Professional Learning Community ชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ
ชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ คืออะไร ชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ คืออะไร การร่วมมือรวมพลังของครูผู้สอน ผู้บริหาร ศึกษานิเทศก์และนักการศึกษา การให้ความสำคัญกับ การเรียนรู้ของผู้เรียน การตรวจสอบการปฏิบัติงานของครูกับ ผลการเรียนรู้ของผู้เรียน
ชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ คืออะไร (ต่อ) ชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ คืออะไร (ต่อ) การปรับปรุงการเรียนการสอนในชั้นเรียน การสร้างการเปลี่ยนแปลงโดยเรียนรู้จากการปฏิบัติงานของครูที่มีผลต่อการเรียนรู้ของผู้เรียน การเรียนรู้ทางวิชาชีพอย่างต่อเนื่องระหว่าง การปฏิบัติงาน
ชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ คืออะไร (ต่อ) ชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ คืออะไร (ต่อ) การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ที่เน้นกระบวนการเรียนรู้ร่วมกัน การพึ่งพาอาศัยกันและกันเพื่อให้บรรลุเป้าหมายเดียวกัน การทำงานร่วมกันด้วยความสัมพันธ์แบบกัลยาณมิตร การส่งเสริมพัฒนาการทางวิชาชีพ
ปัจจัยสำคัญที่ทำให้เกิดชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ ให้ความสำคัญ การเรียนรู้ของผู้เรียน ยอมรับว่าการสอนและการปฏิบัติงานของครู มีผลต่อการเรียนรู้ของผู้เรียน เปิดใจและเชื่อมั่นในการเรียนรู้ร่วมกัน มีจุดประสงค์ร่วมกันในการพัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรียน
ปัจจัยสำคัญที่ทำให้เกิดชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ สร้างบรรยากาศความร่วมมือร่วมใจ สร้างความสัมพันธ์แบบกัลยาณมิตรและความไว้ใจ รับฟังความคิดเห็นของผู้อื่นและแสดงความคิดเห็นต่อผู้อื่นด้วยทัศนคติ เชิงบวก
วิธีการดำเนิน ชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ การบริหารจัดการ ภาระงาน : จัดชั่วโมงรวมอยู่ในภาระงานสอนของครู การจัดกลุ่ม : - กลุ่มครูที่สอนวิชา/กลุ่มสาระเดียวกันใน ระดับชั้นเดียวกัน - กลุ่มครูที่สอนวิชา/กลุ่มสาระเดียวกัน ในช่วงชั้นเดียวกัน
วิธีการดำเนิน ชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ การบริหารจัดการ จำนวนสมาชิก : 6-8 คน (กลุ่มสาระฯ หรือ ระดับชั้นเข้าร่วม ทุกกลุ่ม) ระยะเวลา : 2-3 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ ตลอดหนึ่งปีการศึกษา
รักษาระดับการส่วนร่วมของสมาชิก ควบคุมประเด็นการพูดคุย บทบาทสมาชิกในกลุ่ม ผู้อำนวยการสะดวก รักษาระดับการส่วนร่วมของสมาชิก ควบคุมประเด็นการพูดคุย
ผู้ร่วมพูดคุยแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ผู้หาข้อมูลเพิ่มเติม บทบาทสมาชิกในกลุ่ม ผู้ร่วมพูดคุยแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ผู้หาข้อมูลเพิ่มเติม ผู้บันทึก logbook (ทุกคน)
วิธีดำเนินงาน เสนอประเด็นปัญหาที่พบจากการเรียนรู้ของผู้เรียน ร่วมกันคัดเลือกประเด็นปัญหา ระดมสมองนำเสนอวิธีแก้ปัญหาจากประสบการณ์
วิธีดำเนินงาน หาข้อมูลความรู้เพิ่มเติม : - จาก ศน. / ผู้เชี่ยวชาญ จากงานวิจัยในชั้นเรียน จากแหล่งข้อมูลต่างๆ
วิธีดำเนินงาน อภิปรายสรุปและเลือกวิธีการแก้ปัญหาที่เหมาะสม นำไปทดลองใช้ในการเรียนการสอนในชั้นเรียน สมาชิกร่วมสังเกตการสอนและเก็บข้อมูล อภิปรายผลจากการสังเกตการสอนและปรับปรุงแก้ไข
วิธีดำเนินงาน สรุปผลวิธีการแก้ปัญหาที่ให้ผลดีต่อการเรียนรู้ของผู้เรียน บันทึกทุกขั้นตอนการทำงานกลุ่ม : ระบุปัญหา วิธีแก้การทดลอง แบ่งปันประสบการณ์