ตัวชี้วัดติดตามผลการดำเนินงาน ลดปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น พ.ศ. 2561

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การแลกเปลี่ยน เรียนรู้ ด้านเฝ้าระวัง การ ป้องกัน ควบคุมโรคและภัย สุขภาพ ระหว่างจังหวัดและ สคร.8 วันที่ 1 ธันวาคม 2552 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครสวรรค์
Advertisements

ผลการดำเนินงานควบคุมป้องกันโรคเอดส์
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
แผนการดำเนินงานปี 2558 กลุ่มโรคติดต่อระหว่างสัตว์และคน
ยุทธศาสตร์ลดปัจจัยเสี่ยง ในเด็กวัยเรียนและวัยรุ่น ปี 2551
เป็นเจ้าภาพหลัก 2 ประเด็น เพื่อเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ปี 2558
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
ประชุมMCH Board จังหวัดอุตรดิตถ์ ครั้งที่ ๒/๒๕๕๘ วันพฤหัสที่ ๑๘มิถุนายน ๒๕๕๘ ณ ห้องประชุมภูสอยดาว สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอุตรดิตถ์
เปรียบเทียบค่าใช้จ่ายแยกตามยุทธศาสตร์ ปี 2559 คบสจ. รวมคบสจ. ยุทธศาสตร์ที่ 1 ยุทธศาสตร์ที่ 2 ยุทธศาสตร์ที่ 3 รวม ค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ 18,180,2062,202,89623,521,07543,904,177.
นโยบายการป้องกันและแก้ไขปัญหา การตั้งครรภ์ในวัยรุ่น ปี 2559 โดย นายแพทย์ประวัช ชวชลาศัย ผู้ช่วยผู้อำนวยการสำนักอนามัยการเจริญพันธุ์
แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ระบบบัญชี สุขภาพ (1-8) กุมภาพันธ์ 2558 สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดบุรีรัมย์
ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จของการรายงานข้อมูลให้มีความ ครอบคลุม ถูกต้อง และทันสมัย ปีงบประมาณ กองแผนงาน -
โดย นายแพทย์ณัฐพร วงษ์ศุทธิภากร รองอธิบดีกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข “เรียนรู้ สิ่งแวดล้อม สร้างสรรค์” นโยบายการดำเนินงานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม กรมอนามัย.
ประเด็นยุทธศาสตร์กรมอนามัย (Strategic Issues)
รายงานผลการตรวจราชการรอบ 6 เดือน ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
นโยบายการป้องกันและแก้ไขปัญหา การตั้งครรภ์ในวัยรุ่นและแนวทางดำเนินงาน
การประชุม เรื่อง การจัดทำแผนยุทธศาสตร์ 4 ปี (พ. ศ
สรุปผลการดำเนินงานตามนโยบายการควบคุมโรคไม่ติดต่อ ด้านการเฝ้าระวังผู้ป่วยโรคเบาหวาน/โรคความดันโลหิตสูง ควบคุมระดับน้ำตาลและความดันได้ดี ปีงบประมาณ 2561.
ยินดีต้อนรับ นายแพทย์พิทยา ไพบูลย์ศิริ
สายส่งเสริมตามกลุ่มวัยและประเด็น
เครือข่ายบริการสุขภาพอำเภอน้ำพอง
หลักสูตรต้านทุจริตศึกษา กระทรวงสาธารณสุข
แนวทางการตรวจราชการ ปี 2561
ระบบคุ้มครองผู้บริโภค
การขับเคลื่อน แผนยุทธศาสตร์ สู่การปฏิบัติ
ประสบการณ์การ การใช้ระบบติดตามผลการดำเนินงานในกลุ่มผู้ใช้ยา/สารเสพติด
สรุปผลการตรวจราชการกลุ่มวัยรุ่น รอบที่ 1/2559
กลุ่มเป้าหมาย สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด 76 จังหวัด ค่าเป้าหมาย
HDC งานแม่และเด็ก(MCH)
สรุปแนวทางการดำเนินงานตามกลุ่มวัย
ตัวชี้วัดที่ 1 : อัตราส่วนการตายมารดาไทย ค่าเป้าหมายไม่เกิน 20 ต่อการเกิดมีชีพแสนราย เปรียบเทียบอัตราส่วนการตายมารดารายเขต ปี 2560 กับ 2561ในช่วงเวลาเดียวกัน.
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
วันที่ ๒๔-๒๕ สิงหาคม ๒๕๕๙ ณ โรงแรมพูลแมน จังหวัดขอนแก่น
