SESSION 1 THE BABY-FRIENDLY HOSPITAL INITIATIVE:

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
บทที่ 3 การบริหารพนักงานขาย
Advertisements

นโยบายการดำเนินงาน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข ศ. นพ. รัชตะ รัชตะนาวิน และ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสาธารณสุข นพ. สมศักดิ์ ชุณหรัศมิ์
คำถามตามเกณฑ์ PMQA:105คำถาม หมวด1 12คำถาม.
การฝึกอบรมและพัฒนาพนักงานขาย
อัตราบรรจุ ข้าราชการ 2625 พนักงานราชการ 99 ลูกจ้างประจำ 77 รวม 4241 อัตราว่าง จำนวน 1 อัตรา ตำแหน่งนักทรัพยากรบุคคลชำนาญการ มาช่วย ราชการ น. ส. สุริยา.
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
ผู้รับผิดชอบ ผลผลิต ฝ่ายบริหารทั่วไป
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
1. การดำเนินงาน 15 ประเด็น โครงการ ( โครงการเฉลิมพระเกียรติ ) 1.1 โรคคอตีบ - ตัวชี้วัด ความครอบคลุมการได้รับวัคซีนไม่ต่ำกว่า ร้อยละ 85 ในทุกจังหวัด - เป้าหมาย.
อัตราบรรจุ ข้าราชการ 2623 พนักงานราชการ 99 ลูกจ้างประจำ 77 รวม 4239 อัตราว่าง จำนวน 3 อัตรา ( ชำนาญการพิเศษ = 2 ชำนาญการ = 1) มาช่วย ราชการ น. ส. สุริยา.
. แผ น กลุ่ม 1 กลุ่ม 2 กลุ่ม 3 กลุ่ม 4 กลุ่ม 5 รวม 1. สหกรณ์/กลุ่ม เกษตรกรได้รับ การส่งเสริม สนับสนุนการ ดำเนินงาน สหกรณ์ กลุ่มเกษตรกร
ผลการปฏิบัติราชการ ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ กรมอนามัย ปีงบประมาณ พ
สกลนครโมเดล.
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนนทบุรี
ประชุมMCH Board จังหวัดอุตรดิตถ์ ครั้งที่ ๒/๒๕๕๘ วันพฤหัสที่ ๑๘มิถุนายน ๒๕๕๘ ณ ห้องประชุมภูสอยดาว สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอุตรดิตถ์
ของเทศบาลตำบลหนองไผ่ อ.เมือง จ.อุดรธานี
ศูนย์พัฒนา เด็กเล็ก เทศบาล ตำบลปัว ยินดี ต้อนรับ ยินดี ต้อนรับ.
หลักสูตรการอบรมวิทยากรตัวคูณ ระดับจังหวัด ครั้งที่ 1 ภาคกลางตอนบน ( วันที่สอง ) ณ โรงแรมริชมอนด์ จังหวัดนนทบุรี ระหว่างวันที่ 9 – 11 มีนาคม 2558.
แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ระบบบัญชี สุขภาพ (1-8) กุมภาพันธ์ 2558 สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดบุรีรัมย์
การเยี่ยมตรวจคุณภาพบริการการพยาบาลและการผดุงครรภ์
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสกลนคร ภก.กิตติศักดิ์ ไท้ทอง
วาระที่ สรุปผลการปฏิบัติงาน ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2559
หน่วยที่ 1 ข้อมูลทางการตลาด. สาระการเรียนรู้ 1. ความหมายของข้อมูลทางการตลาด 2. ความสำคัญของข้อมูลทางการตลาด 3. ประโยชน์ของข้อมูลทางการตลาด 4. ข้อจำกัดในการหาข้อมูลทาง.
มาตรฐานระบบการบริหารงานคุณภาพ
ระดับความเสี่ยง (QQR)
MAKING YOUR HOSPITAL BABY-FRIENDLY
สายส่งเสริมตามกลุ่มวัยและประเด็น
100 ตำบลต้นแบบในการบูรณาการ ด้านส่งเสริมสุขภาพ 5 กลุ่มวัย และอนามัยสิ่งแวดล้อม โดย กรมอนามัย.
Presentation การจัดการข้อร้องเรียนในธุรกิจบริการ Customer Complaint Management for Service.
One Point Lesson (OPL).....บทเรียนประเด็นเดียว
ประสบการณ์การ การใช้ระบบติดตามผลการดำเนินงานในกลุ่มผู้ใช้ยา/สารเสพติด
กรณีศึกษา : นักเรียน ระดับ ปวช.2 สาขาวิชาการบัญชี
