เป็นฐานสำคัญขององค์กร

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สรุป assignment ที่ 1 มีทั้งหมด สอง file เป็น slide ประกอบเสียงเปิด เสียงฟังดังๆ จะเปลี่ยนรูปเอง โดยอัตโนมัติค่ะ.
Advertisements

ทบทวนให้ถึงแก่น น.พ.อนุวัฒน์ ศุภชุติกุล
Business Quality Management
Service Profile สถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล 27 สิงหาคม 2551
แนวคิดบันไดขั้นที่ 2 สู่ HA สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล
Quality Improvement Track
แนวคิดบันไดขั้นที่ 2 สู่ HA สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล
1 Quality Improvement Tract สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล ( องค์การมหาชน )
Service Profile บริการ/ทีม: ……………………………. โรงพยาบาลนครปฐม
การอภิปราย หัวข้อ “การนำนโยบายสู่การปฏิบัติและเตรียม ความพร้อมรับมืออุบัติเหตุทางถนน” นายเชษฐา โมสิกรัตน์ ผอ.กองนโยบายป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย.
การเขียนแบบ รายงาน การเยี่ยมสำรวจ นันทา ชัยพิชิตพันธ์ พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ.
PMQA Organization เอกสารประกอบการชี้แจงตัวชี้วัดการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ สำหรับส่วนราชการระดับกรม ประจำปีงบประมาณ พ.ศ วันที่ 28 ตุลาคม.
บทสรุป “เทคนิคการบริหารองค์กร ในมุมมองของผู้บริหาร” จาก... นายแพทย์เสรี หงษ์หยก รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข นายธวัชชัย ไทยเขียว อธิบดีกรมพินิจและคุ้มครองเด็ก.
ทพญ. เรวดี ศรีหานู. ภาพรวมของการพัฒนา คุณภาพ ระบบบริหารความเสี่ยง องค์กรแพทย์ องค์กรพยาบาล สิ่งแวดล้อมในการดูแลผู้ป่วย การป้องกันและควบคุมการ ติดเชื้อ.
CHRO สรุปผลการดำเนินงานและแผน ยุทธศาสตร์กระทรวงสาธารณสุข
KS Management Profile.
ประสบการณ์และเทคนิคทำวิจัยสถาบัน
การประเมินผลการปฏิบัติงานระดับบุคคล
เอกสารประกอบการบรรยาย หลักสูตร Fundamental หัวข้อวิชา องค์กรและระบบงานตรวจสอบภายใน สำนักกำกับและพัฒนาการตรวจสอบภาครัฐ กรมบัญชีกลาง.
เป็นกระบวนการเรียนรู้ ไม่ใช่การตรวจสอบ
Hospital Presentation นพ.ชัยวัฒน์ พงศ์ทวีบุญ ผู้อำนวยการโรงพยาบาล
เกณฑ์รางวัลคุณภาพแห่งชาติเพื่อองค์กรที่เป็นเลิศ
แนวทางการตรวจประเมินองค์กรด้วยตนเอง (Self-Assessment)
ผู้อำนวยการศูนย์พัฒนาคุณภาพ
แนวคิดการพัฒนาคุณภาพ การประกันคุณภาพการพยาบาล
การจัดการองค์ความรู้
การกำกับดูแลวิชาชีพ ด้านการพยาบาล (Nursing) 6 กรกฎาคม 2559
บทที่ 7 หลักการบริหารงานคุณภาพ
.:: ทรงปัญญา ศรัทธาธรรม นำสังคม .::
Week 4 โครงการบริษัทจำลองเพื่อการผลิตภาพเคลื่อนไหวและสื่อผสม Animation and Multimedia Project CAG2901.
