การขับเคลื่อนการกวาดล้างโรคโปลิโอ ในฉากสุดท้ายของประเทศไทย

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
นโยบายการดำเนินงาน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข ศ. นพ. รัชตะ รัชตะนาวิน และ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสาธารณสุข นพ. สมศักดิ์ ชุณหรัศมิ์
Advertisements

แนวทางการบริหารงบบริการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค ปีงบประมาณ 2558
ความก้าวหน้าในการจัดทำแผนการกระจายอำนาจ ให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และแผนปฏิบัติการกำหนดขั้นตอนการกระจายอำนาจ ให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (ฉบับที่
1. 2 วาระที่ 1 เรื่องที่ประธานแจ้งให้ที่ประชุมทราบ วาระที่ 2 รับรองรายงานการประชุมครั้งที่ 2/2552 เมื่อวันที่ 2 กุมภาพันธ์ 2552 วาระที่ 3 เรื่องเพื่อทราบ.
โครงการ “ฟันเทียมพระราชทาน”
โครงการกวาดล้างโปลิโอและโรคหัด Polio and Measles Eradication Projects
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
1. การดำเนินงาน 15 ประเด็น โครงการ ( โครงการเฉลิมพระเกียรติ ) 1.1 โรคคอตีบ - ตัวชี้วัด ความครอบคลุมการได้รับวัคซีนไม่ต่ำกว่า ร้อยละ 85 ในทุกจังหวัด - เป้าหมาย.
แผนการดำเนินงานปี 2558 กลุ่มโรคติดต่อระหว่างสัตว์และคน
พญ. ปิยนิตย์ ธรรมาภรณ์พิลาศ
นโยบายด้านโรคติดต่อ ศ. คลินิกเกียรติคุณ นพ. ปิยะสกล สกลสัตยาทร รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข.
สำนักโรคติดต่อทั่วไป กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข.
โครงการส่งเสริมการหยุดการ เผาในพื้นที่การเกษตร ปี 2559 กองส่งเสริมโครงการพระราชดำริ การจัดการพื้นที่และ วิศวกรรมเกษตร กรมส่งเสริมการเกษตร.
แผนการตรวจราชการ กระทรวงสาธารณสุข กรณีปกติ เขตสุขภาพ ที่ 2.
สรุปกิจกรรมการบริหารจัดการวัคซีน ไข้หวัดใหญ่ ปี 2559 รวินท์นิภา ภักดี กลุ่มงานควบคุมโรค รวินท์นิภา ภักดี กลุ่มงานควบคุมโรค.
โครงการ ส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิม พระเกียรติ “ ส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิม พระเกียรติ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารี เนื่องในโอกาสฉลองพระชนมายุ
โดย นายแพทย์ณัฐพร วงษ์ศุทธิภากร รองอธิบดีกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข “เรียนรู้ สิ่งแวดล้อม สร้างสรรค์” นโยบายการดำเนินงานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม กรมอนามัย.
สร้างความเข้มแข็งของเศรษฐกิจฐานราก จากต้นทาง กลางทาง จนถึงปลายทาง
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
ประเด็นที่เปลี่ยนแปลงจากปี 2560
วาระที่ สรุปผลการปฏิบัติงาน ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2559
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดพัทลุง
แนวทาง การดำเนินงาน ป้องกันการจมน้ำ สำนักโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค
การพัฒนาคุณภาพชีวิตในการทำงาน (Quality of Work Life)
การเพิ่มประสิทธิภาพ ระบบบริหารจัดการความเสี่ยง
Strategy Map สำนักงานสรรพากรพื้นที่กรุงเทพมหานคร12
100 ตำบลต้นแบบในการบูรณาการ ด้านส่งเสริมสุขภาพ 5 กลุ่มวัย และอนามัยสิ่งแวดล้อม โดย กรมอนามัย.
ระบบคุ้มครองผู้บริโภค
สรุปผลการนิเทศงานศูนย์อนามัยที่ ๖ ระหว่างวันที่ ๒-๓ พฤษภาคม ๒๕๖๐
การสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค (Expanded Program on Immunization)
งาน Road Map ศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตรปี 2560
กลุ่มเป้าหมาย สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด 76 จังหวัด ค่าเป้าหมาย
การติดตามผลการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๐
“การดูแลหญิงหลังคลอด และ ครอบครัวที่ติดเชื้อ เอช ไอ วี”
โดย ศรีปัญญา ม่วงเพ็ชร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
การดำเนินงานคุณธรรม และความโปร่งใส
วาระที่ 3.4 แนวทางการปฏิบัติงานโครงการตามนโยบาย กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
การเก็บกลับและทำลาย Trivalent OPV
โครงการจัดทำระบบฐานข้อมูล วัตถุเสพติดของกลาง (ระยะที่1)
วาระที่ ผลการประชุมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การเตรียมความพร้อมบุคลากร สำนักแผนงานและโครงการพิเศษเพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงาน ของหน่วยงานในพื้นที่
ณ ห้องประชุมกำธร สุวรรณกิจ
ปี 2560 ปฏิทินการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส
กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ
ความคืบหน้าการจ้างลูกจ้างชั่วคราว เป็นพนักงานกระทรวงสาธารณสุข (พกส.)
ความก้าวหน้าในการดำเนินงาน Product Champion Cluster วัยรุ่น
แนวทางการรณรงค์ พัฒนาการเด็ก 4-8 กรกฎาคม 2559
แนวทางการจัดทำคำรับรองการปฏิบัติราชการ ประจำปี 2562
แนวปฏิบัติ การจัดสวัสดิการภายในส่วนราชการ
ความปลอดภัยด้านอาหารและน้ำ
ประชุม คปสจ.ประจำเดือนมิถุนายน ๒๕๕๙ MOTTO – กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ
อัตราส่วนการตายมารดาไทย
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
การทำวิทยฐานะ แนวทางใหม่
โครงการกวาดล้างโปลิโอและโรคหัด Polio and Measles Eradication Projects
ทิศทางการดำเนินงานลดโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD)
“ความร่วมมือในการขับเคลื่อนงาน คสจ. และ พชอ.”
มะเร็งปากมดลูก โดย นางจุฑารัตน์ กองธรรม พยาบาลวิชาชีพ รพ.สต.บ้านโนนแต้
การปรับเปลี่ยน การใช้วัคซีนโปลิโอ
โครงการพัฒนารูปแบบการดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน : ชุมชนลดเสี่ยง ลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง.
สำนักงานปศุสัตว์จังหวัดฉะเชิงเทรา
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
โปลิโอสายพันธ์วัคซีนกลายพันธุ์ Circulated Vaccine Derived Poliovirus
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
กรมมีผลการปฏิบัติงานที่ดี เกษตรกรได้รับประโยชน์
นพ.อภิศักดิ์ วิทยานุกูลลักษณ์ รพ.ธัญญารักษ์เชียงใหม่ กรมการแพทย์
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
MTRD 427 Radiation rotection - RSO
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การขับเคลื่อนการกวาดล้างโรคโปลิโอ ในฉากสุดท้ายของประเทศไทย นพ.อำนวย กาจีนะ อธิบดีกรมควบคุมโรค ๕ พฤศจิกายน ๒๕๕๘