กรอบอัตรากำลังของบุคลากรทางการศึกษาอื่นตามมาตรา 38 ค. (2)
สรุปแนวทางการดำเนินงานตามกลุ่มวัย
ตัวชี้วัดที่ 1 : อัตราส่วนการตายมารดาไทย ค่าเป้าหมายไม่เกิน 20 ต่อการเกิดมีชีพแสนราย เปรียบเทียบอัตราส่วนการตายมารดารายเขต ปี 2560 กับ 2561ในช่วงเวลาเดียวกัน.
ยุทธศาสตร์ ที่ 1 Promotion, Prevention & Protection Excellence
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
บัตรยิ้ม สร้างเสริมกำลังใจ
“การดูแลหญิงหลังคลอด และ ครอบครัวที่ติดเชื้อ เอช ไอ วี”
วาระที่ 3.4 แนวทางการปฏิบัติงานโครงการตามนโยบาย กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
กรมตรวจบัญชีสหกรณ์.
EB9 หน่วยงานของท่านมีการดำเนินการเพื่อป้องกันผลประโยชน์ทับซ้อนในหน่วยงานอย่างไร (1) มีการวิเคราะห์ความเสี่ยงเกี่ยวกับการปฏิบัติงานที่อาจเกิดผลประโยชน์ทับซ้อน.
ศูนย์อนามัยที่ 5 ราชบุรี
ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จขององค์กรปกครอง
รพ.สต.สายใยรัก อำเภอสัตหีบ
พัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย (9 ตัว) กลุ่มเด็กปฐมวัย (๐-๕ ปี)/สตรี 1.อัตราส่วนการตายของมารดาไม่เกิน15ต่อการเกิดมีชีพแสนคน 2.ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัย.
กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ
ชาลิณี ปิยะประสิทธิ์ สปสช.เขต 10 อุบลราชธานี 21 กันยายน 2560
ความคืบหน้าการจ้างลูกจ้างชั่วคราว เป็นพนักงานกระทรวงสาธารณสุข (พกส.)
SMS News Distribute Service
ความก้าวหน้าในการดำเนินงาน Product Champion Cluster วัยรุ่น
ข้อมูลการป้องกัน การถ่ายทอดเชื้อเอชไอวีจากแม่สู่ลูก (PMTCT)
แนวทางการรณรงค์ พัฒนาการเด็ก 4-8 กรกฎาคม 2559
กฎกระทรวง ความปลอดภัยทางรังสี พ.ศ.2561
ประชุม คปสจ.ประจำเดือนมิถุนายน ๒๕๕๙ MOTTO – กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ
อัตราส่วนการตายมารดาไทย
กลุ่มสตรีและเด็กปฐมวัย เขตสุขภาพที่ 6
มุ่งเน้น การประเมินระดับการดำเนินงาน “หน่วยงานคุณธรรม”
เราคือ ‘One PPG’ We protect and beautify the world วัตถุประสงค์ของเรา
บทที่ 3 โรงเรือนและอุปกรณ์โคเนื้อ
การเปลี่ยนแปลงประมาณการทางบัญชี และข้อผิดพลาด
ปัญหาและสาเหตุโดยย่อ
การประกาศเขตการให้ความช่วยเหลือผู้ประสบ ภัยพิบัติกรณีฉุกเฉิน ตามระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยเงินทดรองราชการเพื่อช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติกรณีฉุกเฉิน พ.ศ.
พัฒนาแผนงาน / ยุทธศาสตร์
ชัยพฤกษ์รัตนาธิเบศร์ - วงแหวน
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
นพ.อภิศักดิ์ วิทยานุกูลลักษณ์ รพ.ธัญญารักษ์เชียงใหม่ กรมการแพทย์
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

SESSION 1 THE BABY-FRIENDLY HOSPITAL INITIATIVE: SESSION 1 THE BABY-FRIENDLY HOSPITAL INITIATIVE: A PART OF THE GLOBAL STRATEGY

poor infant feeding practices เด็กตาย 5500 /วัน impaired development Malnutrition เพิ่ม infectious เพิ่ม chronic illness Rising rates of obesity in children ที่ไม่ได้รับนมแม่ The World Health Assembly and UNICEFลงนามร่วมกันเรื่อง the Global Strategy on Infant and Young Child Feeding in 2002.

