ทิศทางการพัฒนาคลินิก NCD คุณภาพ ปี 2559

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ประเด็นในการพัฒนา DHS-PCA
Advertisements

การพัฒนาสุขภาพกลุ่มวัยทำงาน
ยุทธศาสตร์ การจัดสรร งบประมาณ ยุทธศาสตร์การพัฒนาคนและสังคมที่มีคุณภาพ
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเลย
ภาคีรวมใจคนไทยไร้พุง จ.ลพบุรี Lopburi’s Slimming Academy
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
สถานการณ์และการเตรียมความพร้อม การป้องกันอุบัติเหตุทางถนน
การบูรณาการยุทธศาสตร์สุขภาพฯ กลุ่มเด็กวัยเรียน มาตรการ เป้าหมาย วิธีการวัด เป้าหมาย/KPI 1.นโยบายร่วมระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง แผนพัฒนาสุขภาพเด็กวัยเรียนแห่งชาติ/วาระสุขภาพแห่งชาติ
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
การประเมินผลโครงการ คปสอ.คลองใหญ่.
อำเภอควบคุมยาสูบและเครื่องดื่ม แอลกอฮอล์เข้มแข็ง ปี 2556
วันที่ 25 มกราคม 2559 เวลา – น. ณ โรงแรมพลูแมน ขอนแก่น นายแพทย์อัษฎางค์ รวยอาจิณ รองอธิบดี กรมควบคุมโรค.
แนวทางการดำเนินงานและแลกเปลี่ยน สู่การปฏิบัติ ปีงบประมาณ 2559 กลุ่มโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง โดย คุณณัฐธิวรรณ พันธุ์มุง วันอังคารที่ 20 ตุลาคม 2558 ณ ห้องประชุม.
สำนักโรคติดต่อทั่วไป กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข.
ข้อที่เกณฑ์การประเมินการดำเนินงาน ข้อ 1 พัฒนาแผนกลยุทธ์จากผลการวิเคราะห์ SWOT โดยเชื่อมโยงกับวิสัยทัศน์ของคณะและ สอดคล้องกับวิสัยทัศน์ของคณะ สถาบัน.
ข้อมูลทั่วไป จังหวัดศสม.รพสต.กองทุน สุขภาพตำบล สุขศาลา/ ศสมช. (ผ่าน3หมวด) อสม. ร้อยเอ็ด ,887 ขอนแก่น ,600 มหาสารคาม ,524.
ความเป็นมา การส่งเสริมกระบวนการแผนชุมชน
การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ(PMQA)
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
แนวทาง การดำเนินงาน ป้องกันการจมน้ำ สำนักโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค
กลุ่มงานบริหารทรัพยากรบุคลากร
อสม.นักจัดการสุขภาพตามกลุ่มวัย
ทิศทาง/นโยบายการดำเนินงาน NCDs & Injury
สรุปผลการดำเนินงานตามนโยบายการควบคุมโรคไม่ติดต่อ ด้านการเฝ้าระวังผู้ป่วยโรคเบาหวาน/โรคความดันโลหิตสูง ควบคุมระดับน้ำตาลและความดันได้ดี ปีงบประมาณ 2561.
แผนงานป้องกันและควบคุมโรคไม่ติดต่อ
สายส่งเสริมตามกลุ่มวัยและประเด็น
การประเมินมาตรฐาน งานระบาดวิทยา ปี 2549
การถ่ายทอดตัวชี้วัด เป้าหมาย เพื่อลงนามคำรับรองการปฏิบัติราชการ
แพทย์หญิงวันทนีย์ วัฒนะ ผู้อำนวยการสำนักอนามัย
กลุ่มเป้าหมาย สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด 76 จังหวัด ค่าเป้าหมาย
สรุปแนวทางการดำเนินงานตามกลุ่มวัย
ตัวชี้วัดที่ 1 : อัตราส่วนการตายมารดาไทย ค่าเป้าหมายไม่เกิน 20 ต่อการเกิดมีชีพแสนราย เปรียบเทียบอัตราส่วนการตายมารดารายเขต ปี 2560 กับ 2561ในช่วงเวลาเดียวกัน.
ยุทธศาสตร์ ที่ 1 Promotion, Prevention & Protection Excellence
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
การประเมินผลสัมฤทธิ์ของโครงการ
การติดตามผลการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๐
บัตรยิ้ม สร้างเสริมกำลังใจ
กลุ่มงานส่งเสริมสุขภาพ ข้อสั่งการ/ข้อเสนอแนะ
การขับเคลื่อนตำบลจัดการสุขภาพ แบบบูรณาการ เขตสุขภาพที่ 6
โดย ศรีปัญญา ม่วงเพ็ชร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
โครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพ องค์การบริหารส่วนตำบลท่าดินแดง
ปัญหาของข้อมูลในระบบHDC
SERVICE PLAN สาขาโรคไม่ติดต่อ.
NCDs การจัดทำแผนงาน ปี สิงหาคม 2560.
โครงการกำจัดปัญหาโรคพยาธิใบไม้ตับและมะเร็งท่อน้ำดี ถวายเป็นพระราชกุศลฯ
เพื่อการขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์ทศวรรษ
แนวทาง/เกณฑ์การประเมินโครงการฯ
ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จขององค์กรปกครอง
การติดตามผลงาน OKRs ปีงบประมาณ 2562 (ไตรมาส 1)
พัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย (9 ตัว) กลุ่มเด็กปฐมวัย (๐-๕ ปี)/สตรี 1.อัตราส่วนการตายของมารดาไม่เกิน15ต่อการเกิดมีชีพแสนคน 2.ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัย.
การเสียชีวิตจากการบาดเจ็บ
อัตราความสำเร็จการรักษาผู้ป่วยวัณโรคปอดรายใหม่ (≥ 85 %)
แผนงาน การพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ
ความก้าวหน้าในการดำเนินงาน Product Champion Cluster วัยรุ่น
ทพญ.อัมพร เดชพิทักษ์ กลุ่มงานทันตสาธารณสุข
จุดเน้นการดำเนินงานป้องกัน ควบคุมโรค และภัยสุขภาพ ประจำปีงบประมาณ
การเสียชีวิตจากการบาดเจ็บจากจราจรทางถนน
ประชุม คปสจ.ประจำเดือนมิถุนายน ๒๕๕๙ MOTTO – กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ
อัตราส่วนการตายมารดาไทย
กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข โรงแรมเดอะรอยัลเจมส์ กอล์ฟ รีสอร์ท
ทิศทางการดำเนินงานลดโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD)
การป้องกันควบคุมโรค NCDs
โครงการพัฒนารูปแบบการดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน : ชุมชนลดเสี่ยง ลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง.
พัฒนาแผนงาน / ยุทธศาสตร์
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
ศูนย์อนามัยที่ 8 อุดรธานี
ประเด็น ที่ 4 อัตราความสำเร็จการรักษาผู้ป่วยวัณโรคปอดรายใหม่
นพ.อภิศักดิ์ วิทยานุกูลลักษณ์ รพ.ธัญญารักษ์เชียงใหม่ กรมการแพทย์
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
กำหนดการ การนิเทศ ติดตาม ควบคุม กำกับฯ รอบที่ 2 ประจำปี 2560
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ทิศทางการพัฒนาคลินิก NCD คุณภาพ ปี 2559 โดย กลุ่มพัฒนาระบบสาธารณสุข สำนักโรคไม่ติดต่อ วันที่ 20 ตุลาคม 2558 ณ โรงแรมมิราเคิล แกรนด์ คอนเวนชั่น กรุงเทพมหานคร 