๑. ความเป็นมา ปี พ.ศ. ๒๕๓๑ ประเทศต่างๆ ทั่วโลกตกลงร่วมมือกันเพื่อกวาดล้างโปลิโอ ซึ่งในขณะนั้นมีผู้ป่วยโปลิโอจำนวนมากทั่วโลกต้องพิการและเสียชีวิต ประเทศไทย ปลอดโปลิโอมากว่า ๑๘ ปี โดยพบผู้ป่วยรายสุดท้าย เมษายน พ.ศ. ๒๕๔๐ ภูมิภาคเอเชียใต้และตะวันออกได้ผ่านการรับรองเป็นภูมิภาคปลอดโปลิโอเมื่อ ๒๗ มีนาคม ๒๕๕๗ เชื้อโปลิโอ wild type ๒ หมดไปแล้วตั้งแต่ปี พ.ศ. ๒๕๔๒ ปี พ.ศ. ๒๕๕๘ พบผู้ป่วยเพียง อัฟกานิสถาน และปากีสถาน (๕๑ ราย) ผู้ป่วยโปลิโอทั้งหมดในปัจจุบัน เกิดจากเชื้อ... Wild Polio type ๑ และ ๓ (พบสุดท้าย ปี ๒๕๕๕) เชื้อในวัคซีนซึ่งส่วนใหญ่เกิดจากไวรัสวัคซีนชนิดที่ ๒ ปี ๒๕๕๗ ๓๕๙ ราย