Risk Management System
The Balanced Scorecard & KPI
PCT / ระบบสำคัญ : ใช้ Cycle of Learning ในการหมุน PDSA
หลักการและแนวคิดเกี่ยวกับ การจัดการกระบวนการ
โรงพยาบาลพระมงกุฏเกล้า
การพัฒนาคุณภาพระบบบริการอนามัยสิ่งแวดล้อม องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
การเยี่ยมสำรวจภายใน HA 401
กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข 12 มกราคม 2550
รศ.ดร.ทศพร ศิริสัมพันธ์
การสร้างการเรียนรู้การใช้ SPA in Action เพื่อจุดประกายการพัฒนาคุณภาพ
โรงพยาบาลศรีสังวรสุโขทัย
หมวด 6 การปฏิบัติการ โดย ดร.สุนทรัสส์ เพชรรักษ์คำด้วง
กรอบแนวคิดในการพัฒนา มาตรฐานการจัดบริการอาชีวอนามัย
P S BB ART ระบบงบประมาณแบบมุ่งเน้น ผลงานตามยุทธศาสตร์ กับ PART ผลผลิต
นายแพทย์สุพรรณ ศรีธรรมมา ที่ปรึกษากระทรวงด้านพัฒนาระบบบริการสาธารณสุข
KPI กลุ่มงานพัฒนาคุณภาพและรูปแบบบริการ
ความก้าวหน้าการดำเนินงานตามนโยบายตัวชี้วัดวัณโรค
หมู่บ้านอาสาพัฒนาและป้องกันตนเอง
การดำเนินงานส่งเสริมพัฒนาการเด็ก เขตสุขภาพที่ 5
การบริหารการปฏิบัติงานของทรู (Cycle of Performance Management System)
บทที่ 6 การบริหารและการวางแผนการผลิต
Risk Management in New HA Standards
นพ.ชลทิศ อุไรฤกษ์กุล 29 พ.ย.61
บริการ/ทีม: ศูนย์คอมพิวเตอร์ โรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราชเดชอุดม
ณ โรงแรมรัตนโกสินทร์ อ.เมืองเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่
แผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพ (Service Plan)
โครงสร้างส่วนราชการและระดับตำแหน่งผู้บริหารขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ภาพรวมของ CLT/PCT (CLT/PCT Profile)
Activity-Based-Cost Management Systems.
แนวคิดหลัก 1. Systematic 2. Sustainable 3. Measurable
วิสัยทัศน์ (Vision) โรงพยาบาลชลบุรี มุ่งสู่ความเป็นเลิศทางการแพทย์ และสถาบันวิชาการชั้นนำระดับชาติ
วิสัยทัศน์ (Vision) โรงพยาบาลชลบุรี มุ่งสู่ความเป็นเลิศทางการแพทย์ และสถาบันวิชาการชั้นนำระดับชาติ
ภาพรวมของ CLT/PCT (CLT/PCT Profile)
Service Profile :งานจ่ายกลาง รพร.เดชอุดม
ประเด็นการขับเคลื่อนองค์การไปสู่ระบบราชการ 4.0
Service Profile หน่วยงาน : ห้องคลอด รพร.เดชอุดม
กลยุทธ์การทดสอบซอฟต์แวร์ วิศวกรรมซอฟต์แวร์ (Software Engineering)
การพัฒนาคุณภาพการดูแลรักษาผู้ติดเชื้อเอชไอวี
ตึกผู้ป่วยในพิเศษสูติ-นรีเวชกรรม Presentation
ภาพรวมของ CLT/PCT สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องค์การมหาชน) พฤษภาคม 2561.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

