PrEP คืออะไร Pre- Exposure Prophylaxis ยาต้านไวรัสเพื่อการป้องกันการติดเชื้อเอชไอวี รูปยา.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
PCT ศัลยกรรม น.พ.วริษฐ์ คลอวุฒิวัฒน์
Advertisements

Prevention With Positives Anupong Chitwarakorn Senior Expert Department of Disease Control.
การให้การปรึกษาในการตรวจเอชไอวี แบบฟังผลในวันเดียว Counseling with Same Day HIV Testing 12 July 2011.
การตรวจเลือดเอชไอวี แบบทราบผลในวันเดียว
LOGO. ACTIVITIES o Objective o Common S/E o Specific S/E o S/E management o Nutrition o Supplement o Q&A o Encouragement.
นายแพทย์โสภณ เมฆธน อธิบดีกรมควบคุมโรค ผลการสำรวจทัศนคติ ความเห็นของประชาชน DDC Poll ครั้งที่ 12 “ เรื่อง … รู้จักและเข้าใจโรคไข้หวัดใหญ่ 31 มีนาคม 2558.
การควบคุมงานก่อสร้าง ( การทดสอบวัสดุ ). หัวข้อการบรรยาย 1. การเจาะสำรวจชั้นดิน 2. การทดสอบแรงดึงของเหล็ก 3. การทดสอบกำลังอัดของคอนกรีต หมายเหตุ : การบรรยายจะอ้างอิงแบบ.
แนวทาง การดำเนินงาน องค์กรหัวใจดี แนวทาง แพทย์หญิงจุรีพร คงประเสริฐ 24 ธ.ค
LOGO แนวทางการดำเนินงานการจัดการศึกษาตาม หลักสูตร การศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ( ปรับปรุง 2559)
การประชุมคณะอนุกรรมการ พิจารณาแนวทางการจัดทำฐานข้อมูล ด้านความมั่นคง ครั้งที่ ๑ / ๒๕๕๙.
งานข้อมูลสารสนเทศ กลุ่มยุทธศาสตร์และงานวิชาการ
สรุปผลการติดตามผลการดำเนินงาน คปสอ
แผนยุทธศาสตร์วัณโรคระดับชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐-๒๕๖๔
การบริหารจัดการเวลาเรียนภาษาอังกฤษ
Hospital Presentation นพ.ชัยวัฒน์ พงศ์ทวีบุญ ผู้อำนวยการโรงพยาบาล
โครงการ PrEP PACKAGE ปี 2561
การจัดบริการในห้องปฏิบัติการ เพื่อสนับสนุนในการให้ยาต้านไวรัส เพื่อการป้องกันก่อนการสัมผัสเชื้อ (PrEP) และให้บริการยาต้านไวรัสโดยไม่คำนึงถึงระดับ ซีดี
ก้าวย่างไปข้างหน้าอย่างไร... เพื่อมุ่งสู่การยุติปัญหาเอดส์
นายแพทย์พสุวัฒน์ คงศีล คณะแพทยศาสตร์วชิรพยาบาล
การโอนกลับรายการ Reversing Entries
การดำเนินงานมาตรฐานศูนย์บริการชุมชน สมาคมฟ้าสีรุ้งแห่งประเทศไทย
กองทุนประกันสังคม พ.จ.อ.พิชิต ศรีทองหนา จนท.สิทธิประกันสังคม
วิชาการทำฟาร์มสุกร บทที่ 7 การจัดการสุกร.
เอมอร ราษฎร์จำเริญสุข
แผนปฏิบัติการ เร่งรัดการยุติปัญหาเอดส์ ประเทศไทย พ.ศ
การดำเนินงาน ด้านเอดส์ในแม่และเด็ก
การจ่ายตามเกณฑ์คุณภาพผลงานบริการ (QOF) ปีงบประมาณ ๒๕๖๐
การสอบสวนทางระบาดวิทยา (Epidemiological investigation)
วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต
Pre-Exposure Prophylaxis for HIV prevention
บูรณาการ“เข้าใจ เข้าถึง”
