วิเคราะห์หลุมบนดวงจันทร์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
จุดบนดวงอาทิตย์ ( Sunspots )
Advertisements

นิยามดาวเคราะห์ ดาวเคราะห์ (Planet) หมายถึงเทห์วัตถุที่มีสมบัติ ดังต่อไปนี้ครบถ้วน (ก) โคจรรอบดวงอาทิตย์ (ข) มีมวลมากพอที่แรงโน้มถ่วงของดาว.
ดาวเคราะห์แคระ (Dwarf planet)
การกำหนดขนาดของรูปภาพ การใช้รูปภาพเป็น Background
คลังความรู้สำนักชลประทานที่ 17
แผนการดำเนินงานของทีม บริหาร ด้านการพัฒนาคุณภาพ 1.
การจัดการความรู้ทางการแพทย์ ในโรงพยาบาลราชวิถี
Putting Knowledge in the Flow of Work
Department of Informatics, Phuket Rajabhat University. THAILAND
Scale: O 2 4 km N อ. จะ นะ (2) (1) (3) (4) (5) (6) ตำแหน่งที่ NO x สูงสุด (ug/m 3 ) สัญลักษณ์ จุดเก็บตัวอย่างอากาศ และเสียง (1) บ้านตลิ่งชัน (2) บ้านในไร่
การจัดการเรียนรู้ด้วยการบริการสังคม ในรายวิชาศึกษาทั่วไป
บทที่ 2 จัดการ header footer content
1. ภาวะ ผู้นำ วิสัยทัศน์ เป้าหมาย พันธกิจ ยุทธศาส ตร์ 1) วิเคราะห์ สังเคราะห์ (SWOT) 2) กำหนดวิสัยทัศน์, พันธกิจ 3) นวัตกรรม BSC, KM 4) การมีส่วนร่วม.
โครงการการจัดทำหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เรื่องประวัติบุคคลสำคัญของมหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ อาจารย์ ดร. ไสว สุทธิพิทักษ์ อาจารย์สนั่น เกตุทัต.
เปิดประชุมเวลา น. รายชื่อผู้เข้าประชุม.
1. 2 สรุปผลการดำเนินงานของคณะทำงานพัฒนา คุณภาพ / วิชาการและงานวิจัย เขตสุขภาพที่ 11 ปีงบประมาณ
Testing & Assessment Plan Central College Network I.
KM (Knowledge Management
1. ตระหนักในคุณค่าของ คุณธรรมจริยธรรม
ที่สหกรณ์สมควรจัดให้แก่สมาชิก
ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด กองทัพอากาศ ทุ่งสีกัน
ศูนย์ส่งเสริมและพัฒนาอาชีวศึกษา ภาคตะวันออก
Strategy Map สำนักงานสรรพากรภาค 3
พ.ท.หญิง ญาติมา คุณวัฒน์
ยุทธศาสตร์กองทุนพัฒนาบทบาทสตรี พ.ศ
โครงการชลประทานยโสธร สำนักงานชลประทานที่ 7
โรงเรียนธนรัตน์วิทยา
ความหมายและความสำคัญของสื่อมัลติมีเดีย
 เทคโนโลยีอวกาศ หมายถึง ระเบียบการนำความรู้ เครื่องและวิธีการต่างๆทางวิทยาศาสตร์มาปรับใช้ให้เหมาะสมกับการศึกษาทางด้านดาราศาสตร์  และ อวกาศ  ตลอดจนสามารถนำมาประยุกต์ใช้ให้สอดคล้องกับทรัพยากรธรรมชาติ 
