มาตรฐานการทำงานเพื่อความเป็นเลิศในงานโลจิสติกส์ Logistics Standard Best Practice เอกสารประกอบการปาฐกถาพิเศษ กรมส่งเสริมการค้าระหว่างประเทศ, กระทรวงพาณิชย์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
บทที่ 3 การบริหารพนักงานขาย
Advertisements

บทที่ 1 ภาพรวมของการสอบบัญชี
คำถามตามเกณฑ์ PMQA:105คำถาม หมวด1 12คำถาม.
วิชา หลักการตลาด บทที่ 3
ผู้วิจัย นายไพรัตน์ ลิ้มปองทรัพย์ วิทยาลัยเทคโนโลยีตั้งตรงจิตรพณิชยการ เลขที่ 2 ถนนมหาราช แขวง พระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร ความคิดเห็นเกี่ยวกับคุณลักษณะ.
ชื่อเรื่อง : ศึกษาผลการจัดการเรียนรู้ ในรายวิชาการบัญชีบริหาร ด้วยวิธีการเรียนรู้แบบกลุ่มคละผลสัมฤทธิ์ STAD ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโดยใช้สถานการณ์จำลองการวางแผนงบประมาณในธุรกิจการผลิตเฟอร์นิเจอร์
- 2 - แผนภูมิแสดงความเชื่อมโยงยุทธศาสตร์การจัดสรรงบประมาณ ผลผลิต และงบประมาณปี พ.ศ.2555 กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ ตามระบบการจัดทำงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานตามยุทธศาสตร์
ไทยกับการส่งเสริม CLC’s ในประเทศเพื่อนบ้าน
ผลการปฏิบัติราชการ ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ กรมอนามัย ปีงบประมาณ พ
ระบบคุ้มครองผู้บริโภค ด้านสุขภาพ (ปรับปรุง )
กระบวนการถ่ายทอดความรู้
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
การกำหนดตำแหน่งการพัฒนาของอำเภอ (Positioning)
สำนักงานเลขานุการ สำนักวิทยบริการ. ยุทธศาสตร์ที่ 1 โครงการจัดหาวัสดุ ตำรา วารสาร ฐานข้อมูล เพื่อ ให้บริการในสำนักวิทยบริการ การพัฒนานำระบบ RFID มาใช้ในการจัดชั้น.
สำนักประสานและติดตามนโยบาย สำนักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี
ศูนย์พัฒนา เด็กเล็ก เทศบาล ตำบลปัว ยินดี ต้อนรับ ยินดี ต้อนรับ.
หลักสูตรการอบรมวิทยากรตัวคูณ ระดับจังหวัด ครั้งที่ 1 ภาคกลางตอนบน ( วันที่สอง ) ณ โรงแรมริชมอนด์ จังหวัดนนทบุรี ระหว่างวันที่ 9 – 11 มีนาคม 2558.
ข้อที่เกณฑ์การประเมินการดำเนินงาน ข้อ 1 พัฒนาแผนกลยุทธ์จากผลการวิเคราะห์ SWOT โดยเชื่อมโยงกับวิสัยทัศน์ของคณะและ สอดคล้องกับวิสัยทัศน์ของคณะ สถาบัน.
โดย นายแพทย์ณัฐพร วงษ์ศุทธิภากร รองอธิบดีกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข “เรียนรู้ สิ่งแวดล้อม สร้างสรรค์” นโยบายการดำเนินงานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม กรมอนามัย.
แผนยุทธศาสตร์การคุ้มครองผู้บริโภคแห่งชาติ ฉบับที่ 1 (พ.ศ )
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
หน่วยที่ 1 ข้อมูลทางการตลาด. สาระการเรียนรู้ 1. ความหมายของข้อมูลทางการตลาด 2. ความสำคัญของข้อมูลทางการตลาด 3. ประโยชน์ของข้อมูลทางการตลาด 4. ข้อจำกัดในการหาข้อมูลทาง.
มาตรฐานบังคับ (Official Standard)
การพัฒนาคุณภาพชีวิตในการทำงาน (Quality of Work Life)
การเพิ่มประสิทธิภาพ ระบบบริหารจัดการความเสี่ยง
ระบบ ISO 9001:2015 สำหรับธุรกิจบริหารจัดการเรือ