เป็นฐานสำคัญขององค์กร Unit-base Quality คุณภาพหน่วยงาน เป็นฐานสำคัญขององค์กร

Unit-base Quality unit optimization คืออะไร??

เป็นองค์ประกอบ หนึ่ง ของพื้นที่พัฒนาของโรงพยาบาล 4 Domains ของการพัฒนา คือการมองพื้นที่การพัฒนาตามโครงสร้างการทำงาน ได้แก่ หน่วยงาน/หน่วยบริการ, กลุ่มผู้ป่วย, ระบบงาน และองค์กร ช่วยในการตรวจสอบความสมบูรณ์ของการพัฒนา ช่วยให้มองเห็นความสัมพันธ์ของพื้นที่การพัฒนาและลดความซ้ำซ้อนในการพัฒนา 6 Tracks ของการพัฒนา เป็นการให้แนวทางการนำเครื่องมือการพัฒนาที่สอดคล้องกับแต่ละพื้นที่ไปสู่การปฏิบัติเป็นลำดับขั้น ทำให้สามารถวางแผนและติดตามความก้าวหน้าในการพัฒนาได้ดีขึ้น การพัฒนาในระดับหน่วยงาน/หน่วยบริการ เป็นพื้นฐานของการพัฒนาที่เป็นระบบขององค์กร สามารถใช้คำเรียกกิจกรรมการพัฒนาทั้งหมดในระดับนี้ว่า Unit Optimization การพัฒนาในระดับกลุ่มผู้ป่วย หรืออาจเรียกให้ครอบคลุมกว้างขึ้นว่า การพัฒนาการดูแลผู้ป่วย/การพัฒนาคุณภาพทางคลินิก เริ่มต้นจากการนำปัญหาที่เกิดขึ้นกับผู้ป่วยแต่ละรายมาวิเคราะห์และวางแนวทางป้องกัน การตามรอยผู้ป่วยแต่ละรายเพื่อเรียนรู้คุณภาพการดูแลในแต่ละจุด ไปสู่การศึกษาวิเคราะห์ภาพรวมของคุณภาพการดูแลในแต่ละกลุ่มโรค จึงสรุปไว้เป็น 2 track คือ patient safety และ clinical population การพัฒนาในระดับระบบงาน เป็นการใช้ 3C-PDSA เพื่อพัฒนาระบบงานต่างๆ โดยใช้มาตรฐานของแต่ละระบบควบคู่กับการวิเคราะห์บริบทของตน การพัฒนาในระดับองค์กร มี track ที่เกี่ยวข้องคือการบริหารเชิงกลยุทธ์ซึ่งเป็นหน้าที่โดยตรงของผู้นำ และการประเมินตนเองเพื่อให้เห็นความก้าวหน้าในวุฒิภาวะของการพัฒนา และเป็นเครื่องมือสำคัญในการบริหารสู่ความเป็นองค์กรเรียนรู้

เส้นทางการพัฒนา 6 Tracks

Unit-base Quality แนวคิดพื้นฐาน คือการใช้ 3P หัวหน้าพาทำคุณภาพ กิจกรรมคุณภาพพื้นฐานต่างๆ ระบบข้อเสนอแนะ, 5ส., พฤติกรรมบริการสู่ความเป็นเลิศ, สุนทรียสนทนา, KM Service Profile เป็นเครื่องมือสำหรับวางแผนและติดตามการพัฒนาคุณภาพและการบรรลุเป้าหมายของหน่วยงาน กิจกรรมทบทวนคุณภาพ เป็นกระจกส่องตัวเอง เป็นเครื่องมือในการหาโอกาสพัฒนา ควรเลือกสรรให้เหมาะสมกับแต่ละหน่วยงาน การพัฒนาคุณภาพของหน่วยงาน เชื่อมโยง Performance Management System