Quick Win สำหรับการดำเนินงานลดโรคไม่ติดต่อและการบาดเจ็บ ปี 2559 NCD RTI จมน้ำ มาตรการ ขับเคลื่อนงานผ่าน DHS/DC มาตรการชุมชน (ด่านชุมชน) จัดการข้อมูลและสอบสวนอุบัติเหตุ มาตรการองค์กร PP Plan 1.ตำบลจัดการสุขภาพ 2.สปก./สถานที่ทำงาน 3.บังคับใช้กม. 4.คลินิก NCD คุณภาพ 1.สร้างทีม “ผู้ก่อการดี (Merit Maker) ป้องกันการจมน้ำ” 2.สื่อสารประชาสัมพันธ์ Service plan DM HT CKD & CVD MODEL เป้าหมาย พัฒนาทีมวิทยากรพี่เลี้ยง 1,000 คน อบรมพี่เลี้ยง 60 คน Pt. DM HTได้รับการประเมิน cvd risk 60% การบาดเจ็บและการเสียชีวิตภาพรวมในเทศกาลปีใหม่ลดลง พื้นที่ดำเนินการด่านชุมชน (อย่างน้อย 40 อำเภอ) ลดตาย 50% พัฒนา SM ระดับเขต 50% มีทีมผู้ก่อการดีเพิ่มอีก 200 ทีม (1 ทีม/อำเภอในพื้นที่เสี่ยงสูง) 3 M -มีการจัดการแหล่งน้ำเสี่ยง อย่างน้อย 600 แห่ง -ศูนย์เด็กเล็กได้รับการจัดการอย่างน้อย 200 แห่ง 6 M อบรมอสม.52,236 คน อบรมผู้ประเมินสปก.50 คน กลุ่มเสี่ยงสูงต่อ CVD ได้รับการปป.พฤติกรรม 50% พัฒนา SM ระดับเขต 100% คัดกรอง CKD 60% การบาดเจ็บและการตายภาพรวมในเทศกาลสงกรานต์ลดลง พื้นที่ดำเนินการด่านชุมชน (อย่างน้อย 40 อำเภอ) ลดตาย 50 % พื้นที่ขับเคลื่อนงานผ่านDHS/DC Pt. DM HT ควบคุมน้ำตาล/ความดันได้ดี (40%/50%) ขับเคลื่อนหมู่บ้านจัดการสุขภาพ 70% Pt. DM HT ควบคุมน้ำตาล/ความดันได้ดี (40%/50%) 9 M -เด็กได้เรียนหลักสูตรการว่ายน้ำฯ อย่างน้อย 20,000 -อุบัติเหตุของรถพยาบาลลดลงจากปีที่ผ่านมาในช่วงเวลาเดียวกัน -Pt. DM HT คัดกรองภาวะแทรกซ้อน ตา เท้า -Pt. DM HT มีภาวะแทรกซ้อนไต stage3 ขึ้นไป ลดลง -ดำเนินการคลินิก NCD คุณภาพ ในทุกโรงพยาบาล ตำบลจัดการสุขภาพผ่านเกณฑ์ 70% สปก.ได้รับข้อมูลดำเนินงานสปก. 5% ของทั้งหมด Pt.รายใหม่ด้วย IHD ลดลง 12 M การเสียชีวิตจากการจมน้ำของเด็กอายุต่ำกว่า 15 ปี < 770 คน (< 6.5 ต่อปชก.เด็กต่ำกว่า 15 ปีแสนคน) -อัตราการตายจากอุบัติเหตุทางถนนของเขตลดลงอย่างน้อย 21%

โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง อุบัติเหตุ และการป้องกันเด็กจมน้ำ ผลการดำเนินงาน 2558 โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง อุบัติเหตุ และป้องกันเด็กจมน้ำ คลินิก NCD คุณภาพ 1.คลินิก NCD คุณภาพ 2558 : รพ.เป้าหมาย 324 แห่ง ผ่านการประเมินรับรอง 311 แห่ง (96.3%) เป้าปี 59 ประเมินครบ ร้อยละ 100 = 853 แห่ง 2. ผู้ป่วยควบคุมระดับน้ำตาล/ความดันได้ดีปี 58 : ร้อยละ 38.2 /41.5 (MedResNet) 3. อัตราตาย CHD (รอบ 9 เดือน ปี58) : 20.32/ปชก.แสนคน (ปี 57 =26.77,ปี 56=26.91) อุบัติเหตุทางถนน อัตราตายด้วยอุบัติเหตุทางถนน รอบ 9 เดือน : 13.98/ประชากรแสนคน มี MR.RTI 24 คน มีด่านชุมชน 206 แห่ง และพัฒนาทีมด่านชุมชน (การใช้ข้อมูล) 16 จังหวัด DHS งาน RTI > 90 อำเภอ โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง อุบัติเหตุ และการป้องกันเด็กจมน้ำ สนับสนุนการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การเนินงานเพื่อลดโรค NCDs - คู่มือการจัดบริการสุขภาพ”กลุ่มวัยทำงาน” 2558 คู่มือปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในคลินิก NCD คุณภาพ คู่มือปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในชุมชน สำหรับบุคลากรสาธารณสุข แนวทางการคัดกรอง ประเมินและดูแลรักษาผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิต" (ตา ไต ตีน ตีบ) CVD risk & CKD ประเมินโอกาสเสี่ยงโรค CVD และดำเนินการในพื้นที่นำร่อง (สิงห์บุรี,อ่างทอง) พัฒนารูปแบบการจัดบริการคลินิกโรค CKD พัฒนาบุคลากร อบรม Case Manager (ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม) 2 รุ่น (120 คน) อบรม System Manager (120 คน) จมน้ำ -อัตราการเสียชีวิตจากการจมน้ำของเด็ก (อายุต่ำกว่า 15 ปี) รอบ 9 เดือน : เป้าหมายประเทศ 2558 : Rate 6.5 หรือ 770 คน ผล : 543 คน (ณ 16 กค.58) -มีเครือข่ายทีมผู้ก่อการดีจำนวน 350 ทีม