มาตรฐานระบบการบริหารงานคุณภาพ
หลักสูตรอาเซียน เพื่อสร้างประชาคมอาเซียน ให้เป็นประชาคมที่มุ่งเน้น การปฏิสัมพันธ์กับต่างประเทศ มีความมั่นคง มีสันติภาพ และมีความมั่งคั่ง.
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การ
(ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี พ.ศ –2579)
Presentation การจัดการข้อร้องเรียนในธุรกิจบริการ Customer Complaint Management for Service.
เรื่องที่ประธานแจ้งให้ที่ประชุมทราบ
บทที่ 8 การควบคุมโครงการ
แพทย์หญิงวันทนีย์ วัฒนะ ผู้อำนวยการสำนักอนามัย
กรณีศึกษา : นักเรียน ระดับ ปวช.2 สาขาวิชาการบัญชี
ระเบียบวาระที่ 3 เรื่องเพื่อทราบ
โดย ศรีปัญญา ม่วงเพ็ชร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
ยินดีต้อนรับ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงาน (พลเอก สุรศักดิ์ กาญจนรัตน์) และคณะ ในโอกาสตรวจเยี่ยมจังหวัดตาก วันที่ กรกฎาคม 2558.
การประเมินผลการปฏิบัติงาน
แผนการขายลูกค้า SMEs พื้นที่ บน.3.1 ขบน ก.พ
ผลการดำเนินงาน การบริหารจัดการประเมิน และดูแลผู้ป่วยก่อนกลับเข้าทำงาน
รศ. ทวีศักดิ์ สูทกวาทิน สมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ
ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จขององค์กรปกครอง
ข้อเสนอต่อการพัฒนา ระบบการสร้างเสริมสุขภาพ ของประเทศไทย
ปี 2560 ปฏิทินการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส
“Thailand’s Sustainable Business” ณ โรงแรมเชอราตัน แกรนด์ สุขุมวิท
YRC LANNA LOCAL WISHDOM
สัมมนาเชิงปฏิบัติการหลักสูตรการฝึกยกระดับฝีมือแรงงาน
ผู้ประกอบการโลจิสติกส์ในเขตปลอดอากร นักตรวจสอบภาษีชำนาญการพิเศษ
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การ
การวัดพฤติกรรมทางด้านทักษะพิสัย
การวิเคราะห์ข้อมูล การท่องเที่ยว เพื่อทบทวนยุทธศาสตร์จังหวัด
โซ่อุปทานและโลจิสติกส์ ญาลดา พรประเสริฐ คณะวิทยาการจัดการ
ทิศทางการดำเนินงานลดโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD)
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 สรุปบทเรียน และแนวทางการนำไปใช้
“ความร่วมมือในการขับเคลื่อนงาน คสจ. และ พชอ.”
การวิเคราะห์ข้อมูล การท่องเที่ยว เพื่อทบทวนยุทธศาสตร์จังหวัด
กรมอาเซียน กระทรวงการต่างประเทศ
ISO ย่อมาจาก International Organization for Standardization คือ องค์การมาตรฐานสากล หรือองค์การระหว่างประเทศว่าด้วยการมาตรฐาน เป็นองค์กรที่ออกมาตรฐานต่างๆ.
การเปลี่ยนแปลงประมาณการทางบัญชี และข้อผิดพลาด
โครงการ เพิ่มประสิทธิภาพการผลิต
Supply Chain Management
อ.ชิดชม กันจุฬา (ผู้สอน)
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
มารู้จักและมีส่วนร่วมในกิจกรรม CSR ของ สศช. กันเถอะ
อ. อรนพัฒน์ เหมือนเผ่าพงษ์ สาขาวิชาการจัดการโรงแรมและธุรกิจที่พัก
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
“อนาคตการสื่อสารไทย โฉมหน้าใหม่ กสทช. ในร่างรัฐธรรมนูญ”
MTRD 427 Radiation rotection - RSO
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