การเก็บคะแนน 100 คะแนน ก่อนกลางภาค 30 คะแนน สมุดจด.
การจัดการองค์ความรู้
ระบบสุริยะ (Solar System)
ดาวบาร์นาร์ด.
8 แนวทางเพื่อบรรลุเป้าหมายธุรกิจที่มี CSR
แผนพัฒนาการเกษตรของสำนักงานเกษตรอำเภอบางปะหัน ปี 2560
ผลการดำเนินงานระบบการแพทย์ฉุกเฉิน จังหวัดสงขลา
การจำแนกประเภทกาแล็กซี
การจัดการความรู้ (Knowledge Management)
ข้อพึงระวังในการปฏิบัติงาน
ทิศทางการบริหารงานกองทุนสิ่งแวดล้อม ภายใต้นโยบาย Thailand 4.0
ถ้าคิดว่าคุณแน่ อย่าแพ้เรานะ
By Poonyaporn Siripanichpong
การเข้าสู่ตำแหน่งที่สูงขึ้น (ชำนาญการ)
KM Day กองแผนงาน ระบบแผนงาน Online 12 กันยายน 2557
กลุ่ม 2 เทคนิคการบริหารหลักสูตรสู่ความเป็นเลิศ
ตัวชี้วัด 2.5 ระดับความสำเร็จของหน่วยงาน มีผลงาน วิจัย/R2R/KM ที่ถูกนำไปใช้ประโยชน์อย่างน้อย 1 เรื่อง ทันตแพทย์หญิงสุณี วงศ์คงคาเทพ ทันตสาธารณสุขทรงคุณวุฒิ(ด้านทันตสาธารณสุข)
โครงการชลประทานมุกดาหาร สำนักงานชลประทานที่ 7
ปัญหาการเบิกจ่ายเงินงบประมาณ
หมวด 7 ผลลัพธ์การดำเนินการ
ความก้าวหน้าการขับเคลื่อน งานวิชาการและนวัตกรรม กรมอนามัยปี ๒๕๖๑
กับ National Schools’ Observatory
หมวด 6.2 กระบวนการสนับสนุน
คำแนะนำจากส่วนส่งเสริมและบริการการศึกษา
ระบบความรับผิดทางละเมิดและแพ่ง
การจัดการความรู้ กรมชลประทาน Knowledge management (KM)
การวัดวิเคราะห์และการจัดการความรู้
จุดบนดวงอาทิตย์.
คะแนนประเมินตามระบบ SEPA
Why’s KM ?.
การสร้างและการบริหารเครือข่าย (เครือข่ายภาครัฐต่อต้านการทุจริต)
ระบบสุริยะ (Solar System)
วันพฤหัสบดีที่ 22 ตุลาคม พ.ศ ณ ห้องประชุมย่อยศูนย์สถานการณ์น้ำ
แนวปฏิบัติที่ดีในการเพิ่มประสิทธิภาพ การทำบัตรประจำตัวนักศึกษาใหม่
โรงพยาบาลจันทรุเบกษา
รายงานผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ระดับหลักสูตร ปีการศึกษา 2558
วัดความสูงของภูเขาบนดวงจันทร์
สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว
เซอร์ ไอแซค นิวตัน Isaac Newton
Presenter: Tanya Lawless, ESOL Teacher
การจัดการความรู้ เรื่อง การเขียนบทความวิจัยให้มีคุณภาพ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

