PLANFIN 60 เขตสุขภาพที่ 12
Planfin 60 PLANFIN60 1.รายได้-ค่าใช้จ่าย 2.ซื้อยา วขภ. ฯ 3.ซื้อวัสดุอื่น 4.บริหารเจ้าหนี้ 5.บริหารลูกหนี้ 6.แผนลงทุน 7.สนับสนุน รพ.สต. PLANFIN60
Planfin 60 Worksheet แผนที่ 1.รายได้-ค่าใช้จ่าย REVENUE PLANFIN60 EXPENSE แผนที่2. ซื้อยา วชภ.ฯ แผนที่ 3.ซื้อวัสดุอื่น แผนที่ 4.บริหารเจ้าหนี้ แผนที่ 5.บริหารลูกหนี้ แผนที่ 6.แผนลงทุน แผนที่ 7.สนับสนุน รพ.สต. Worksheet PLANFIN60
แนวทางการปรับ PlanFin เพื่อบริหารความเสี่ยงจาก PlanFin Analysis Risk Factors Key Factors How to 1.ความเสี่ยง ด้านกระแสเงินสด EBITDA ปรับให้ EBITDA บวก เพื่อมีกระแสเงินสดเพียงพอ ในการดำเนินงานและลงทุน ลดความเสี่ยงในการขาดสภาพคล่อง -จัดซื้อร่วมในอัตราที่ต่อปีเพิ่มขึ้น ทำ RDU ลดมูลค่าใช้ยา -ควบคุมกำกับสัดส่วนค่าแรงต่อรายจ่ายให้เป็นไปตาม FTE ในระดับที่เหมาะสม ให้ FTE ไม่เกิน 100 % ถ้า FTE เกิน 100 % ต้องมีแผน LOI เพิ่ม productivity ถ้าไม่มีพิจารณาปรับย้าย -เพิ่มสัดส่วนรายได้ NonUc เพิ่มส่วนแบ่งการตลาด จากการทำ Service plan เพิ่มการตรวจสุขภาพประจำปี แนวทางเก็บเงินผู้ป่วยนอกเวลา กระจายความเสี่ยงโครงสร้างรายได้ (Revenue Diversify) 2.ความเสี่ยง ด้านการลงทุน Investment < 20% EBITDA เพื่อป้องกัน Over Investment และ ทำให้เกิดภาระค่าใช้จ่ายผูกพันในระยะยาว -ทบทวน ศึกษาความคุ้มค่าในการลงทุนมีการลงทุนจากทุกแหล่งเงินที่เหมาะสมโดยขออนุมัติจังหวัด เขต -ถ้า EBITDA และ NWC ติดลบ ให้ชะลอการลงทุน ด้วยเงินบำรุง ต้องใช้งบประมาณลงทุนเท่านั้นหรือต้องปรับเกลี่ยภายในจังหวัดเพื่อลงทุนแทน 3.ความเสี่ยง ด้านเงินทุนหมุนเวียน สัดส่วน NWC เหลือหลัง Investment ต่อ รายจ่าย:เดือน เพื่อให้มีเงินทุนหมุนเวียนเพียงพอในการดำเนินงานและลดความเสี่ยงในการขาดสภาพคล่อง อันจะนำไปสู่วิกฤติการเงิน -กำหนดนโยบายวงจรเงินสด (Cash cycle) ที่เหมาะสม เก็บหนี้ ชำระหนี้ วัสดุคงคลังให้หน่วยงานมีเงินสดเพียงพอในการดำเนินงาน -หาแหล่งเงินทุน มีแผนการจัดหาเงินบริจาคประจำปี -กรณีไม่มี/ไม่พอ หน่วยบริการที่ไม่มีเงินทุนไม่พอ เขตเป็นคนกลาง (ธนาคารเขตสุขภาพ) ในการทำ LOAN with LOI มีการผ่อนชำระคืนตามกำหนด -โรงพยาบาลที่มีวิกฤตการเงินต้องทำ Business plan และ LOI
เกณฑ์ Risk score Planfin Key Factors Criteria 1.EBiTDA บวก = Normal ลบ = RISK ความเสี่ยงด้านกระแสเงินสด 2.Investment<20% EBITDA <20% =Normal >20 % = RISK ความเสี่ยงด้านการลงทุน 3.สัดส่วน NWC เหลือหลัง Investment ต่อ รายจ่าย:เดือน >1 = NORMAL <1= RISK ความเสี่ยงด้านเงินทุนหมุนเวียน Risk score planfin 8 แบบ