มาตรฐานการทำงานเพื่อความเป็นเลิศในงานโลจิสติกส์ Logistics Standard Best Practice เอกสารประกอบการปาฐกถาพิเศษ กรมส่งเสริมการค้าระหว่างประเทศ, กระทรวงพาณิชย์ โดย ดร.ธนิต โสรัตน์ ประธานกรรมการกลุ่มบริษัท V-SERVE Group อดีตรองประธานสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย วันที่ 13 มีนาคม 2562 1 / 10

ความสำคัญของการมีมาตรฐานสากลในงานโลจิสติกส์ เศรษฐกิจดิจิทัลเป็นทั้งโอกาสและหายนะของธุรกิจ เกี่ยวข้องกับขีดความสามารถในการแข่งขันเพื่อตอบสนองรูปแบบความต้องการและธุรกรรมการค้าที่แตกต่างไปจากเดิม ความจำเป็นของการปรับเปลี่ยนรูปแบบธุรกิจ การมีสถาปนาระบบมาตรฐานการทำงานและคู่มือการทำงานซึ่งเป็นที่ยอมรับจะเสริมสร้างความเชื่อมั่นและเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันอย่างยั่งยืน ผู้ให้บริการโลจิสติกส์เป็นธุรกิจที่มีความอ่อนไหวต่อความเปลี่ยนแปลง เนื่องจากกิจกรรมเกี่ยวข้องช่วงรอยต่อของโซ่อุปทานการผลิต เกี่ยวข้องกับการเชื่อมโยงกับอุตสาหกรรมต่างๆและผู้ให้บริการจำนวนมากที่อยู่ในโซ่อุปทานซึ่งต่างมีมาตรฐานการทำงานและรูปแบบการเชื่อมโยงธุรกรรมที่แตกต่างกัน กุญแจแห่งความสำเร็จ จะต้องมีมาตรฐานซึ่งมีความเป็นสากลและเป็นที่ยอมรับร่วมกันของธุรกิจต่างๆ ที่อยู่ในโซ่อุปทานที่เป็นเอกภาพและจะต้องมีการยกระดับไปสู่การปฏิบัติการเป็นเลิศหรือ “Best Practice” ความท้าทายของการก้าวผ่านของผู้ให้บริการโลจิสติกส์ของไทย ซึ่งส่วนใหญ่ยังมีความอ่อนแอขาดความเป็นมืออาชีพในการทำงานระดับนานาชาติ จำเป็นที่จะต้องยกเครื่องปรับเปลี่ยนรูปแบบธุรกิจให้สอดคล้องกับการแข่งขันที่ใช้ นวตกรรมและเทคโนโลยีเป็นตัวขับเคลื่อน www.tanitsorat.com 2 / 10

ขั้นตอนการสตาร์ทอัพระบบมาตรฐานในองค์กร เริ่มจากผู้ประกอบการ-ผู้บริหาร จะต้องมีวิสัยทัศน์เห็นโอกาสและภัยคุกคามที่จะมาจากกับการเปลี่ยนแปลงจากเศรษฐกิจดิจิทัลซึ่งรูปแบบความต้องการและเชื่อมโยงทางธุรกรรมการค้าที่ซับซ้อนภายใต้ข้อจำกัดและกฎเกณฑ์ทางการค้าที่อิงกับราคา จำเป็นที่จะต้องมีระบบมาตรฐานเป็นที่ยอมรับด้วย นโยบายมาตรฐานคุณภาพในองค์กรเป็นสิ่งที่จำเป็น ด้วยการสถาปนาระบบการทำงานมาตรฐานที่เป็นสากลสำหรับงานโลจิสติกส์ในด้านต่างๆ ซึ่งแต่ละบริษัทอาจแตกต่างกันขึ้นอยู่กับลักษณะของธุรกิจหรือลูกค้าหลัก ความท้าทายของการปรับเปลี่ยนความคิดและพฤติกรรมของคนในองค์กร เกี่ยวข้องกับความสามารถในการชักจูงให้ทีมงานและพนักงานมีความเข้าใจถึงการมีมาตรฐานสากลและคู่มือการทำงานที่จะต้องมีในองค์กรเป็นความสำคัญอันดับต้นๆ กระบวนการถ่ายทอดทักษะเพื่อความยั่งยืน ของพนักงานในองค์กรจากรุ่นไปสู่อีกรุ่น คนในองค์กรมีการเข้าออกจึงจำเป็นที่จะต้องมีความต่อเนื่องของการถ่ายทอดองค์ความรู้อย่างเป็นระบบด้วยการใช้ “Mentor & Coach” เป็นเครื่องมือ www.tanitsorat.com 3 / 10

