Drug-Drug Interaction

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ข้อมูลสถานการณ์ ระบาดวิทยา พฤศจิกายน 2557 กลุ่มงานควบคุมโรค.
Advertisements

การประเมินผลโครงการ บทที่ 9 ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ yalada.
สถานการณ์โรคไข้เลือดออก จังหวัดนครปฐม ประจำเดือน กรกฎาคม 2555 ดร.นพ.ถวัลย์ พบลาภ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม.
แนวทางการสอน เพื่อพัฒนาทักษะเด็กตามรูปแบบการสอน
การเป็น วิทยากรกระบวนการ
ผู้วิจัย สิริภิญญ์ อินทรประเสริฐ คณะวิทยาการจัดการ ปีการศึกษา 2556
โรงพยาบาลอ่างทอง ชื่อผู้ติดต่อ นางรัตนา งิ้ววิจิตร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ กลุ่มงาน เวชกรรมสังคม โทรศัพท์ อีเมล์
กระบวนการถ่ายทอดความรู้
แนวคิดทั่วไปเกี่ยวกับทีม
การประเมินผู้ป่วยบาดเจ็บศีรษะ
รพ.พุทธมณฑล.
โครเมี่ยม (Cr).
แนวทางการรายงานเฝ้าระวังทาง ระบาดวิทยา รง.506 โรคอุจจาระร่วงและอาหารเป็นพิษ จังหวัดหนองบัวลำภู ปี 2558.
Knowledge- Base Systems ระบบสหกรณ์. ที่มาของโครงการ โครงการนี้เกิดจากการรวมกลุ่มของกลุ่มบุคคล เพื่อดำเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจ ซึ่งก่อให้เกิด ประโยชน์ต่อความต้องการและเป้าหมายของ.
1 ชุดการเรียนรู้ความปลอดภัยและอาชีวอนา มัย ด้านการยศาสตร์ เรื่อง การบริหารร่างกายระหว่างการ ทำงาน เพื่อยืดและผ่อนคลายกล้ามเนื้อ จัดทำโดย กรมสวัสดิการและคุ้มครอง.
วิสัยทัศน์ ประเด็น ยุทธศาสตร์ สิ่งสำคัญที่ต้องทำ ให้บรรลุ เพื่อตอบสนอง วิสัยทัศน์ เป้าประสง ค์ หลัก ประสิทธิภ าพ ผลสำเร็จ สูงสุดของ องค์กรซึ่ง ประชาชน.
แผนการตรวจรับรอง สถานที่ทำงานน่าอยู่ น่า ทำงาน โดยศูนย์อนามัยที่ 8 อุดรธานี วันเวลาหน่วยงานทีมประเมิน 11 กค.59 เช้า - รพท. นภ. บ่าย สสอ. เมือง ศูนย์อนามัย.
วันศุกร์ที่ 3 มิถุนายน 2559 เวลา น. ณ ห้องบัญชาการป้องกันและบรรเทา สาธารณภัยแห่งชาติ อาคาร 3 ชั้น 5 กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย การประชุมกองอำนวยการป้องกันและบรรเทาสา.
สงกรานต์ ๒๕๕๗. ร่วมสร้างวัฒนธรรมความปลอดภัย สงกรานต์ ทั่วไทยไร้อุบัติเหตุ  จะร่วมสร้างวัฒนธรรมความ ปลอดภัยกันอย่างไร  จะทำสงกรานต์ทั่วไทยไร้อุบัติเหตุ
๕ เรื่องเด่นในร่างรัฐธรรมนูญ
ชุมชนปลอดภัย.
ALLPPT.com _ Free PowerPoint Templates, Diagrams and Charts.
บทที่ 3 องค์ประกอบของการสัมมนา
ทฤษฏีการเรียนรู้ กลุ่มพฤติกรรมนิยม
Applied Biochemistry 2nd Semester 2015 Tue 9 Feb /15.
การศึกษาอุบัติการณ์และปัจจัยเสี่ยงการเกิดพิษต่อตับ ในผู้ติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์ที่ได้รับยาต้านไวรัสเอชไอวี โรงพยาบาลวารินชำราบ.
การจัดระดับความเสี่ยง
Strategy Map สำนักงานสรรพากรพื้นที่กรุงเทพมหานคร12
Nutritional Biochemistry