ตารางการปรับ PlanFin เพื่อบริหารความเสี่ยงจาก PlanFin Analysis แบบ EBITDA บวก=Normal ลบ = Risk % Investment ต่อ EBITDA <20% Normal >20% Risk สัดส่วน NWC เหลือหลัง Investment ต่อ รายจ่าย:เดือน < 1 = Risk > 1 = Normal การปรับ PlanFin 1 Normal ไม่ต้องปรับ 2 Risk ทบทวนการลงทุนอีกครั้ง 3 ทำ Feasibility study 4 ปรับลดการลงทุนให้ < 20% EBITDA เพื่อเงินเหลือจาก EBITDA – ลงทุน จะไปเพิ่ม NWC 5 ปรับ EBITDA ให้เป็น + 6 และ ทบทวนการลงทุนอีกครั้ง เพื่อเงินเหลือจาก EBITDA – ลงทุน 7 และ ทบทวนการลงทุนอีกครั้ง ควร ลงทุนให้ < 20% EBITDA 8 และ ชะลอการลงทุน
สรุปการปรับ Planfin (ณ 28 ตค.59) ประเทศ PlanFin แบบ EBITDA บวก=Normal ลบ = Risk % Investment ต่อ EBITDA <20% Normal >20% Risk สัดส่วน NWC เหลือหลัง Investment ต่อ รายจ่าย:เดือน < 1 = Risk > 1 = Normal ก่อนปรับ หลังปรับ จำนวน (แห่ง) 1 Normal 169 193 2 Risk 255 291 3 163 159 4 136 111 5 21 6 32 33 7 59 50 8 61 38
กลุ่มเสี่ยงที่มีโอกาสวิกฤติการเงิน แยกรายเขต (28 ตค.59) ประเทศ เขต แบบ 4 แบบ 6 แบบ 8 รวม (แห่ง) (Risk) (Moderate Risk) (High Risk) 1 19 8 12 39 2 7 10 3 6 5 14 4 16 24 15 18 26 21 9 11 รวม 111 33 38 182
ภาพรวม ก่อนปรับ-หลังปรับ Planfin 60 ประเทศ Risk ประเภท ก่อนปรับ หลังปรับ จำนวนแห่ง การดำเนินการ (รับ-จ่าย) EBITDA บวก 720 (80.35%) 754 (84.15%) การลงทุน (กระแสเงินสด) % Investment ต่อ EBITDA 20% 479 (53.45%) 538 (60.05%) แบบ 4 136 111 แบบ 6 Moderate Risk 32 33 แบบ 8 High Risk 61 (6.81%) 38 (4.24%) Total Risk 229 (25.55%) 128 (20.31%) หลังปรับ Planfin พบว่าความเสี่ยงทางการเงินลดลง
สรุปแผนทางการเงิน เขตสุขภาพที่ 12 สรุปแผนทางการเงิน เขตสุขภาพที่ 12 สรุปแผนประมาณการ เกินดุลทุกแห่ง รวมรายได้ (ไม่รวมงบลงทุน) 19,171,272,961.15 รวมค่าใช้จ่าย (ไม่รวมค่าเสื่อมราคาและค่าตัดจำหน่าย) 18,297,401,605.71 EBITDA 873,871,355.44 วงเงินลงทุน 20% EBITDA 174,774,271.09 ลงทุน > EBITDA 20% -63,691,554.44
สรุปการปรับ Planfin (ณ 28 ตค.59) เขต 12 สรุปการปรับ Planfin (ณ 28 ตค.59) PlanFin แบบ EBITDA บวก=Normal ลบ = Risk % Investment ต่อ EBITDA <20% Normal >20% Risk สัดส่วน NWC เหลือหลัง Investment ต่อ รายจ่าย:เดือน < 1 = Risk > 1 = Normal ก่อนปรับ หลังปรับ จำนวน (แห่ง) 1 Normal 10 19 2 Risk 39 41 3 17 13 4 11 5 6 7 8
