่องอ่าน จึงจะสามารถอ่านได้ และถ้า ต้องการทำสำเนาเพื่อนำไปใช้ ประโยชน์ ต้องมีเครื่องพิมพ์ หรือ เครื่องทำสำเนาภาพจากวัสดุ ย่อส่วนด้วย

ทรัพยากรอิเล็กทรอนิกส์/สื่อดิจิทัล Electronic/Digital Resources) ความหมาย ทรัพยากรสารสนเทศที่จัดเก็บ สารสนเทศในรูปข้อความ อักษร ภาพ และเสียงไว้โดยการ แปลงสารสนเทศให้เป็น สัญญาณอิเล็กทรอนิกส์ ซึ่ง จะต้องมีเครื่องมือสำหรับจัดเก็บ และแสดงผลออกมา โดยการ แปลงสัญญาณอิเล็กทรอนิกส์ให้ เป็นสัญญาณภาพและเสียง อีก ครั้งหนึ่ง

ฐานข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ (E-Database) สารสนเทศที่จัดเก็บไว้ด้วยระบบ คอมพิวเตอร์ โดยมีชุดคำสั่งระบบ จัดการฐานข้อมูล ทำหน้าที่ ควบคุมการจัดการและการใช้ ฐานข้อมูล แบ่งตามลักษณะการ ใช้งานแบ่งได้ 2 ประเภทคือ ฐานข้อมูลออฟไลน์ ฐานข้อมูลออนไลน์ 

ฐานข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ (E-Database) แบ่งตามเนื้อหาสารสนเทศที่ให้บริการ แบ่งได้เป็น ฐานข้อมูลบรรณานุกรม (bibliography) บทคัดย่อ(Abstract) ฐานข้อมูลฉบับเต็ม(full text)

การเลือกใช้ทรัพยากรสารสนเทศ มีความสอดคล้องกับลักษณะของเนื้อหา สารสนเทศที่ต้องการ ถ้าต้องการสารสนเทศเฉพาะวิชา ควร เลือกใช้ทรัพยากรสารสนเทศ ประเภท หนังสืออ้างอิง ตำราและ วารสารวิชาการ มากกว่าประเภทหนังสือทั่วไป และ นิตยสาร (Magazine) หากต้องการสารสนเทศที่แสดง ความสัมพันธ์ของเรื่องราวอย่างชัดเจน ควรเลือกใช้ทรัพยากรสารสนเทศที่เป็น ภาพเคลื่อนไหวเช่น วีดิทัศน์ วีซีดีหรือ ดีวีดี เป็นต้น หากต้องการฟังการบรรยาย เพลง ดนตรี ควรเลือกใช้ทรัพยากรสารสนเทศที่มี บันทึกเสียง เช่น เทป ซีดี หรือ วีซีดี เป็นต้น

การเลือกใช้ทรัพยากรสารสนเทศ การพิจารณาความน่าเชื่อถือในตัว ทรัพยากร พิจารณาจากชื่อเสียง ประสบการณ์หรือคุณวุฒิของ ผู้แต่ง สำนักพิมพ์หรือผู้ผลิตทรัพยากร สารสนเทศ ความสะดวกในการใช้งาน ทรัพยากรประเภทตีพิมพ์จะสามารถ นำมาใช้งานได้ง่ายกว่าทรัพยากร ประเภทไม่ตีพิมพ์ หรือทรัพยากร อิเล็กทรอนิกส์ เพราะสามารถใช้งาน ได้ทันที ไม่จำเป็นต้องใช้อุปกรณ์ใน การแสดงผลเหมือนกับทรัพยากร ประเภทไม่ตีพิมพ์หรือ ทรัพยากร อิเล็กทรอนิกส์

การเลือกใช้ทรัพยากรสารสนเทศ ความทันสมัยของเนื้อหา พิจารณาจากเนื้อหาว่า เนื้อหา สารสนเทศที่ต้องการนั้นจำเป็นต้อง เลือกใช้ทรัพยากรสารสนเทศที่ รวดเร็ว ทันสมัยหรือไม่

แนะนำแหล่งสารสนเทศ และทรัพยากรสารสนเทศที่ แหล่งนั้นมี งานกลุ่ม กลุ่มเดิม แนะนำแหล่งสารสนเทศ และทรัพยากรสารสนเทศที่ แหล่งนั้นมี Presentation worapojpromjuk@yahoo. com