โรคจิตเภท และโรคจิตที่สำคัญ
เภสัชวิทยา (Pharmacology)
ตำรับยาเหลืองปิดสมุทร
บทที่ 8 การควบคุมโครงการ
รายวิชา งานไฟฟ้าเบื้องต้นสำหรับครูอุตสาหกรรมศิลป์
การส่งต่อข้อมูลเฉพาะโรคโดยใช้ โปรแกรม ThaiRefer
บัตรยิ้ม สร้างเสริมกำลังใจ
โครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพ องค์การบริหารส่วนตำบลท่าดินแดง
โครงการกำจัดปัญหาโรคพยาธิใบไม้ตับและมะเร็งท่อน้ำดี ถวายเป็นพระราชกุศลฯ
ระบบการจัดการคลินิกครบวงจร
ผลการดำเนินงาน การบริหารจัดการประเมิน และดูแลผู้ป่วยก่อนกลับเข้าทำงาน
เรื่อง อันตรายของเสียง
ยาที่ใช้ในโรคไตเรื้อรัง (Pharmacotherapy in CKD) ประกอบการประชุมอบรมพัฒนาศักยภาพพยาบาล หน่วยปฐมภูมิ เขต 3 ภญ.จันทกานต์ อภิสิทธิ์ศักดิ์ กลุ่มงานเภสัชกรรม.
ตอนที่ 1ภาพรวมของการบริหารองค์กร (1-5 กำลังคน)
ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมที่ปลอดภัยจากความเมื่อยล้าในการทำงาน
(Group activity therapy)
การพัฒนาระบบการดูแลผู้รับบริการเพื่อตรวจรักษาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
แพทย์หญิงดนุชา ช่อเฟื้อง
Model ผลที่คาดหวัง วัตถุประสงค์ ตัวชี้วัดหลัก
Delirium พญ. พอใจ มหาเทพ 22 มีนาคม 2561.
โครงการประชุมเชิงปฏิบัติการ การจัดทำแนวทางการดูแลผู้ป่วยจิตเวช ในการรับประทานยาต่อเนื่องสำหรับโรงพยาบาลชุมชน โรงพยาบาลจิตเวชนครราชสีมาราชนครินทร์ 19 มกราคม.
โรคติดเชื้อไวรัสซิก้า
Professional Learning Community ชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ
ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี
กฎกระทรวง ความปลอดภัยทางรังสี พ.ศ.2561
การวัดพฤติกรรมทางด้านทักษะพิสัย
เริ่มทำแบบทดสอบ แบบทดสอบก่อนเรียน หนังสืออิเล็กทรอนิกส์
ทิศทางการดำเนินงานลดโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD)
มะเร็งปากมดลูก โดย นางจุฑารัตน์ กองธรรม พยาบาลวิชาชีพ รพ.สต.บ้านโนนแต้
Safe Anesthesia in One Day Surgery
โปลิโอสายพันธ์วัคซีนกลายพันธุ์ Circulated Vaccine Derived Poliovirus
การจัดการความรู้ด้านงานสนับสนุน
การประเมินผลโครงการ บทที่ 9 ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ yalada.
งานวิสัญญี รพร.เดชอุดม
ขวดสารเคมี ที่ใช้หมดแล้ว S01 รวม แหล่งกำเนิดของเสีย /
Lean Management การลดขั้นตอนการนัดตรวจสุขภาพจิตของ นร.กพ
บทที่ 5 พัลส์เทคนิค
ระบบการส่งต่อข้อมูลอาการไม่พึงประสงค์จากการแพ้ยา
MTRD 427 Radiation rotection - RSO
เครื่องขุดหลุมปลูกยาสูบ
การวิเคราะห์สภาพอากาศที่เอื้ออำนวยต่อการเกิดฝุ่นละอองขนาดเล็กบริเวณ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ ด้วยแบบจำลอง WRF.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Drug-Drug Interaction ภญ.ปิยพร ชูชีพ กลุ่มงานเภสัชกรรม รพ.สวนสราญรมย์