กรอบการดำเนินงานสำหรับ NCDs ปี 2559 S : Structure I : Intervention and Innovation I : Information I : Integration M : Monitoring and Evaluation SIM3 ขับเคลื่อน ลดพฤติกรรม/ปัจจัยเสี่ยงในประชากร ตำบลจัดการสุขภาพ สถานที่ทำงาน/สปก.ปลอดโรค ปลอดภัยฯ การบังคับใช้กฎหมาย (สุรา บุหรี่) พัฒนาการจัดการโรคและลดเสี่ยงรายบุคคล คลินิก NCD คุณภาพ การจัดบริการคลินิกโรค CKD การประเมินและจัดการโอกาสเสี่ยงต่อ CVD DHS/DC + system manager ระดับอำเภอ คัดกรอง DM&HT Basic Service มาตรการ ปชช.มีพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสม และลดปัจจัยเสียงต่อโรคไม่ติดต่อ ปชช.ได้รับการประเมินและจัดการเพื่อลด โรคหัวใจและหลอดเลือด ผลผลิต KPI จังหวัด - คลินิก NCD คุณภาพ > 70% - CVD Risk > 30% ได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม KPI เขต - DM,HT controlled 40/50% DM,HT รายใหม่ลดลง KPI ประเทศ - อัตราป่วยรายใหม่ IHD ลดลง

คลินิก NCD คุณภาพ เครือข่ายของคลินิก/คลินิก/ศูนย์ในสถานบริการ ที่เชื่อมโยงในการบริหารจัดการและดำเนินการทางคลินิก ให้เกิดกระบวนการป้องกัน ควบคุม และดูแลจัดการ โรคเรื้อรังแก่กลุ่มเสี่ยง กลุ่มป่วย 1 ทิศทางและนโยบาย 2 ระบบสารสนเทศ 3 การปรับระบบและกระบวนการบริการ 4 ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ 5 ระบบสนับสนุนการจัดการตนเอง 6 จัดบริการเชื่อมโยงชุมชน ผู้มารับบริการสามารถควบคุม ป้องกันปัจจัยเสี่ยงร่วม/โอกาสเสี่ยงได้หรือดีขึ้น กลุ่มป่วยสามารถควบคุมสภาวะของโรคได้ตามค่าเป้าหมาย (controllable) ลดภาวะแทรกซ้อนของระบบหลอดเลือด ลดการนอนโรงพยาบาลโดยไม่ได้คาดการณ์ล่วงหน้า ลดอัตราการเสียชีวิตที่สัมพันธ์โดยตรงจากโรคเรื้อรังในช่วงอายุ 30 - 70 ปี

การขับเคลื่อนคลินิก NCD คุณภาพ 2556 -ทดลองเครื่องมือเชิงปริมาณ 2557 -เริ่มกระบวนการคุณภาพบริการ ในสถานพยาบาล - ประเมินรับรองA/S/M ทุกแห่ง + ร้อยละ 30 F (407 รพ, บางจังหวัด ขอเก็บ รพช < 30%) 2558 -เพิ่ม “บูรณาการจัดการตนเอง” - ประเมินรับรอง รพ ที่ยังไม่ผ่านปี 57 + ร้อยละ 40 F จำนวน รพ. A=33, S=48, M1=91, M2=35, F1-F3=780 (ปี 2557) 2560 ขยับ มาตรฐานการเพิ่มคุณภาพบริการ 2559 -เพิ่ม “บูรณาการ CVD & CKD” -เพิ่มคุณภาพในส่วนของการดูแลในชุมชน (รพ.สต) - ประเมินรับรอง รพ. ที่ไม่ผ่านเมื่อ 58 + ร้อยละ 30 F ผลปี 2558 : รพ.เป้าหมาย 324 แห่ง ผ่านการประเมินรับรอง 311 แห่ง(96.3%)