Planfin Analysis เขตสุขภาพที่ 12 (ณ 28 ตค.59) แบบ 1 แบบ 2 แบบ 3 แบบ 4 รวม สงขลา 5 9 2 1 17 พัทลุง 11 ตรัง 4 10 สตูล 7 ปัตตานี 8 12 ยะลา นราธิวาส 6 13 19 41 78 1.รพ.สมเด็จฯนาทวี 2.รพ.พัทลุง 3.รพ.เจาะไอร้อง 4.รพ.ย่านตาขาว 5.รพ.สิเกา
Risk score Planfin เขตสุขภาพที่ 12 (ณ 28 ตค.59) รพ.สมเด็จฯ นาทวี รพ.เจาะไอร้อง รพ.พัทลุง รพ.ย่านตาขาว รพ.สิเกา
ข้อสรุป PlanFin สสจ.อนุมัติ/ผู้ตรวจราชการเห็นชอบเรียบร้อยแล้ว คาดการณ์ความเสี่ยงการเงิน ระดับ 7 : โอกาสเสี่ยง 10% กลุ่ม 4 (5/78 แห่ง) คิดเป็น ความเสี่ยงการเงิน ระดับ 7 ประมาณ 6.41 % การบริหาร Planfin บริหารความเสี่ยงการดำเนินงาน : บริหารแผนรับ-จ่ายให้ EBITDAบวก บริหารความเสี่ยงการลงทุน : มีกระแสเงินสดที่เพียงพอในการลงทุน บริหารความเสี่ยงทุนสำรองสุทธิ : มีเงินหมุนเวียนที่เหมาะสม วิเคราะห์ความเสี่ยง (Planfin Analysis) ตาม Planfin หน่วยบริการ
Governance Excellence มาตรการ 2 ติดตามกำกับด้วยแผนทางการเงิน (Planfin Management) 2.1ทุกหน่วยบริการจัดทำแผนทางการเงิน ปี 2560 2.2 วางระบบเฝ้าระวังตามแผนทางการเงินหน่วยบริการ (รายเดือน) 2.3 ควบคุม กำกับด้วยเปรียบเทียบแผนการเงินกับผลการดำเนินงาน (ไตรมาส) ตัวชี้วัด Small Success 3 เดือน 6 เดือน 9 เดือน 12 เดือน 1.ร้อยละของหน่วยบริการมีแผนทางการเงิน (Planfin) ที่มีความครบถ้วน ถูกต้อง สมบูรณ์ ร้อยละ 100 2.ร้อยละของหน่วยบริการมีผลต่างแผนและผล ไม่เกินร้อยละ 5 (รายได้และค่าใช้จ่ายสูงกว่า หรือต่ำกว่าแผนได้ไม่เกิน ร้อยละ 5) ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ไม่น้อยกว่าร้อยละ 90 ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 90
TimE LINE ในการบริหาร Planfin รายการ ระยะเวลา เขต/จังหวัด 1.กำหนดแนวทาง มาตรการในการบริหารการเงินการคลัง พย.59 2.เฝ้าระวัง ติดตาม กำกับ กลุ่มที่มีความเสี่ยง ทุกเดือน 3.ตรวจสอบ/ประเมินผลการดำเนินงานตาม Planfin 4.เยี่ยมหน่วยบริการ/นิเทศงาน หาแนวทางแก้ไขร่วมกัน 1-3 เดือน หน่วยบริการ 1.จัดทำแผนเงินบำรุงเสนอ นพ.สสจ.อนุมัติ 2.กำหนดแนวทางในการบริหารการเงินการคลัง กำกับ Planfin ควบคู่กับรายงานงบการเงิน 3.ติดตามผลเทียบแผนทุกเดือน วิเคราะห์หาสาเหตุที่ไม่เป็นไปตามแผน 4.ทำแผนปรับประสิทธิภาพ จัดทำ Business plan/ทบทวน ทุกไตรมาส