Drug-Drug interaction อันตรกิริยาระหว่างยา เป็นปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นเมื่อ ระดับยาหรือพารามิเตอร์ทางเภสัชจลนศาสตร์ของยา หรือฤทธิ์ทางเภสัชวิทยาของยาตัวหนึ่งในร่างกาย เปลี่ยนแปลงไปเมื่อได้รับยาตัวอื่นร่วมด้วย ยาที่ได้รับผลกระทบจากอันตรกิริยาระหว่างยา เรียกว่า “object drug” ยาที่เป็นสาเหตุของผลกระทบนั้นเรียกว่า “precipitant drug”

Drug-Drug interaction เป็นปัญหาสำคัญปัญหาหนึ่งเกี่ยวกับความ ปลอดภัยในด้านยา การศึกษาพบว่าร้อยละ 2 ของผู้ป่วยที่เข้ารับการ รักษาใน รพ. จะเกิด DI ขึ้นจนเกิดความเป็นพิษ หรือผลข้างเคียงจากยา นอกจากนั้นอาจทำให้ต้องเพิ่มค่าใช้จ่าย

Definition Onset ระยะเวลาที่เริ่มปรากฏผลทางคลินิก Rapid ปฏิกิริยาเกิดขึ้นภายใน 24 ชั่วโมง Delayed ปฏิกิริยาเกิดขึ้นใช้เวลานานเป็นวัน หรือสัปดาห์

Definition Severity ระดับความรุนแรง Major ผลที่เกิดขึ้นก่อให้เกิดอันตรายถึงชีวิตหรือ เกิดความเสียหายอย่างถาวร Moderate ผลที่เกิดขึ้นทำให้ผู้ป่วยมีอาการเลว ลง  ต้องการการรักษาเพิ่มขึ้น  อยู่ใน รพ. นานขึ้น Minor ผลที่เกิดขึ้นน้อย  ไม่จำเป็นต้องให้การรักษา

Definition Documentation แบ่งเป็น 5 ระดับ well controlled studies 1. Established  proven to occur in well controlled studies 2. Probable  very likely, but not proven clinically 3. Suspected  may occur, some good data, needs more study    

Definition Documentation แบ่งเป็น 5 ระดับ 4. Possible   could occur, but data are very limited 5. Unlikely   doubtful, no good evidence of an altered clinical effect

Definition ระดับนัยสำคัญ Severity Documentation 1 Major suspected or > 2 Moderate 3 Minor 4 Major / Moderate possible 5 Any unlikely

Drug-Drug interaction 1. Propranolol – CPZ, thioridazine 2. SRI – Selegiline 3. Lithium – Haloperidol 4. Thioridazine – Fluoxetine 5. Thioridazine - Fluvoxamine Significance: 1

Drug-Drug interaction 6. Lithium – ACE Inhibitor 7. Lithium – HCTZ 8. Clozapine - SRI Significance: 2

1. Propranolol – CPZ, Thioridazine Onset: Delayed Severity: Major Mechanism: - CPZ จะยับยั้ง first-pass hepatic metabolism ของ propranolol และเพิ่มฤทธิ์ของยา propranolol

1. Propranolol – CPZ, Thioridazine Mechanism: - Propranolol ยับยั้ง metabolism ของยา thioridazine ผลเพิ่มความเสี่ยง cardiac arrhythmias Management: - ปรับลดขนาดยาเมื่อใช้ร่วมกัน - ห้ามใช้ thioridazine ร่วมกับ propranolol Documentation: Proable

2. SRI – Selegiline Serotonin Reuptake Inhibitor: fluoxetine, fluvoxamine, sertraline, venlafaxine, paroxetine Onset: Rapid Severity: Major

2. SRI – Selegiline Mechanism: excessive accumulation of serotonin ผลทำให้เกิด serotonin syndrome (CNS irritability, shivering, myoclonus, altered consciousness, hypertension, hyperreflexia, diaphoresis) Documentation: Proable

2. SRI – Selegiline Management: ไม่ควรใช้ร่วมกัน หากใช้ร่วมกันควร - หยุดยา venlafaxine > 1 wk - หยุดยา fluvoxamine, paroxetine, sertraline > 2 wk - หยุดยา fluoxetine > 5 wk - หลังจากหยุดยา selegiline > 2 wk จึงเริ่มให้ SRI