รายงานสถานการณ์โรคไข้เลือดออกจังหวัดสระบุรี
(ปัจจุบันไม่มียอดค้างชำระ)
แผนพัฒนาการจัดบริการอาชีวอนามัย และเวชกรรมสิ่งแวดล้อม
รพ.สต.สายใยรัก อำเภอสัตหีบ
ประเด็น PA แผนงาน พัฒนาคุณภาพชีวิตแม่และเด็ก (Maternal & Child ) ลดมารดาตาย และเด็กต่ำกว่า 1 ปี ได้รับวัคซีนตามเกณฑ์ Target / KPI No : แม่ไม่เสียชีวิตจากการตั้งครรภ์และการคลอด.
แนวทางการดำเนินงานตามตัวชี้วัด 1
พัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย (9 ตัว) กลุ่มเด็กปฐมวัย (๐-๕ ปี)/สตรี 1.อัตราส่วนการตายของมารดาไม่เกิน15ต่อการเกิดมีชีพแสนคน 2.ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัย.
ความสำคัญ เหตุผลที่เฝ้าระวัง PM10
การประเมินศักยภาพชุมชน ด้วย... ค่ากลางที่คาดหวัง
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
ความคืบหน้าการจ้างลูกจ้างชั่วคราว เป็นพนักงานกระทรวงสาธารณสุข (พกส.)
กำหนดการประชุมเชิงปฏิบัติการ
ความเชื่อมโยงของยุทธศาสตร์และข้อตกลงกรมอนามัย ปีงบประมาณ พ.ศ. 2559
ความก้าวหน้าในการดำเนินงาน Product Champion Cluster วัยรุ่น
และ อ.เฉลิมพระเกียรติ จ.สระบุรี ปี 2557
จุดเน้นการดำเนินงานป้องกัน ควบคุมโรค และภัยสุขภาพ ประจำปีงบประมาณ
ความปลอดภัยด้านอาหารและน้ำ
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
แนวทางการตรวจราชการ ปี 2562
ตัวชี้วัดที่ 1 ร้อยละของคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ (พชอ.) ที่มีคุณภาพ ร้อยละ 50.
การดำเนินงานเชิงรุก โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์และเอดส์
Reff: นายพีรวัฒน์ ตั้งตระกูล สสจ.นครพนม นายประดอม ไพสน สสจ.บึงกาฬ
“ความร่วมมือในการขับเคลื่อนงาน คสจ. และ พชอ.”
ข้อตกลงการปฏิบัติงาน (Performance Agreement : PA) ปีงบประมาณ 2561 ไตรมาสที่ 2 (1 ต.ค. 60 – 31 มี.ค. 61) เขตสุขภาพที่ 12.
สำนักอนามัยการเจริญพันธุ์ กรมอนามัย
หัวหน้ากลุ่มพัฒนาการส่งเสริมสุขภาพวัยรุ่น ศูนย์อนามัยที่1 เชียงใหม่
สรุปภาพรวมผลการดำเนินงาน
เป้าหมายโภชนาการระดับโลก พ.ศ.2568 (WHA Global Nutrition Targets 2025)
การประเมินผลการปฏิบัติราชการ ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ ตัวชี้วัดที่ 4 ร้อยละของเด็ก 0-5 ปี สูงดีสมส่วน ” สำนักโภชนาการ.
ศูนย์อนามัยที่ 8 อุดรธานี
(พิจิตร พิษณุโลกและเพชรบูรณ์)
ประเด็นและแนวทางการตรวจราชการ คณะที่ 1 ปีงบประมาณ 2560 การส่งเสริม สุขภาพ ป้องกันโรค และการคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพ.
ข้อตกลงการปฏิบัติงาน (Performance Agreement : PA) ปีงบประมาณ 2561 ไตรมาสที่ 1 (1 ต.ค. 60 – 31 ธ.ค. 60) เขตสุขภาพที่ 12.
ประเด็น ที่ 4 อัตราความสำเร็จการรักษาผู้ป่วยวัณโรคปอดรายใหม่
อำเภอวังทอง อ.วัดโบสถ์ อ.นครไทย อ.เมือง อ.เนินมะปราง อ.เมืองพิจิตร
การสำรวจพฤติกรรมเสี่ยงโรคไม่ติดต่อและการบาดเจ็บ พ.ศ. 2561
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ตัวชี้วัดติดตามผลการดำเนินงาน ลดปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น พ.ศ. 2561 ตัวชี้วัดติดตามผลการดำเนินงาน ลดปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น พ.ศ. 2561 ปิยะรัตน์ เอี่ยมคง นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ สำนักอนามัยการเจริญพันธุ์ 1 ธันวาคม 2560 ณ โรงแรมริเวอร์วิว เพลส จ.พระนครศรีอยุธยา