๒. แผนระดับโลกของการกวาดล้างโปลิโอในฉากสุดท้าย Polio Eradication and Endgame Strategic Plan 2013-2018 มุ่งเน้นการดำเนินการและความร่วมมือจากประเทศต่างๆ ทั่วโลก ต่างจากแผนเดิมที่เร่งรัดการดำเนินการเฉพาะในประเทศที่ยังมีการระบาด มุ่งกวาดล้างไวรัสทุกชนิดทั้ง wild virus และ เชื้อไวรัสสายพันธุ์วัคซีน ในปีพ.ศ. ๒๕๕๘ ถึง ๒๕๕๙ จะมุ่งเน้นการกวาดล้างไวรัสสายพันธุ์วัคซีนชนิดที่ ๒ ก่อน เนื่องจาก wild poliovirus ชนิดที่ ๒ หมดไปจากโลกตั้งแต่ปี พ.ศ. ๒๕๔๒ จึงไม่มีความจำเป็นต้องใช้ไวรัสวัคซีนชนิดที่ ๒ อีกต่อไป ไวรัสสายพันธุ์วัคซีนชนิดที่ ๒ มีการกลายพันธุ์เป็นสาเหตุก่อโรคและทำให้เกิดการระบาดในหลายประเทศ ประเทศสมาชิกทั่วโลกได้รับรองข้อมติเพื่อขับเคลื่อนการกวาดล้างโปลิโอ ในการประชุมสมัชชาอนามัยโลกครั้งที่ ๖๕

เป้าหมาย: การกวาดล้างไวรัสโปลิโอสายพันธุ์วัคซีนชนิดที่ ๒ ให้หมดไปจากโลก Wild polio virus ชนิดที่ ๒ หมดไปจากโลกแล้ว คงเหลือแต่ชนิดที่ ๑ และ ๓ ไวรัสโปลิโอสายพันธุ์วัคซีนชนิดที่ ๒ ที่ใช้ในปัจจุบัน ในคน กำจัดโดยเปลี่ยนชนิดวัคซีนจากชนิด t-OPV (type 1, 2, 3) เป็น b-OPV (type 1, 3) ในห้องปฏิบัติการ กำจัดโดยทำลายสิ่งส่งตรวจที่อาจมีเชื้อปนเปื้อน

วัตถุประสงค์หลัก ๔ ประการของ Polio Eradication & Endgame Strategic Plan 2013-2018 การเฝ้าระวังค้นหาผู้ป่วยและการควบคุมการระบาด 1 การนำวัคซีน IPV มาใช้ และการสับเปลี่ยนวัคซีน t-OPV เป็น b-OPV (Switch) 2 การกักกันเชื้อในห้องปฏิบัติการ (Lab containment) 3 การสร้างความเข้มแข็งของระบบสุขภาพโดยใช้การกวาดล้างโปลิโอเป็นเครื่องมือ 4