Track 1 : Unit Optimization หัวหน้าพาทำคุณภาพ กิจกรรมคุณภาพพื้นฐานต่างๆ ระบบข้อเสนอแนะ, 5ส., พฤติกรรมบริการสู่ความเป็นเลิศ, สุนทรียสนทนา, KM Service Profile เป็นเครื่องมือสำหรับวางแผนและติดตามการพัฒนาคุณภาพและการบรรลุเป้าหมายของหน่วยงาน กิจกรรมทบทวนคุณภาพ เป็นกระจกส่องตัวเอง เป็นเครื่องมือในการหาโอกาสพัฒนา ควรเลือกสรรให้เหมาะสมกับแต่ละหน่วยงาน การพัฒนาคุณภาพของหน่วยงาน เชื่อมโยง Performance Management System Track 1 : Unit Optimization 3P ในงานประจำ หัวหน้าพาทำคุณภาพ กิจกรรมคุณภาพพื้นฐาน ค้นหาความหมาย/ความเชื่อมโยงใน Service Profile CQI ทบทวนการบรรลุเป้าหมายของหน่วยงาน กำหนดแผนการพัฒนาหน่วยงานเพิ่มเติม Track ที่ 1 Unit Optimization คือการพัฒนาคุณภาพในระดับหน่วยงาน โดยรักษาสัมพันธภาพที่ดีกับหน่วยงานอื่น ไม่รบกวน ไม่เพิ่มภาระ ไม่จำกัดโอกาสหน่วยงานอื่นจนเกิดความเสียหายหรือกลายเป็นปัญหาขององค์กร เป็นรากฐานที่สำคัญของการพัฒนา แนวคิดพื้นฐาน คือการใช้ 3P ทั้งในระดับงานประจำและระดับหน่วยงาน ส่งเสริมให้สมาชิกทุกคนใช้ 3P เพื่อทบทวนใคร่ครวญงานประจำของตน สะสมมาเป็น 3P ระดับหน่วยงาน หัวหน้าพาทำคุณภาพ เป็นกิจกรรมที่สร้างการมีส่วนร่วมของทุกคน เป็นคำถามพื้นฐานที่ทำให้เข้าถึงหัวใจของคุณภาพ เรียนรู้ความต้องการของผู้รับผลงานภายในและภายนอก แสวงหาโอกาสในการทำวันพรุ่งนี้ให้ดีกว่าวันนี้ กิจกรรมคุณภาพพื้นฐานต่างๆ เริ่มต้นที่ระดับหน่วยงาน เช่น ระบบข้อเสนอแนะ, 5ส., พฤติกรรมบริการสู่ความเป็นเลิศ รวมไปถึงกิจกรรมที่ส่งเสริมจิตตปัญญา เช่น สุนทรียสนทนา, การส่งสัญญาณเพื่อให้กลับมาอยู่กับลมหายใจของแต่ละคน, การสรุปปัญหาเมื่อจบวันเพื่อไม่นำเป็นภาระกลับไปบ้าน, KM ที่เน้นการเล่า how to ตามด้วยการสะท้อนความรู้สึกของผู้ฟัง (มูลนิธิสดศรีฯ), การเล่าเรื่องและเขียนเรื่อง Service Profile เป็นเครื่องมือสำหรับวางแผนและติดตามการพัฒนาคุณภาพและการบรรลุเป้าหมายของหน่วยงาน ซึ่งเชื่อมโยงกับเป้าหมายขององค์กร โดยไม่ละเลยบริบทของหน่วยงาน และควรเน้นผู้รับผลงานเป็นศูนย์กลาง มิใช่เน้นหน่วยงานหรือวิชาชีพเป็นตัวตั้ง กิจกรรมทบทวนคุณภาพ เป็นกระจกส่องตัวเอง เป็นเครื่องมือในการหาโอกาสพัฒนา ควรเลือกสรรให้เหมาะสมกับแต่ละหน่วยงาน การพัฒนาคุณภาพของหน่วยงาน จะเป็นโครงการหรือไม่เป็นก็ได้ โครงการเล็กหรือใหญ่ก็ได้ สะสม small q (การพัฒนาคุณภาพเรื่องเล็กๆ) โดยไม่ต้องรอโอกาส big Q (การพัฒนาคุณภาพเรื่องใหญ่ๆ มีผลกระทบสูง) เชื่อมโยง Performance Management System เข้ากับเป้าหมายของหน่วยงานและองค์กร เชื่อมโยงกับระบบงานสำคัญ 01 02 03 04 05 06 07 08 09 10 11 12

เครื่องมือคุณภาพ สำหรับผู้บริหารหน่วยงาน Unit/Service Profile เครื่องมือคุณภาพ สำหรับผู้บริหารหน่วยงาน บริหารคุณภาพของหน่วยงานอย่างมืออาชีพ