3. Lithium – Haloperidol Onset: Delayed Severity: Major Mechanism: unknown ผล alteration in consciousness, encephalopathy, extrapyramidal effects, fever, weakness, brain damage and seizure

3. Lithium – Haloperidol Management: ควรติดตามผู้ป่วยอย่างใกล้ชิด โดยเฉพาะในช่วง 3 สัปดาห์แรกของการรักษา Documentation: Probable Significance: 1

4. Thioridazine – Fluoxetine Onset: Delayed Severity: Major Mechanism: fluoxetine ยับยั้ง metabolism ของยา thioridazine ผลทำให้ ระดับยา thioridazine ในเลือดเพิ่มสูงขึ้น เพิ่ม ความเสี่ยงต่อการเกิด cardiac arrhythmias รวมทั้ง QT prolongation, torsades de pointes, cardiac arrest

4. Thioridazine – Fluoxetine Management: thioridazine ห้ามใช้ใน ผู้ป่วยที่ได้รับยา fluoxetine Documentation: Proable Significance: 1

5. Thioridazine – Fluvoxamine Onset: Delayed Severity: Major Mechanism: ยา fluvoxamine ยับยั้ง metabolism ของยา thioridazine ผลทำ ให้ระดับยา thioridazine ในเลือดเพิ่มสูงขึ้น เพิ่มความเสี่ยงต่อการเกิด cardiac arrhythmias

5. Thioridazine – Fluvoxamine Management: thioridazine ห้ามใช้ใน ผู้ป่วยที่ได้รับยา fluvoxamine Documentation: Proable Significance: 1

6. Lithium – ACE inhibitors (Enalapril, Perindopril, Lisinopril) Onset: Delayed Severity: Moderate Mechanism: - ACE inhibitors จะลด glomerular perfusion pressure ทำให้เพิ่มการดูดซึม กลับของ lithium ที่ท่อไต ผลทำให้ระดับยา lithium ในเลือดเพิ่มสูงขึ้น

6. Lithium – ACE inhibitors (Enalapril, Perindopril, Lisinopril) Mechanism: - ACE inhibitors ทำให้ระดับ aldosterone ลดลง Na+ depletion ทำให้เกิดการคั่งของ lithium - ACE inhibitors ลด Angiotensin II dehydration impairment of lithium excretion เพิ่ม blood lithium

6. Lithium – ACE inhibitors (Enalapril, Perindopril, Lisinopril) Management: ปรับลดขนาดยา lithium, ติดตามวัดระดับยา lithium ในเลือด หรือ เฝ้าระวังอาการพิษจากยา lithium (ท้องเสีย, อ่อนเพลีย, เดินเซ, กล้ามเนื้อกระตุก, ตามัว, สับสน, ชัก, ไม่รู้สึกตัว) Significance: 2

7. Lithium – HCTZ (Hydrochlorothiazide) Onset: Delayed Severity: Moderate Mechanism: ยา HCTZ จะลดการกำจัดยา lithium ทางไต ผลทำให้ระดับยา lithium ในเลือดเพิ่มสูงขึ้น

7. Lithium – HCTZ (Hydrochlorothiazide) Management: ปรับลดขนาดยา lithium, ติดตามวัดระดับยา lithium ในเลือด หรือ เฝ้าระวังอาการพิษจากยา lithium Significance: 2

8. Clozapine – SRI SRI: fluoxetine, fluvoxamine, sertraline, citalopram Onset: Delayed Severity: Moderate Documentation: Established

8. Clozapine – SRI Mechanism: SRI ยับยั้ง clozapine hepatic metabolism ผลทำให้ระดับ clozapine ในเลือดเพิ่มสูงขึ้น Management: ติดตามระดับยา clozapine หรือเฝ้าระวังอาการทางคลินิก ปรับลดขนาดยา clozapine ระวัง clozapine toxicity (sedation, seizures, hypotension)

แนวทางปฏิบัติเมื่อพบ DI เภสัชกรตรวจพบคู่ยาที่เกิดอันตรกิริยาระหว่างกัน ปรึกษาแพทย์ทบทวนการสั่งใช้ยา จ่ายยาตามคำสั่งใช้ยา