กลุ่มเป้าหมายการให้วัคซีนโปลิโอ เพิ่ม IPV 1 ครั้ง แก่ เด็กอายุ 4 เดือน ทุกคน ครั้งที่ อายุ ชนิดของวัคซีนโปลิโอ 1 2 เดือน OPV1 และ DTP-HB1 2 4 เดือน IPV1, OPV2 และ DTP-HB2 3 6 เดือน OPV3 และ DTP-HB3 4 1 ปี 6 เดือน OPV4 และ DTP4 5 4 ปี OPV5 และ DTP5 + กลุ่มเป้าหมายในการให้วัคซีน IPV เด็กที่มีอายุตั้งแต่ 4 เดือน ขึ้นไป ทุกคน ทั้งที่อยู่ในและนอกพื้นที่ที่รับผิดชอบตามกำหนดการให้วัคซีน กรณีที่เด็กมารับวัคซีน OPV ครั้งแรกล่าช้าหลังอายุ 4 เดือน เป็นต้นไป ขอให้ฉีดวัคซีน IPV พร้อมกับหยอดวัคซีน OPV ในครั้งแรกที่พบ และหยอดวัคซีน OPV ต่ออีก 4 ครั้งตามกำหนดการเดิม ถ้าเด็กมารับวัคซีน OPV ครั้งแรกล่าช้าหลัง 4 เดือน ให้ฉีด IPV + หยอด OPV ในครั้งแรก และให้ OPV ต่ออีก 4 ครั้งตามกำหนดการเดิม

แผนการกวาดล้างโปลิโอในระดับโลก Introduce at least one dose of IPV into routine immunization Switch tOPV to bOPV Withdraw bOPV & routine OPV use 2019-2020 2016 Before end 2015 เอาไวรัสวัคซีนชนิดที่ ๒ ออกจากวัคซีนชนิดรับประทานที่ใช้อยู่เดิม ซึ่งจะดำเนินการพร้อมกันทั่วโลกในเดือนเมษายน (ใช้ bivalent OPV ซึ่งประกอบด้วยไวรัสวัคซีนชนิดที่ ๑ และ ๓ แทน trivalent OPV ซึ่งประกอบด้วยไวรัสวัคซีนชนิดที่ ๑, ๒, ๓) และจะทำลาย t-OPV ให้หมดไปจากโลก นำวัคซีนโปลิโอชนิดฉีดซึ่งเป็นวัคซีนเชื้อตาย (IPV) มาใช้ ๑ เข็ม เพื่อให้ร่างกายสร้างภูมิคุ้มกันต่อไวรัสทั้ง ๓ ชนิด เพื่อปิดช่องว่างขณะใช้ bivalent OPV ซึ่งเด็กที่ได้รับ bivalent OPV จะไม่มีภูมิคุ้มกันต่อไวรัสโปลิโอชนิดที่ ๒ อีกทั้งการใช้ IPV ไม่มีความเสี่ยงที่จะเกิดอัมพาตจากเชื้อไวรัสในวัคซีน การสร้างเสริมความเข้มแข็งของระบบงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคอย่างต่อเนื่อง

การเก็บกลับ & ทำลาย tOPV กิจกรรมสำคัญ การนำวัคซีน IPV มาใช้ Switch t-OPV to b-OPV/ การเก็บกลับ & ทำลาย tOPV Validation 1 ธ.ค. 58 23-28 เม.ย. 59 29 เม.ย. 59 SUN MON TUE WED THURS FRI SAT APRIL 2016 27 28 29 30 31 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 MAY 2016 National Switch day ตรวจรับรองการสับเปลี่ยนวัคซีนและการเก็บกลับทำลาย National Validation day

กิจกรรมสำคัญสำหรับกระบวนการ switch และการ Validation Switch vaccine Validation กิจกรรม บริหารจัดการให้มีวัคซีนโปลิโอ (IPV/tOPV/bOPV) ใช้ในหน่วยบริการ อย่างเพียงพอ ตามกรอบเวลาที่กำหนด เก็บกลับ tOPV และเผาทำลายในระดับจังหวัดตามมาตรฐาน ภาคเอกชนใช้มาตรการทางกม. ให้เรียกกลับโดยบริษัท กลุ่มผู้ดำเนินการ เภสัชกร (จังหวัด, CUP) หัวหน้ากลุ่มงานอนามัยสิ่งแวดล้อมและอาชีวอนามัย กิจกรรม สุ่มประเมินรับรองผลสำเร็จในการดำเนินงานของหน่วยบริการ ให้การรับรองผลสำเร็จในการดำเนินงานในภาพของจังหวัด ส่งผลการรับรองไปยังคณะกรรมการระดับเขตและระดับชาติภายในกรอบเวลาที่กำหนด กลุ่มผู้ดำเนินการ หัวหน้างานควบคุมโรค สสจ. ผู้รับผิดชอบงาน EPI สสจ. สสอ. ผู้แทนจากหน่วยงานภายนอกกระทรวง กลุ่มผู้ดำเนินการในแต่ละด้านทำงานเป็นอิสระต่อกัน