หัวหน้าพาทำคุณภาพ หัวหน้าหน่วยงานเป็นผู้ขับเคลื่อนการเรียนรู้ที่สำคัญและมีพลัง กิจกรรมพาทำคุณภาพเป็นการเริ่มต้นทำกิจกรรมพัฒนาคุณภาพที่ทำได้ง่าย แต่ส่งผลกระทบอย่างสำคัญ เป็นคำถามง่ายๆ ที่สะท้อนปรัชญาพื้นฐานของคุณภาพที่ควรถามกันเป็น ประจำ คือปรัชญาหรือ core values เกี่ยวกับ customer, continuous improvement, focus on result

Unit/Service Profile เป็น เครื่องมือคุณภาพ : ทำหน้าที่ เครื่องมือในการทำความเข้าใจหน้าที่สำคัญของ หน่วยงาน เครื่องมือวิเคราะห์ประเด็นสำคัญและหาโอกาสพัฒนา เครื่องมือวางแผนการทำงาน การป้องกันความเสี่ยง การ พัฒนาต่อเนื่อง เครื่องมือติดตามความก้าวหน้า เพื่อบรรลุผลสำเร็จของ หน่วยงาน เครื่องมือในการสื่อสารและเรียนรู้ภายในหน่วยงาน บันทึกผลงานของหน่วยงาน

การสรุปภาพรวมและความสัมพันธ์ใน Unit Profile

เป้าหมายหลักของเครื่องมือ : Service Profile เพื่อใช้ประโยชน์ในการบริหารและพัฒนา ภายในหน่วยงาน ทำให้ผู้บริหารและทีมงานหน่วยงาน มองเห็นภาพรวมความสัมพันธ์ของข้อมูลและกิจกรรมที่เกิดขึ้น เป็นเครื่องมือสำหรับการวางแผน ควบคุมกำกับ สื่อสาร และเรียนรู้ เพื่อบรรลุความสำเร็จของหน่วยงาน

Purpose Process Performance การวิเคราะห์และใช้ประโยชน์ : Service Profile Purpose Process Performance

เป้าหมายกับการบรรลุเป้าหมาย Purpose อะไรคือหน้าที่และเป้าหมายของหน่วยงาน Process เป้าหมายและตัววัดมีความสอดคล้องกันหรือไม่ Performance อะไรคือตัววัดการบรรลุเป้าหมายของหน่วยงาน ตรวจสอบข้อมูลจาก Service Profile ของผู้เรียน จดลงใน “บันทึกการเรียนรู้”

ทบทวนความสอดคล้องของเป้าหมายและตัวชี้วัด

ทบทวนมิติคุณภาพ ทีมีการวัดอยู่

Performance การติดตามการบรรลุเป้าหมายของหน่วยงาน ตัวชี้วัดที่ใช้ติดตามการบรรลุเป้าหมายของหน่วยงาน ตัวชี้วัดที่ใช้ควบคุมกระบวนการสำคัญ

มาตรฐานที่เกี่ยวข้อง Service Profile มาตรฐานที่เกี่ยวข้อง

Service Profile เป้าหมายหลักของเครื่องมือนี้ คือการใช้ประโยชน์โดยหน่วยงานในการบริหารและพัฒนาหน่วยงาน มิใช่ทำเพียงเพื่อส่งให้ สรพ.ดู

สิ่งสำคัญ : Service Profile มีการวิเคราะห์อย่างเป็นระบบ ทำให้เห็นความเชื่อมโยง ความเป็นเหตุเป็นผลของข้อมูลต่างๆ ทำให้มีการติดตามสิ่งที่เป็นหัวใจสำคัญของหน่วยงาน Purpose-Process-Performance ทำให้เห็นการพัฒนา และการเรียนรู้ ต่อเนื่อง ผลการพัฒนา แผนที่จะทำต่อ