กระบวนการปฏิบัติงานในวงจรรายได้ ประเภทที่ 2 กระบวนการปฏิบัติงานในวงจรรายได้สำหรับการขายสด พนักงานก็จำทำการบันทึกข้อมูลการรับชำระเงินค่าสินค้า โดยในขั้นตอนนี้แบ่งออกได้
เพศสัมพันธ์ในวัยเรียน
ส่วนรับรองด้านการปศุสัตว์ สพส.
แม่วัยรุ่น (Teenage Mothers) ศูนย์อนามัยที่ 4 ราชบุรี
ในวันที่ 6 กุมภาพันธ์ 2560 เวลา 1๓.00 – น.
สรุปผลการติดตามผลการดำเนินงาน คปสอ
กระบวนการเรียกร้องสิทธิและการดำเนินคดีผู้บริโภค
รายงานผลการปฏิบัติงาน ประจำปีงบประมาณ 2560 สำนักงานสหกรณ์จังหวัดลำพูน
มุ่งสู่ความเป็นศูนย์: การเลือกปฏิบัติด้านเอดส์ 10 กันยายน 2557
สถานการณ์ไข้เลือดออก เขตสุขภาพที่ 1 ปี 2560
สรุปเนื้อหาวิชาการ Track A: Epidemiology and Prevention
นโยบายการดำเนินงาน PrEP กับการยุติปัญหาเอดส์
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาแพร่ เขต 1
ก้าวทันโรค - - ก้าวต่อไปในการดำเนินโครงการ
ความเป็นมาของโครงการ และแนวคิดของรูปแบบการจัดบริการปรึกษาและตรวจเอชไอวีโดยเน้นชุมชนเป็นศูนย์กลาง (community-centered service model) พญ.นิตยา ภานุภาค พึ่งพาพงศ์
การจัดระบบบริการสุขภาพสำหรับผู้ต้องขังในเรือนจำ
กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น
พระพุทธศาสนา.
ประสบการณ์การให้บริการเพร็พ (PrEP)
นางธนตวรรณ ขวัญแก้ว วิทยาลัยเทคโนโลยีอรรถวิทย์พณิชยการ
ชื่อผลงาน:การพัฒนาระบบการดูแลผู้ป่วย HIV/TB แบบบูรณาการ
แบบฟอร์มที่ 2 1. ชื่อวิชา THM 3307 การจัดการงานฝ่ายห้องพัก 
สอนอย่างมืออาชีพ หยุดยั้งพฤติกรรมเสี่ยง
แนวทางการปฏิบัติเมื่อบุคลากรสัมผัสเลือด หรือสิ่งคัดหลั่งขณะปฏิบัติงาน
วิภาส วิมลเศรษฐ มีนาคม 2556
นพ.ทวีทรัพย์ ศิรประภาศิริ กองทุนประชากรแห่งสหประชาชาติ
การทำงาน MSM-TG สำคัญอย่างไร มุมมองทั่วไปและด้านระบาด สาธารณสุข
โครงการให้บริการที่ดีที่สุดประจำปีงบประมาณ พ.ศ ที่มีความโดดเด่น
การดำเนินงานการจัดบริการเอชไอวี/เอดส์ โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์และวัณโรค สำหรับภาคีเครือข่ายศูนย์บริการชุมชน (DIC- Cluster) ในระดับ อำเภอ/องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นรูปแบบพิเศษ.
เทคนิคการตรวจสอบกิจการ
นโยบายและแนวทางการเตรียมความพร้อมเพื่อเข้าสู่ประชาคมอาเซียน
ผังทางเดินเอกสาร – ระบบส่งคืนสินค้า
อ.พรพนา ปัญญาสุข วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่ ผู้วิจัย
การจัดทำและการบริหาร งบประมาณรายจ่ายประจำปี นางดรงค์รัตน์ กล้าหาญ
ผลงานจ้างเหมาซ่อมบำรุงรักษาทางรถไฟและอื่นๆ ประจำปี 2560
Day off Afternoon off (shopping) Mon Tues Wed Thur Fri Sat Sun 30/3
การพัฒนาคุณภาพการดูแลรักษาผู้ติดเชื้อเอชไอวี
การจัดบริการ PrEP พญ. นิตยา ภานุภาค ศูนย์วิจัยโรคเอดส์ สภากาชาดไทย
โรคติดเชื้อฉวยโอกาส (Opportunistic infection) จำนวน CD4 ป้องกันได้
ใบสำเนางานนำเสนอ:

PrEP คืออะไร Pre- Exposure Prophylaxis ยาต้านไวรัสเพื่อการป้องกันการติดเชื้อเอชไอวี รูปยา

ข้อมูลเรื่องเพร็พ (PrEP) ต้องกินอย่างน้อยเป็นระยะเวลา 1 สัปดาห์ขึ้นไปจึงจะเริ่มป้องกัน และต้องกินทุกวันในช่วงที่มีความเสี่ยง เพร็พจะเข้าไปสร้างเกราะป้องกันรอบๆ T- cell ซึ่งจะช่วยยับยั้งไม่ให้เชื้อเอชไอวี ที่เข้ามาสามารถแบ่งขยายพันธุ์ในเซลล์ได้

ยาทีโนโฟเวียร์ และยาเอ็มไตรไซทาบีน PrEP ประกอบด้วย ยาทีโนโฟเวียร์ และยาเอ็มไตรไซทาบีน รูปยา

หลักสำคัญในการกิน PrEP กินเพื่อป้องกัน กินทุกวัน (กินวันละเม็ด) กินสม่ำเสมอ เป็นประจำ กินก่อนมีพฤติกรรมความเสี่ยง

ใครควรกิน PrEP คนที่ไม่ได้ใช้ถุงยางอนามัย คนที่เสี่ยงตอการรับเชื้อเอไอวี เช่น ใช้ยาเสพติด หรือมีโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ มีคู่นอนที่เสี่ยงต่อการรับเชื้อเอชไอวี คนที่คู่นอนมีเชื้อเอชไอวี คนที่ไม่รู้ว่าคู่นอนมีเชื้อไอวี รึเปล่า

PrEP ป้องกันได้แค่ไหน ในกลุ่มชายมีเพศสัมพันธ์กับชาย ลดความเสี่ยงต่อการติดเชื้อ ได้ถึง 44% และในกลุ่มนี้ คนที่กินยาสม่ำเสมอ ลดความเสี่ยงได้ถึง 73 – 92 % ในกลุ่มชายหญิงที่มีผลเลือดต่าง ลดความเสี่ยงต่อการติดเชื้อ ได้ถึง 75 % และในกลุ่มนี้ คนที่กินยาสม่ำเสมอ ลดความเสี่ยงได้ถึง 90 %

สิ่งสำคัญที่เราจะเรียนรู้ด้วยกัน การเตรียมตัวเริ่มต้นก่อนเริ่มกินยาเพร็พ การปฏิบัติระหว่างการกินยาเพร็พ การปฏิบัติหากจะหยุดกินยาเพร็พ

การปรึกษาก่อนเริ่มยา ขั้นตอนที่ 1 ทบทวนความเข้าใจเรื่องพฤติกรรมเสี่ยงของผู้รับบริการอีกครั้ง เพื่อคัดกรองระยะตรวจไม่พบการติดเชื้อเอชไอวี (Window Period) และระยะติดเชื้อเฉียบพลัน (Acute HIV Infection) ขั้นตอนที่ 2 ประเมินความเข้าใจและความต้องการอย่างแท้จริงของผู้รับบริการในเรื่อง PrEP รวมทั้งการตัดสินใจรับบริการ PrEP เพื่อการป้องกันการติดเชื้อเอชไอวี ขั้นตอนที่ 3 ประเมินความพร้อมและแรงจูงใจของผู้รับบริการต่อการบริการเรื่อง PrEP รวมทั้งการตัดสินใจรับบริการ PrEP เพื่อการป้องกันการติดเชื้อเอชไอวี ขั้นตอนที่ 4 ประเมินปัญหาหรืออุปสรรคที่อาจเกิดจากการกินยาต้านไวรัสเพื่อการป้องกันเอชไอวีก่อนการสัมผัสเชื้อเอชไอวี หรือขัดขว้างการกินยาอย่างสม่ำเสมอ

ระยะติดเชื้อเอชไอวีเฉียบพลัน (Acute HIV infection) ข้อมูล และคัดกรองระยะตรวจไม่พบการติดเชื้อเอชไอวี (Window Period) ให้ข้อมูลระยะติดเชื้อเฉียบพลัน สอบถามเพื่อระบุวันสุดท้ายที่มีพฤติกรรมเสี่ยงของ ผู้รับบริการ ระบุชนิด/วิธีการตรวจเลือด (HIV test kit) ที่มีผลเลือดเป็นลบครั้งนี้ของ อย่าลืมสอบถาม เพื่อคัดกรองโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์

PrEP เหมาะกับผู้ที่มีความเสี่ยงสูง อย่างต่อเนื่อง ผู้มีคู่ผลเลือดบวก และคู่กาลังรอเริ่มยาต้านเอชไอวีอยู่ หรือคู่ได้ยาต้านเอชไอวีแล้วแต่ยังคงตรวจพบเชื้อไวรัสในเลือดอยู่ ผู้ที่มีคู่ผลเลือดบวก ที่ไม่สามารถใช้ถุงยางอนามัยทุกครั้งเมื่อมีเพศสัมพันธ์ ผู้ที่มาขอรับบริการ PEP อยู่เป็นประจำโดยไม่สามารถลดพฤติกรรมเสี่ยงลงได้ ชายที่มีเพศสัมพันธ์กับชาย ชายหรือหญิงที่ทำงานบริการทางเพศ ผู้ใช้ยาเสพติดชนิดฉีดที่กำลังฉีดอยู่หรือฉีดครั้งสุดท้ายภายใน 3 เดือน ผู้ต้องขังที่เป็นผู้ใช้ยาเสพติดชนิดฉีด ผู้ที่มีโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ภายใน 6 เดือนที่ผ่านมา