กลไกการตัดสินใจและบริบาลระดับประเทศ แผนกวาดล้างโปลิโอของประเทศไทย คณะกรรมการระดับชาติเพื่อการกวาดล้างโปลิโอและโรคหัด ตามพันธะสัญญานานาชาติ คณะกรรมการรับรอง ผลการกวาดล้างโปลิโอแห่งชาติ คณะกรรมการที่ปรึกษาทางวิชาการ คณะทำงานระดับชาติในการขับเคลื่อนการบริหารจัดการและกักกันเชื้อ คณะกรรมการระดับเขต คณะกรรมการรับรองระดับจังหวัด

กลไกบริหารจัดการสำหรับการสับเปลี่ยนวัคซีนและ การรับรองประเมินผลสำเร็จ กลไกบริหารจัดการสำหรับการสับเปลี่ยนวัคซีน และการรับรองประเมินผลสำเร็จ การเก็บกลับและทำลาย วัคซีน Trivalent OPV การรับรองประเมินผลสำเร็จ คณะกรรมการระดับชาติเพื่อการกวาดล้างโปลิโอและโรคหัดตามพันธะสัญญา คณะกรรมการขับเคลื่อนการเก็บกลับและทำลาย trivalent OPV ระดับจังหวัด คณะกรรมการอำนวยการประเมินผลความสำเร็จในการสับเปลี่ยน tOPV เป็น bOPV ระดับเขต คณะกรรมการรับรองผล การสับเปลี่ยนวัคซีนจาก tOPV เป็น bOPV ระดับจังหวัด คณะกรรมการขับเคลื่อนการเก็บกลับและทำลาย trivalent OPV กรุงเทพมหานคร คณะทำงานประเมินผลการสับเปลี่ยนวัคซีนจากtOPV เป็น bOPV ระดับอำเภอ

ประเด็นขอความร่วมมือ (๑) กรมควบคุมโรคเป็นผู้จัดการระดับประเทศในการกวาดล้างโปลิโอ สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา เร่งรัดการขึ้นทะเบียนวัคซีน b-OPV โดยเร็ว ใช้มาตรการทางกฎหมายในการเก็บกลับและทำลายวัคซีนในภาคเอกชน กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์เป็นเจ้าภาพหลักในส่วนการกักกันเชื้อในห้องปฏิบัติการ กรมการแพทย์ร่วมดำเนินการและสนับสนุนวิชาการด้านการแพทย์ กรมสนับสนุนบริการสุขภาพร่วมดำเนินการ (สถานบริการเอกชน, อสม.) ความร่วมมือกับภาคส่วนต่างๆ รวมถึงหน่วยบริการทางการแพทย์นอกกสธ เช่น กรุงเทพมหานคร ภาคเอกชน มหาวิทยาลัย กองทัพ เป็นต้น ผู้ตรวจราชการฯ เขตสุขภาพที่ 1 - 13 แนะนำ ติดตามควบคุมกำกับและสนับสนุนการดำเนินงานของจังหวัด

ประเด็นขอความร่วมมือ (๒) สสจ.ทุกจังหวัดเป็นเจ้าภาพหลักในการดำเนินการ และให้การสนับสนุนการดำเนินงานตามแนวทาง ทั้งนี้ กรมคร.ได้ประชุมซักซ้อมกับบุคลากร ที่เกี่ยวข้องระดับเขตและจังหวัดแล้วเมื่อเดือนตุลาคม 2558 สสจ จัดทำแผนปฏิบัติการ/จัดตั้งคณะกรรมการ/อบรมบุคลากร