ขั้นตอนการสตาร์ทอัพระบบมาตรฐานในองค์กร การแปลงมาตรฐานให้เป็นระบบปฏิบัติการเป็นเลิศ ด้วยการปฏิบัติงานจริงและทำซ้ำจนเกิดความเคยชินกลายเป็นระบบปฏิบัติการที่เป็น “Best Practice” ความยั่งยืนคือจะทำให้คนในองค์กรยอมรับและกลายเป็นส่วนหนึ่งของวัฒนธรรมองค์กร มาตรฐานต้องเหนือกว่าคู่แข่ง ระบบมาตรฐานการทำงานที่องค์กรมีอยู่ต้องเหนือกว่าคู่แข่งขันอย่างน้อยหนึ่งก้าวเสมอ เพราะหากเท่ากับคู่แข่งมาตรฐานดังกล่าวก็ไม่ได้ทำให้องค์กรมีขีดความสามารถในการแข่งขันที่ดีกว่า มาตรฐานสากลสร้างมูลค่าเพิ่มทางธุรกิจ สามารถใช้เป็นเครื่องมือทางด้านการตลาดและความน่าเชื่อถือขององค์กร www.tanitsorat.com 4 / 10

การเชื่อมโยงมาตรฐานในงานบริการโลจิสติกส์ Manufacturing Standard มาตรฐานผลิตภัณฑ์ และอุตสาหกรรม Products & Manufacturing Standard - มาตรฐานคุณภาพและการรับประกัน (ISO Standard DIN/ JIS/ EU/ BS) (Incoterms Standard) (Working Standard Connectivity) www.tanitsorat.com 5 / 10

ตัวอย่าง : ระบบมาตรฐานของธุรกิจผู้ให้บริการโลจิสติกส์ ISO 9001 : 2015 เป็นมาตรฐานสากลการทำงานคุณภาพในงานโลจิสติกส์ เกี่ยวข้องกับซัพพลายเชนด้านต่างๆ ISO 20008 (2007) มาตรฐานความปลอดภัยของโซ่อุปทาน Q-Mark Transport เป็นมาตรฐานคุณภาพบริการขนส่งด้วยรถบรรทุกเป็นการประเมินตนเองตามข้อกำหนด AEO (Authorized Economic Operator) เป็นมาตรฐานขององค์กรศุลากรโลก (WCO) กำหนดให้ผู้นำเข้า-ส่งออก ธุรกิจตัวแทนออกของและผู้ให้บริการโลจิสติกส์จะต้องมีมาตราฐานความปลอดภัยของกิจกรรมต่างๆในโซ่อุปทาน BCM (Business Continuity Management) มาตรฐานการมีระบบและคู่มือปฏิบัติงานภายใต้ความต่อเนื่องทางธุรกิจกำหนดไว้ในมาตรฐาน ISO 22301 : 2012 BSCI (Business Social Compliance Initiative) ระบบตรวจสอบมาตรฐานทางสังคมของธุรกิจที่เกี่ยวข้องกับการทำงาน HRCI : Standards Of Competence เป็นมาตรฐานอาชีพระดับสากลซึ่งสถาบันคุณวุฒิวิชาชีพ (องค์กรมหาชน) เป็นผู้กำหนดมาตรฐานและการสอบเทียบเพื่อให้ได้รับมาตรฐานระดับสมรรถนะของบุคคลที่ทำงานในแต่ละอาชีพ www.tanitsorat.com 6 / 10