ผลการดำเนินงาน 5 ตัวชี้วัดในระบบ HDC พ.ศ. 2560 1. การเฝ้าระวังอัตราการคลอดมีชีพในหญิง 15-19 ปี 2. การเฝ้าระวังอัตราการคลอดมีชีพในหญิง 10-14 ปี 3. ร้อยละการตั้งครรภ์ซ้ำในหญิงอายุน้อยกว่า 20 ปี 4. ร้อยละของหญิงอายุน้อยกว่า 20 ปี ที่ได้รับบริการคุมกำเนิดด้วยวิธีสมัยใหม่ (Modern methods) หลังคลอดหรือหลังแท้ง 5. ร้อยละของหญิงอายุน้อยกว่า 20 ปี หลังคลอดหรือหลังแท้งที่คุมกำเนิดได้รับการคุมกำเนิดด้วยวิธีกึ่งถาวร (ยาฝังคุมกำเนิด/ห่วงอนามัย)

อัตราการคลอดมีชีพในหญิงอายุ 15-19 ปี พ.ศ. 2560 เปรียบเทียบข้อมูล HDC & HDC (adjusted) หมายเหตุ : ข้อมูล ณ วันที่ 3 พฤศจิกายน 2560

อัตราการคลอดมีชีพในหญิงอายุ 10-14 ปี พ.ศ. 2560 เปรียบเทียบข้อมูล HDC & HDC (adjusted)

ร้อยละของการตั้งครรภ์ซ้ำในหญิงอายุ<20 ปี พ.ศ. 2560 ร้อยละ เป้าหมาย ร้อยละ 10 หมายเหตุ : ข้อมูลจากระบบ Health Data Center (HDC) ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข วันที่ประมวลผล :: 3 พฤศจิกายน 2560

หลังคลอดหรือหลังแท้ง พ.ศ. 2560 ร้อยละของหญิงอายุ <20ปี ที่ได้รับบริการคุมกำเนิดด้วยวิธีสมัยใหม่ (Modern Methods) หลังคลอดหรือหลังแท้ง พ.ศ. 2560 ร้อยละ เป้าหมาย ร้อยละ 80 หมายเหตุ : ข้อมูลจากระบบ Health Data Center (HDC) ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข วันที่ประมวลผล :: 3 พฤศจิกายน 2560

ร้อยละของหญิงอายุ < 20 ปี ที่คุมกำเนิดได้รับบริการคุมกำเนิด หลังคลอดหรือหลังแท้งด้วยวิธีคุมกำเนิดแบบกึ่งถาวร พ.ศ. 2560 ร้อยละ เป้าหมาย ร้อยละ 80 หมายเหตุ : ข้อมูลจากระบบ Health Data Center (HDC) ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข วันที่ประมวลผล :: 3 พฤศจิกายน 2560

การเฝ้าระวังอัตราการคลอดมีชีพในหญิงอายุ 15-19 ปี

การเฝ้าระวังอัตราการคลอดมีชีพในหญิงอายุ 10-14 ปี 2

ร้อยละการตั้งครรภ์ซ้ำในหญิงอายุน้อยกว่า 20 ปี 3

ร้อยละของหญิงอายุน้อยกว่า 20 ปี ที่ได้รับบริการคุมกำเนิดด้วยวิธีสมัยใหม่ (Modern methods) หลังคลอดหรือหลังแท้ง 4

ร้อยละของหญิงอายุน้อยกว่า 20 ปี หลังคลอดหรือหลังแท้งที่คุมกำเนิดได้รับการคุมกำเนิดด้วยวิธีกึ่งถาวร (ยาฝังคุมกำเนิด/ห่วงอนามัย) 5

You can find me at piyarat@hotmail.com THANKS! Any questions? You can find me at You can find me at piyarat@hotmail.com