กรอบการปรับระบบบริการในคลินิก NCD คุณภาพ การปรับระบบบริการในคลินิก NCD คุณภาพ + ระบบสนับสนุนการจัดการตนเองในคลินิก NCD คุณภาพ เป้าหมาย -ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม -จัดการตนเอง -ควบคุมสภาวะของโรคได้ บูรณาการ CVD & CKD ผู้มารับบริการในคลินิก ได้รับการวินิจฉัยและรักษา ตามมาตรฐานวิชาชีพ และ Service Plan การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ตามความเสี่ยงของโรค การรักษาด้วยยา ตาม CPG การคัดกรองภาวะแทรกซ้อน ตา ไต หัวใจ เท้า ประเมินปัจจัยเสี่ยง อ้วน CVD risk สุขภาพจิต สุรา บุหรี่ สุขภาพช่องปาก รพศ./ รพท. DPAC Psychosocial Clinic/ เลิกสุรา เลิกบุหรี่ โภชนบำบัด (อาหารเฉพาะโรค) รพช./ รพ.สต. บูรณาการ/One Stop Service

ประเด็น : การควบคุมโรคไม่ติดต่อ (NCD) ข้อค้นพบ ข้อเสนอแนะ อัตราตายด้วยโรคหลอดเลือดหัวใจ และอัตราป่วยรายใหม่ยังสูงและคุณภาพบริการ DM/HT ยังไม่ถึงเกณฑ์ และยังไม่มีสัญญานว่าจะบรรลุเป้าหมาย ความก้าวหน้าของ PM และ Case manager ของพื้นที่มีการพัฒนาไปในทิศทางที่ดีขึ้น หน่วยบริการและหน่วยบริหารมีความตื่นตัวในการดำเนินงาน แต่ยังไม่ทราบแนวทางการดำเนินงานให้ผลงานมีประสิทธิผลมากขึ้น รวมทั้งการวิเคราะห์และใช้ประโยขน์ข้อมูลยังทำได้น้อย มาตรการคลินิก NCD คุณภาพ ยังไม่เชื่อมโยงและส่งผลโดยตรงต่อคุณภาพของบริการและการลดโรคได้อย่างเป็นรูปธรรมสำหรับการแก้ปัญหาในพื้นที่ การวิเคราะห์ข้อมูลและความยุ่งยากในการเข้าถึงการประมวลผลระบบฐานข้อมูล 43 แฟ้มของผู้ปฏิบัติงาน การเชื่อมต่อกับ Service plan น้อย มาตรการการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม พบว่า 1. กลุ่มที่มีความเสี่ยงสูงยังทำได้น้อย, ขาดการติดตามประเมินผล ขาดความต่อเนื่อง 2. มีการใช้มาตรการ 3 อ. 2 ส. ได้รับการสนับสนุนงบประมาณ จาก อปท. และรพสต. แต่ขาดการนำไปปฏิบัติอย่างต่อเนื่อง และครอบคลุม ควรทบทวนมาตรการ “คลินิก NCD คุณภาพ” ให้เป็นเครื่องมือในการพัฒนาคุณภาพบริการและการลดโรค NCD ได้มีประสิทธิภาพจริง ควรทบทวนเป้าหมายความสำเร็จของการลดโรค ลดตาย และคุณภาพบริการให้สอดคล้องกับกับประสิทธิผลของมาตรการ จังหวัดควรมุ่งเน้นมาตรการที่มีประสิทธิผลทั้ง ด้านการจัดการผู้ป่วยรายกรณี และมาตรการลดพฤติกรรมและปัจจัยเสี่ยงในชุมชนที่ตรงกับปัญหาตนเอง พัฒนาระบบฐานข้อมูล และพัฒนาการเข้าถึงการประมวลผลข้อมูลโรคไม่ติดต่อเรื้อรังจาก 43 แฟ้ม ให้ง่ายต่อผู้ปฏิบัติงาน เพื่อให้การทำงานมีประสิทธิภาพ ควรพัฒนาการใช้ประโยชน์ของข้อมูล โดย สำนักโรคไม่ติดต่อ ศนย. NCD และสำนักระบาด ร่วมมือกันในการจัดการชุดข้อมูลระบาดวิทยาโรคไม่ติดต่อที่ควรมีการวิเคราะห์เป็นพื้นฐาน และเพิ่มศักยภาพให้แก่ สคร. สสจ.และ หน่วยบริการสุขภาพในการใช้ประกอบในการวางแผนและติดตามผลคุณภาพบริการ  

ปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินงาน ภาพรวมการประเมินบริหารจัดการ ผู้ปฏิบัติงานและผู้ประเมินยังขาดความรู้ ความเข้าใจในความหมายตามเกณฑ์การประเมินที่กำหนด จัดทีมประเมินไขว้แบบโดยมีตัวแทน Case Manager จากโรงพยาบาลของแต่ละจังหวัด มาร่วมทีมประเมิน และมีการทบทวนเกณฑ์ แนวทางการประเมินร่วมกันก่อนลงประเมินจริง ระบบสารสนเทศ มีการนำข้อมูลมาวิเคราะห์เพื่อพัฒนาคุณภาพการป้องกันควบคุมโรคและออกแบบบริการ แต่ขาดการมีส่วนร่วมของทีมผู้เกี่ยวข้อง และไม่มีการนำหลักการทางระบาดวิทยาและบริบทของพื้นที่มาใช้ในการวิเคราะห์ปัญหาร่วมกันในทีม เพิ่มการวิเคราะห์ข้อมูลหา GAP ในพื้นที่ เพื่อเชื่อมโยงการจัดบริการของเครือข่าย โดยจัดทำเป็นแนวทางร่วมกัน เพิ่มการวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อจำแนกผู้ป่วย กลุ่มที่ควบคุมได้ กลุ่มที่ควบคุมไม่ได้ เพื่อหาสาเหตุและแนวทางแก้ไข

การสนับสนุนการดำเนินงานในคลินิก NCD คุณภาพ พัฒนาศักยภาพทีมจัดการระบบการจัดการโรคเรื้อรัง (NCDs System Manager) ระดับอำเภอ และพยาบาลผู้จัดการรายกรณี (Case manager) การจัดทำหลักสูตร Mini Case manager (Mini CM)

การสนับสนุนการจัดระบบบริการด้านการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ตามความเสี่ยงของโรค (CVD CKD) อบรมหลักสูตรการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม สำหรับพยาบาลผู้จัดการรายกรณีโรคเรื้อรัง (ภาคใต้ ภาคกลาง) จุดเด่นของหลักสูตร พัฒนาศักยภาพในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ให้สามารถจัดการความเสี่ยงได้ตามระยะความพร้อมในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม สามารถประยุกต์ใช้และการต่อยอดองค์ความรู้ในการดูแลสุขภาพผู้รับบริการได้อย่างมีประสิทธิภาพ การจัดทำหลักสูตร Mini CM เป็นหลักสูตรกลางให้ครู ก. นำไปใช้อบรมพัฒนาศักยภาพทีมในพื้นที่

ผู้รับผิดชอบงาน คุณนพวรรณ :คลินิก NCD คุณภาพ และการพัฒนา SM asawarat_1@hotmail.com tel:081-6673671 คุณอัจฉรา/คุณเมตตา : การพัฒนา CM และหลักสูตร Mini CM E-mail: aodzy35@hotmail.com Tel:081-4552249 ดร.กมลทิพย์ : BRFSS kamolthipph@gmail.com tel:0830513737

การอบรม SM อำเภอแก่ครู ก. เพิ่มศักยภาพของทีมสคร.และทีมเขตบริการสุขภาพในด้านโรคไม่ ติดต่อ พัฒนาตามส่วนที่ขาดในการป้องกันควบคุมโรคNCD วิเคราะห์ข้อมูลให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น คืนข้อมูล (Feedback data)และสนับสนุนการใช้ข้อมูลในระดับจังหวัด และระดับอำเภอได้ พัฒนาหลักสูตรการอบรมระดับอำเภอได้ ใน 1 ทีม ประกอบด้วย 5 คน - ผู้รับผิดชอบหลักในงาน NCD หรือ งานคลินิกNCD คุณภาพ (Program Manager) ของสำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 1-13 แห่งละ 2 คน - ทีมSystem Manager จังหวัด 1 คน หรือ ทีมSystem Manager อำเภอ 2 คน รวมจำนวน 3 คน