PrEP กินยังไง กินวันละ 1 เม็ด ตรงเวลาเดิมทุกวัน กินวันละ 1 เม็ด ตรงเวลาเดิมทุกวัน อย่ากินสองเม็ดในวันเดียวกัน ไม่มีข้อห้ามเรื่องอาหาร อาหารเสริม ฮอร์โมน คอลาเจน เดิมอาหาร

อาการเหล่านี้ จะค่อยๆ หายไป ในเดือนแรก อาการข้างเคียง ปวดหัว ปวดท้อง อาเจียน เบื่ออาหาร อาการเหล่านี้ จะค่อยๆ หายไป ในเดือนแรก

ผลข้างเคียงของการกินเพร็พ อาการข้างเคียง ได้แก่ อาการคลื่นไส้ พบใน 1 ใน 10 ของคนที่กินเพร็พ และอาการจะดีขึ้นจนเป็นปกติ ภายในระยะเวลา 3-5 สัปดาห์ หลังเริ่มยา อาจมีภาวะมวลกระดูกที่บางลง และจะกลับสู่ภาวะปกติหลังหยุดยา อาการผิดปกติการไต โดยวัดการเพิ่มขึ้นของ Cr พบประมาณ 1 ใน 200 หากพบความผิดปกติ และหยุดกินยา อาการผิดปกติทางไตจะกลับสู่ภาวะปกติได้ การใช้ยา PrEP ในชีวิตจริง หากยังมีพฤติกรรมเสี่ยงต่อเนื่อง และใช้ยาระยะยาว จะต้องมีการติดตาม และเฝ้าระวังผลข้างเคียง

วิธีการเตือนความจำ จัดตารางกินยา ใช้เครื่องช่วยเตือน ใช้ปฏิทิน ใครเตือนดีที่สุด เช่น แฟน

สิ่งที่ควรรู้เกี่ยวกับ PrEP ไม่ป้องกัน โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ เช่น เริม ซิฟิลิส หนองใน รักษา ไวรัสตับ อักเสบบี ใช้ถุงยางอนามัย ทุกครั้งเมื่อมี sex

หลักในการกินเพร็พ กินอย่างไรให้ป้องกันได้ผล กินก่อน 1 สัปดาห์ และกินประจำทุกวันในช่วงมีพฤติกรรมเสี่ยง! จะได้ผลสูงสุดในการป้องกัน ใช้เพร็พร่วมกับถุงยางอนามัย ป้องกันได้ทั้งเอชไอวีและโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ กินเพร็พเมื่อผลเอชไอวีเป็นลบเท่านั้น ถ้าผลเลือดบวกต้องเปลี่ยนไปกินยาต้านไวรัสเพื่อการรักษาแทน เพร็พต้องกินสม่ำเสมอ จะได้ผลดีต้องกินทุกวัน (กินวันละเม็ด)

ประสิทธิผลของเพร็พในการป้องกัน ประสิทธิผลของเพร็พขึ้น อยู่กับความถูกต้องและความสม่ำเสมอในการกินยา จากการศึกษาวิจัยในโครงการ i-PrEX พบว่า ในกลุ่มในกลุ่มชายที่มีเพศสัมพันธ์กับชาย ที่กินเพร็พสม่ำเสมออย่างต่อเนื่อง พบประสิทธิผลสูงถึง 92%

ข้อมูลที่สำคัญเกี่ยวกับ PrEP

ต้องทำอย่างไร ถึงจะได้กิน PrEP มาตรวจเอชไอวี ตรวจอื่นๆ เช่น ไวรัสตับอักเสบ ตรวจการทำงานของไต ศึกษาข้อมูล PrEP รับคำปรึกษา การกิน PrEP อย่างถูกวิธี รับคำปรึกษาในการใช้ถุงยางอนามัย

การป้องกันการติดเชื้อเอชไอวีก่อนการสัมผัส (PrEP) ร่วมกับการป้องกันอื่น ได้แก่ การใช้ถุงยางอนามัย การลดความเสี่ยงจากการใช้เข็มไม่สะอาด ฯลฯ