Global Strategy for Infant and Young Child Feeding เป้าหมายของthe Global Strategy is to improve optimal feeding the nutritional status growth and development health the survival of infants and young children. UNICEF/WHO Breastfeeding Promotion and Support in a Baby-Friendly Hospital - 20 hour Course 2009

สนับสนุน exclusive breastfeeding for 6 months, with timely, adequate, safe and appropriate complementary feeding, while continuing breastfeeding for two years and beyond. สนับสนุนเรื่องmaternal nutrition สังคม ชุมชน The Global Strategy จึงมีส่วนร่วมในthe Baby-friendly Hospital Initiative.

. Baby-friendly Hospital Initiative The BFHI is a global initiative of the WHO and UNICEFต้องการให้ทารกทุกคนได้the best start in life โดยการสร้างสภาพแวดล้อมในโรงพยาบาลให้ส่งเสริมสนับสนุนการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ให้กลายเป็นเรื่องปกติ เป้าหมายของthe Baby-friendly Hospital Initiative คือ -implement the Ten Steps to Successful Breastfeeding -ไม่รับบริจาคหรือซื้ออาหารทดแทนนมแม่ในราคาถูกกว่าปกติในสถานบริการสุขภาพ เริ่มต้นตั้งแต่ปีค.ศ.1991 จนถึงปีค.ศ. 2007 มีสถานบริการสุขภาพมากกว่า 20,000 แห่งทั่วโลกจาก 152 ประเทศ ผ่านการรับรองเป็น BFHI

. Baby-friendly Hospital Initiative มีเกณฑ์การประเมินสถานบริการสุขภาพรวมทั้งบุคลากร ที่ส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่รวมทั้งพัฒนา การปฏิบัติเพื่อการส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ ในโรงพยาบาลที่ยังไม่ผ่านการรับรอง สร้างกรอบการทำงานที่ช่วยให้แม่มีทักษะเพื่อเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียว ตั้งแต่แรกเกิด ถึง 6 เดือนหลังอายุ 6 เดือนให้นมแม่ร่วมกับอาหารเสริมตามวัยได้เหมาะสมจนกระทั่งอายุ 2 ปี ให้การดูแลเรื่องอาหารทารกที่เหมาะสมในกลุ่มทารกที่ไม่ได้กินนมแม่ แนะนำให้สอนหลักสูตรbreastfeeding แก่บุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุข

BFHIในประเทศไทยภายใต้โรงพยาบาลสายใยรักแห่งครอบครัว ในเขตสาธารณสุขที่ 4 มีโรงพยาบาลที่ผ่านการรับรองเป็นโรงพยาบาลสายใยรักแห่งครอบครัว ตั้งแต่ปี 2551 จนถึง 2554 จำนวน 55โรงพยาบาลจากจำนวนโรงพยาบาลทั้งหมด 69โรงพยาบาลในเขต ปี2555 ในเขตสาธารณสุขที่ 4 และ5 ทุกโรงพยาบาลผ่านการรับรองเป็นโรงพยาบาลสายใยรักแห่งครอบครัว 100%

BFHI มีความสำคัญในพื้นที่ที่มีhigh HIV prevalence บทบาทของโรงพยาบาลสายสัมพันธ์แม่-ลูก.ในพื้นที่ที่มี high prevalence of HIV infection ในแม่จะเป็นอย่างไร โรงพยาบาลสายสัมพันธ์แม่-ลูกยิ่งมีความสำคัญ โรงพยาบาลต้องมีแนวทางในการดูแลแม่กลุ่มนี้ The WHO/UNICEF/UNAIDS policy statement on HIV and infant feeding กล่าวว่า แม่กลุ่มนี้ต้องได้รับข้อมูลที่ถูกต้องเพื่อการตัดสินใจเรื่องการให้อาหารทารก [5-15% ของทารก(1 in 20 to 1 in 7) ที่เกิดจากแม่HIV-infected จะเป็นHIV-positiveจาก breastfeeding] ในกลุ่มแม่ที่ HIV negative; breastfeeding ยังคงเป็น the best choice สำหรับแม่และลูก