วิธีการประเมิน ร้อยละของคลินิก NCD คุณภาพ (ไม่น้อยกว่า 70) เป้าหมาย : ทีมประเมินรับรอง(ผ่านร้อยละ 70) A, S, M1, M2 ทุกแห่ง F1-F3 ที่ถูกสุ่ม ร้อยละ30/40/30 (57/58/59) รอบที่ 1 ต.ค.-มี.ค. รอบที่ 2 เม.ย.-ก.ย. ม.ค.-เม.ย. เม.ย.-ส.ค. Self Assessment (ทุกโรงพยาบาล) ทีม provider จังหวัดนิเทศ ติดตามและให้ข้อเสนอแนะเพื่อการพัฒนา (SMจังหวัดร่วมกับ CM ของสถานบริการ ร่วมในการนิเทศ) ทีม Regulator (ทีมเขต:สคร+จังหวัด)ประเมินการดำเนินงานคลินิกNCDคุณภาพ 1 ครั้ง/ปี

การวัดร้อยละคลินิก NCD คุณภาพ เกณฑ์เป้าหมาย : ไม่น้อยกว่าร้อยละ 70 สุ่มประเมิน F1-F3 โดย สคร. ร่วมกับจังหวัด(ทีมเขต) ประมวลผล : จำนวน รพ. ทีผ่านเกณฑ์คลินิกNCDคุณภาพ X100 (จำนวน รพ. ที่ไม่ผ่านการประเมินในปี2557,2558)+(รพช. ทีได้รับการสุ่มประเมินร้อยละ 30) ระยะเวลาประเมินผล : ปีละ 1 ครั้ง

แนวทางพัฒนาการดำเนินงานคลินิกNCDคุณภาพ 1. ประชุมเชิงปฏิบัติการสรุปผลการดำเนินงานและแนวทางการ พัฒนางานคลินิกNCDคุณภาพ ปี 2560 2 ครั้ง กิจกรรม : เขตมีส่วนร่วมสรุปผลและพัฒนาแนวทาง/เครื่องมือใน การพัฒนาการดำเนินงาน ระยะเวลา: ไตรมาส 2 เขตละ 4 คน : สคร. 1 คน + รพ. ระดับ A/S,M,F เขตละ 3 คน 2. นำเสนอผลข้อ 1 โดยประชุมร่วมกับเครือข่ายสถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล(สรพ.) 2 ครั้ง

ไขข้อข้องใจการอบรม SM อำเภอแก่ครู ก. ครั้งที่ 1 เนื้อหาการอบรม (รุ่น 1 วันที่ 9-11 พย. ที่ จ.อยุธยา / รุ่น 2 วันที่ 23-25 พย, ที่ จ. เพชรบุรี) วันที่ 1 ประกอบด้วย การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงระบาดวิทยา / การใช้ประโยชน์ข้อมูลพัฒนาบริการ/ การประเมินระบบNCDเชิงคุณภาพ พญ.สุพัตรา/นพ.อรรถเกียรติ/นพ.สมเกียรติ วันที่ 2 ประกอบด้วย ดูงานคปสอ. / รพสต. /วิเคราะห์ เชื่อมโยงข้อมูล บูรณาการNCD,SPและDHS วันที่ 3 ประกอบด้วย ประชุมกลุ่มย่อย /ทำงานในใบงาน / ให้การบ้าน ออกแบบระบบบริการ ครั้งที่ 2 เนื้อหาการอบรม ( รุ่น 1 วันที่ 6 -8 มค.59 / รุ่น 2 วันที่ 20 -22 มค.59 จัดที่กทม.ทั้ง 2 รุ่น) วันที่ 1 ประกอบด้วย นำเสนอข้อมูลระบาด/ระบบบูรณาการ วันที่ 2 ประกอบด้วย ออกแบบระบบการเรียนรู้พัฒนาระบบ, ระบบบริการคลินิก และชุมชน/ พัฒนาแผนและหลักสูตรอบรมทีมอำเภอ วันที่ 3 ประกอบด้วย นำเสนอแผนและหลักสูตรอบรม