ตัวอย่าง : มาตรฐานที่เกี่ยวข้องกับงานขนส่ง (Logistics Service Standard) การส่งมอบตรงเวลาเข้าไลน์การผลิตซึ่งความผิดพลาดต้องเป็นศูนย์ (Lean Automation) การขนส่งสินค้าเคมี-สารไวไฟ และสินค้าอันตรายประเภทต่างๆ การขนส่งสินค้าควบคุมอุณหภูมิพิเศษ และสินค้าเน่าเสียง่ายหรือสินค้ามีชีวิต การขนส่งสินค้าอ่อนไหวเสียหายง่ายหรือมีเครื่องวัดการสั่นสะเทือน (Sensitive & Vibration Meter) การขนส่งสินค้าที่ต้องใช้เครื่องมือพิเศษในการขนถ่ายขึ้น-ลง การขนส่งสินค้าฮาลาล (Halal Logistics) การขนส่งสินค้าขนาดใหญ่พิเศษที่ต้องใช้พาหนะพิเศษรวมถึงสำรวจเส้นทางก่อนปฏิบัติงาน การขนส่งสินค้าผ่านแดนและข้ามแดน (Transit & Cross border Transport) การปฏิบัติการขนส่งลดมลพิษและโลจิสติกส์ที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม มาตรฐานความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินด้านขนส่ง (Safety Standard Transport) มาตรฐานและเทคโนโลยีติดตามสถานะขนส่งทั้งระหว่างการส่งมอบและข้อมูลย้อนหลัง www.tanitsorat.com 7 / 10

ตัวอย่าง : มาตรฐานระดับนานาชาติ (International Standard) มาตรฐานภาพลักษณ์ขององค์กร (Corporate Image) เป็นภาพลักษณ์ของสินค้าและองค์กรธุรกิจ (Consumers Image) มาตรฐานความต่อเนื่องธุรกิจและบริหารความเสี่ยง (BCP & Risk Management) มาตรฐานและสุขอนามัย (FDA / HACCP / Organic / GAP) มาตรฐานด้านศาสนา (Halal) มาตรฐานบังคับ/ กรมประมง/ กระทรวงพาณิชย์/ สมอ./ กระทรวงอุตสาหกรรม ฯลฯ มาตรการด้านสิ่งแวดล้อม เช่น IUU Fishing / WEEE : Waste From Electronic / Carbon Footprint มาตรฐานด้านการค้ามนุษย์ / Human Trafficking (TIER 3) มาตรฐานด้านสิทธิมนุษยชนและแรงงาน (Human Right & ILO) มาตรฐานป้องกันการก่อการร้าย (C-TPAT:Customer and Trade Partnership Against Terrorism) มาตรฐานด้านทรัพย์สินทางปัญญา / Intellectual Right มาตรฐานที่ไม่ใช่ภาษีระหว่างประเทศ (NTMs) www.tanitsorat.com 8 / 10

กุญแจแห่งความสำเร็จของธุรกิจภายใต้เศรษฐกิจดิจิทัล การเปลี่ยนแปลงให้สอดคล้องกับสภาวการณ์และรูปแบบธุรกิจใหม่ของยุค 4.0 รูปแบบธุรกรรมขององค์กรต้องสามารถเชื่อมโยง ปฏิสัมพันธ์ในโซ่อุปทานแบบไร้รอยต่อ การปฏิบัติการเป็นเลิศ (Logistic Best Practice) เป็นจุดแข็งเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน การมีมาตรฐานเป็นการสร้างความเชื่อมั่นและธุรกิจ ที่ยั่งยืน มีการถ่ายทอดที่ต่อเนื่องจนกลายเป็นส่วนหนึ่งของวัฒนธรรมองค์กร www.tanitsorat.com 9 / 10

จบการนำเสนอ สามารถสแกนด้วยมือถือ PDF : มาตรฐานการทำงานเพื่อความเป็นเลิศในงานโลจิสติกส์ POWERPOINT : มาตรฐานการทำงานเพื่อความเป็นเลิศในงาน โลจิสติกส์ สามารถติดตามบทความอื่นๆ ได้ที่ช่องทาง Tanit Sorat tanitvsl www.tanitsorat.com www.tanitsorat.com 10 / 10