ไม่ใช่การBANผลิตภัณฑ์ เริ่มต้นดำเนินการBaby-friendly Hospital Initiative ให้รับรู้ความหมายของ the Ten Steps to Successful Breastfeeding ชี้แจงให้บุคลากรผู้ปฏิบัติเห็นความสำคัญ ทำอย่างไรจึงจะนำไปสู่การปฏิบัติจริงได้ พูดถึงการปฏิบัติที่เกี่ยวกับหลักเกณฑ์ว่าด้วยการตลาดอาหารสำหรับทารกและเด็กเล็กและผลิตภัณฑ์ที่เกี่ยวข้อง ในโรงพยาบาล การประเมินกระบวนการ ไม่ใช่การBANผลิตภัณฑ์

TEN STEPS TO SUCCESSFUL BREASTFEEDING A Joint WHO/UNICEF Statement (1989) มีนโยบายการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่เป็นลายลักษณ์อักษรที่สื่อสารกับบุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุขทุกคนได้เป็นประจำ ( Have a written breast feeding policy that is routinely communicated to all health –care staff ) ฝึกอบรมบุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุขทุกคนให้มีทักษะที่จะนำนโยบายนี้ไปปฏิบัติ ( Train all health-care staff in skills necessary to implement this policy ) ชี้แจงให้หญิงตั้งครรภ์ทุกคนทราบถึงประโยชน์และวิธีการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ ( In form all pregnant women about benefits and management of breast-feeding )

TEN STEPS TO SUCCESSFUL BREASTFEEDING A Joint WHO/UNICEF Statement (1989) 4) ช่วยแม่เริ่มให้ลูกดูดนมภายในหนึ่งชั่วโมงแรกหลังคลอด (Help mothers initiate breast-feeding within a half-hour of birth ) 5) แสดงให้แม่รู้วิธีเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ และวิธีให้น้ำนมยังคงมีปริมาณพอเพียงแม้ว่าแม่และลูกจะต้องแยกจากกัน ( Show mothers how to breast-feed and how to maintain lactation, even if they should be separated from their infants ) 6) อย่าให้นมผสมน้ำ หรืออาหารอื่นแก่เด็กแรกคลอดนอกจากนมแม่ เว้นแต่จะมีข้อบ่งชี้ทางการแพทย์ (Give newborn infants no food or drink other than breast milk unless medically indicated )

สนับสนุนให้ลูกได้ดูดนมแม่ทุกครั้งที่ลูกต้องการ TEN STEPS TO SUCCESSFUL BREASTFEEDING A Joint WHO/UNICEF Statement (1989) 7) ให้แม่และลูกอยู่ในห้องเดียวกันตลอด 24 ชั่วโมง ( Practice rooming-in- allow mothers and infants to remain together -24 hours a day ) สนับสนุนให้ลูกได้ดูดนมแม่ทุกครั้งที่ลูกต้องการ ( Encourage breast-feeding on demand ) อย่าให้ลูกดูดหัวนมยางและหัวนมหลอกหรือหัวนมปลอม ( Give no artificial teats or pacifiers (also called dummies and soothers) to breast-feeding infants ) 10) ส่งเสริมให้มีการจัดตั้งกลุ่มช่วยเหลือและสนับสนุนการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่และส่งแม่ไปติดต่อกลุ่ม ดังกล่าวเมื่อออกจากโรงพยาบาลหรือคลินิก ( Foster the establishment of breast-feeding support groups and refer mothers to them on discharge from the hospital or clinic )

