วิลเฮล์ม คอนราด เรินต์เกน Wilhelm Conrad Röntgen จัดทำโดย น.ส.ณิชกานต์ ศรีบัวคลี่ ม.4.3 เลขที่ 16
ประวัติ วิลเฮล์ม คอนราด เรินท์เกน เป็นชาวเยอรมัน เกิดเมื่อวันที่ 27 มีนาคม พ.ศ. 2388 ในตำบลเลนเนป (Lennep) ประเทศเยอรมันนี
8 พฤศจิกายน ขณะที่เขาทำการทดลอง ต่อหลอดคาโทดดังกล่าวอยู่ ในห้องมืด โดยใช้แผ่นกระดาษการ์ดดำ ปิดกั้นหลอดคาโทดไว้ ศาสตราจารย์เรินท์เกน ได้สังเกตเห็น กระดาษการ์ดแผ่นหนึ่ง ซึ่งเคลือบด้วยสารประกอบ ของสารเรืองแสง บาเรียมพลาตินา ไซยาไนด์ เรืองแสงออกมา และทำการตรวจสอบสิ่งที่อุบัติขึ้นในทันที และเขาก็สรุปได้ว่า ขณะที่เปิดกระแสไฟ ให้หลอดคาโทดนั้น มีรังสีที่มองไม่เห็น หรือ รังสีเอกซ์
ศาสตราจารย์เรินท์เกน ได้ขอเกษียณอายุจากมหาวิทยาลัยในปี พ. ศ ศาสตราจารย์เรินท์เกน ได้ขอเกษียณอายุจากมหาวิทยาลัยในปี พ.ศ.2463 หลังจากภรรยาคือ เบอร์ธา ได้ถึงแก่กรรม ในปีก่อนหน้านั้น และในที่สุด พณฯ ราชบัณฑิต ศาสตราจารย์ ดร.วิลเฮล์ม คอนราด เรินท์เกนก็ถึงแก่นิจกรรมเมื่อ วันที่ 10 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2466 รวมอายุได้ 78 ปี
ศาสตราจารย์เรินท์เกน ได้รับรางวัลมากมายเช่นบัณฑิตกิติมศักดิ์ 6 ปริญญา ได้รับเหรียญและรางวัลเชิดชูเกียรติ 16 ครั้ง ได้รับเครื่องราชอิสริยาภรณ์ต่าง ๆ 12 รายการ เป็นราษฎรกิติมศักดิ์ 2 เมือง และมีชื่อเป็นถนนในเมืองต่าง ๆ อย่างน้อย 6 เมือง นอกจากนั้นยังเป็นบุคคลแรก ที่ได้รับรางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์ อีกด้วย โดยเรินท์เกนได้เดินทางไปรับรางวัลทรงเกียรตินี้ ด้วยตัวเอง ณ ราชสมาคมแห่งสติกโฮล์ม เมื่อวันที่ 10 ตุลาคม พ.ศ.2444
คนมีเงินก็มีสิทธิเป็นนักวิทยาศาสตร์ที่ดีได้ ไม่ใช่เฉพาะคนจนเท่านั้น “if was not necessary to be poor to be a scientist”