เรียนแพทย์ทราบ เนื่องจากยาที่ท่านสั่งจ่าย มีคู่ยาที่เป็น Drug interaction Interaction Drugs  Propranolol – CPZ, Thioridazine*  SRI – Selegiline  Lithium – Haloperidol  Lithium – ACE inhibitor  Lithium – HCTZ  Clozapine – SRI  Thioridazine – Fluoxetine*  Thioridazine – Fluvoxamine* Doctor’s management  งดยา........................................................  เปลี่ยนยา.................................................  ปรับลดขนาดยา......................................  ยืนยันการใช้ยาคู่เดิม เหตุผล (โปรดระบุ)................................ ..................................................... ลายเซ็นแพทย์................................................. Pharmacist’ Intervention ...................................................................................................................................... เภสัชกร...............................................วันที่...........................โทร 2057

1. Propranolol – CPZ, Thioridazine (Sig. 1) - CPZ จะยับยั้ง first-pass hepatic metabolism ของ propranolol และเพิ่มฤทธิ์ของยา propranolol ควรปรับลดขนาดยาเมื่อใช้ร่วมกัน - Propranolol ยับยั้ง metabolism ของยา thioridazine ผลเพิ่มความเสี่ยง cardiac arrhythmias ห้ามใช้ร่วมกัน 2. SRI – Selegiline (Sig. 1) - SRI: fluoxetine, fluvoxamine, sertraline, venlafaxine, paroxetine - Possibly rapid, excessive accumulation of serotonin ผลทำให้เกิด serotonin syndrome (CNS irritability, shivering, myoclonus, altered consciousness) ไม่ควรใช้ร่วมกัน หากใช้ยาตัวใดตัวหนึ่งควรมีระยะหยุดยาที่เหมาะสม 3. Lithium – Haloperidol (Sig. 1) - กลไก unknown ผล alteration in consciousness, encephalopathy, extrapyramidal effects, fever, leukocytosis and increase serum enzymes ควรติดตามผู้ป่วยอย่างใกล้ชิด โดยเฉพาะในช่วง 3 สัปดาห์แรกของการรักษา 4. Thioridazine – Fluoxetine (Sig. 1) - fluoxetine ยับยั้ง metabolism ของยา thioridazine ผลทำให้ระดับยา thioridazine ในเลือดเพิ่มสูงขึ้น เพิ่มความเสี่ยงต่อการเกิด cardiac arrhythmias รวมทั้ง torsades de pointes ห้ามใช้ยา thioridazine ในผู้ป่วยที่ได้รับยา fluoxetine 5. Thioridazine – Fluvoxamine (Sig. 1) - fluvoxamine ยับยั้ง metabolism ของยา thioridazine ผลทำให้ระดับยา thioridazine ในเลือดเพิ่มสูงขึ้น เพิ่มความเสี่ยงต่อการเกิด cardiac arrhythmias ห้ามใช้ยา thioridazine ในผู้ป่วยที่ได้รับยา fluvoxamine 6. Lithium – ACE inhibitors (Enalapril, Perindopril, Lisinopril) (Sig. 2) - ACE inhibitors จะลด glomerular perfusion pressure ทำให้เพิ่มการดูดซึมกลับของ lithium ที่ท่อไต ผลทำให้ระดับยา lithium ในเลือดเพิ่มสูงขึ้น ปรับลดขนาดยา lithium, ติดตามวัดระดับยา lithium ในเลือด หรือ เฝ้าระวังอาการพิษจากยา lithium 7. Lithium – HCTZ (Hydrochlorothiazide) (Sig. 2) - ยา HCTZ จะลดการกำจัดยา lithium ทางไต ผลทำให้ระดับยา lithium ในเลือดเพิ่มสูงขึ้น ปรับลดขนาดยา lithium,ติดตามวัดระดับยา lithium ในเลือด หรือ เฝ้าระวังอาการพิษจากยา lithium 8. Clozapine – SRI (Sig. 2) - SRI (fluoxetine, fluvoxamine, sertraline) ยับยั้ง clozapine hepatic metabolism ผลทำให้ระดับ clozapine ในเลือดเพิ่มสูงขึ้น ติดตามวัดระดับยา clozapine ในเลือด หรือเฝ้าระวังอาการทางคลินิกของผู้ป่วย ถ้าจำเป็นอาจต้องปรับลดขนาดยา clozapine