TEN STEPS TO SUCCESSFUL BREASTFEEDING A Joint WHO/UNICEF Statement (1989) มีนโยบายการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่เป็นลายลักษณ์อักษรที่สื่อสารกับบุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุขทุกคนได้เป็นประจำ นโยบายช่วยให้: ● การมีนโยบาย จะทำให้เกิดมาตรฐาน วิธีปฏิบัติ แนวทางในการดูแลแม่และลูกเพื่อการส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ ●สามารถติดตามประเมินผลการปฏิบัติ เกิดการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง ● การมีนโยบาย ที่ได้รับการยอมรับในทุกระดับ เป็นคำมั่นสัญญาและความรับผิดชอบของโรงพยาบาล จะทำให้เกิดการผลักดันให้มีการปฏิบัติตามมาตรฐาน

นโยบาย เป็นข้อตกลงร่วมกันว่าจะปฏิบัติตามมาตรฐาน ถ้าไม่สามารถปฏิบัติได้จะต้องมีการบันทึก ในนโยบายของโรงพยาบาล อย่างน้อยจะต้องประกอบด้วยเรื่อง - บันไดสิบขั้นสู่ความสำเร็จของการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ - การไม่รับการบริจาคนมผสมฟรี หรือซื้อนมผสมในราคาถูก ขวดนม และหัวนม และไม่แจกจ่าย ให้แก่แม่ - กรณีแม่ที่ติดเชื้อเอชไอวี มีแนวทางในการช่วยแม่ในการตัดสินใจเลือกใช้วิธีการให้นมลูกที่เหมาะสม

2) ฝึกอบรมบุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุขทุกคนให้มีทักษะที่จะนำนโยบายนี้ไปปฏิบัติ จุดมุ่งหมายของการฝึกอบรมคือให้บุคลากรทางการแพทย์มีความมั่นใจในการช่วยเหลือให้ลูกได้ดูดนมแม่โดยเร็วและดูดนมแม่อย่างเดียวซึ่งนำทางไปสู่การเป็นโรงพยาบาลสายสัมพันธ์แม่-ลูก

เนื้อหาและการปฏิบัติที่ต้องเรียนรู้ การใช้ทักษะการสื่อสารเพื่อพูดคุยกับpregnant women, mothers and co-workers; การนำthe Ten Steps to Successful Breastfeedingไปปฏิบัติจริงร่วมกับหลักเกณฑ์ว่าด้วยการตลาดอาหารสำหรับทารกและเด็กเล็กและผลิตภัณฑ์ที่เกี่ยวข้อง พูดถึงความสำคัญของbreastfeeding ให้หญิงตั้งครรภ์ได้รับทราบและการปฏิบัติหลังคลอดเพื่อให้ลูกได้เริ่มต้นดูดนมแม่โดยเร็ว ได้แก่การทำskin-to-skin contact และearly initiation of breastfeeding; ช่วยเหลือแม่ให้เรียนรู้ทักษะเกี่ยวกับpositioning and attaching her baby รวมถึงทักษะการทำhand expression;

เนื้อหาและการปฏิบัติที่ต้องเรียนรู้ คุยกับแม่เรื่องสถานที่หรือบุคคลที่สามารถไปติดต่อ รับการช่วยเหลือเมื่อมีปัญหาการให้นมแม่หลังกลับจากโรงพยาบาล คุยกับแม่ที่ไม่สามารถให้นมแม่ได้ถึงสถานที่หรือบุคคลที่สามารถไปติดต่อ รับการช่วยเหลือเรื่องการให้อาหารทารก สามารถระบุได้ว่าการปฏิบัติใดสนับสนุน breastfeeding การปฏิบัติใดขัดขวางการให้นมแม่ ทำงานร่วมกันเพื่อค้นหาอุปสรรคที่สำคัญของbreastfeedingและวางแนวทางแก้ไข

เมื่อจบการฝึกอบรมแล้วจะได้อะไร? increase the level of knowledge, skill, and confidence ได้รับข้อมูลและมีการปฏิบัติในแนวทางเดียวกันทั้งโรงพยาบาล ได้แนวทางปฏิบัติพื้นฐานของโรงพยาบาลที่เป็นมิตรกับทารก The Global Strategy ได้รับการสนับสนุนโดยnational policies, laws และโครงการที่สนับสนุน ปกป้อง และส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ รวมถึงการปกป้องสิทธิการลาคลอดของหญิงให้นมบุตร

ขอบคุณค่ะ