วิเคราะห์หลุมบนดวงจันทร์ โดยใช้ข้อมูลจาก Liverpool Telescope

ภารกิจ ภารกิจต่อไปนี้ จะให้นักเรียนได้สังเกตภาพถ่ายของดวงจันทร์โดยละเอียด เพื่อที่จะระบุว่าความหนาแน่น ขนาด และรูปร่างของหลุมอุกกาบาตบนดวงจันทร์นั้นมีความแตกต่างกันอย่างไรตามแต่ละส่วนของพื้นผิวดวงจันทร์

ภารกิจ - อภิปราย ถึงแม้ว่าจะมีวิธีอื่นที่จะวัดขนาด ความหนาแน่น และความสว่างของวัตถุที่อยู่บนพื้นผิวดวงจันทร์ เช่น โดยข้อมูลจากเรดาร์ของดาวเทียมที่โคจรรอบดวงจันทร์ วิธีที่เราใช้ในที่นี้ จะเป็นวิธีอย่างง่ายๆ ที่เราสามารถทำได้ โดยเครื่องมือที่เรามีอยู่ในห้องเรียน

ข้อมูลพื้นหลัง ดวงจันทร์เป็นเพื่อนบ้านที่ใกล้เราที่สุดในอวกาศ และเป็นวัตถุท้องฟ้าเพียงวัตถุเดียวที่เราสามารถเห็นรายละเอียดของพื้นผิวได้ด้วยตาเปล่า หากเราสังเกตอย่างละเอียด เราจะพบว่าพื้นผิวของดวงจันทร์นั้นไม่ได้ราบเรียบ แต่เต็มไปด้วยบริเวณที่มืดและสว่างมากมาย เทือกเขา และหลุมอุกกาบาตนับหลายพันหลุม ในกิจกรรมนี้ เราจะมาศึกษาข้อมูลจากภาพถ่ายดวงจันทร์ที่บันทึกเอาไว้โดย Liverpool Telescope และพยายามกะปริมาณรายละเอียดบนพื้นผิวเหล่านี้

เฟสของดวงจันทร์ เมื่อเราสังเกตดวงจันทร์เต็มดวง ดวงอางทิตย์จะอยู่ข้างหลังเรา และแสงอาทิตย์จะตกลงพื้นผิวดวงจันทร์โดยตรง ทำให้เรามองเห็นรายละเอียดของหลุมอุกกาบาตโดยเฉพาะในบริเวณที่สว่างได้ค่อนข้างยาก อย่างไรก็ตาม เมื่อดวงจันทร์อยู่ในช่วงใกล้เคียงกับจันทร์ครึ่งดวง (ขึ้น 8 ค่ำ หรือแรม 8 ค่ำ) หลุมบนดวงจันทร์จะสามารถสังเกตได้ง่ายกว่าจากเงาที่ทอดยาวไปตามพื้นผิวของดวงจันทร์ ทำให้พื้นผิวของดวงจันทร์ดูเป็นสามมิติมากขึ้น

The planet Mercury ©NASA ทำนายผล ถ้าเราศึกษาภาพของดาวเคราะห์ดวงเล็กๆ เช่น ดาวพุธ (ภาพทางขวา) เราอาจจะคิดว่าพื้นผิวของดาวเคราะห์หินควรจะมีหลุมอุกกาบาตกระจายอยู่ทั่วไปอย่างเท่าเทียมกันทั่วทุกบริเวณ เพราะว่าดาวเคราะห์น้อยที่ทำให้เกิดหลุมอุกกาบาตขนาดใหญ่ควรจะมีการกระจายตัวอยู่ทั่วไปในระบบสุริยะ ในช่วงที่มีการชนกันบ่อยครั้ง และถ้าหากต้นเหตุที่ทำให้เกิดหลุมอุกกาบาตมีการกระจายตัวอย่างเท่ากันแล้ว เราก็อาจจะคิดว่าหลุมอุกกาบาตก็ควรจะมีการกระจายตัวอยู่อย่างเท่าเทียมกันเช่นกัน The planet Mercury ©NASA

สิ่งที่ต้องทำ - การวิเคราะห์พื้นผิว งานของเราก็คือ เลือกพื้นที่บนดวงจันทร์สักสองสามบริเวณเพื่อทำการศึกษา เริ่มโดยการทำการวัด และบันทึกสิ่งที่พบเห็น เราจะสามารถระบุความแตกต่างระหว่างบริเวณที่เลือกมาได้

การประกอบโมเสคดวงจันทร์ เราจะต้องทำการรวมโมเสคของดวงจันทร์ขนาดใหญ่ที่รวมภาพถ่ายดวงจันทร์กว่า 20 ภาพ เพื่อที่เราจะได้เลือกบริเวณของดวงจันทร์ที่จะทำการศึกษา ภาพถ่ายเหล่าได้นี้ได้ทำการเปลี่ยนให้อยู่ในรูปของไฟล์ JPEG เป็นที่เรียบร้อยแล้ว เราสามารถที่จะปริ๊นท์มันออกมาและนำมาเรียงต่อกันได้ในลักษณะเดียวกับจิ๊กซอว์ สังเกตว่าแต่ละภาพจะมีการเหลื่อมกันเล็กน้อยเพื่อให้การต่อกันเป็นไปได้ราบรื่นยิ่งขึ้น

โมเสคดวงจันทร์ เอาไฟล์ moonmap.jpg ที่ให้มาเพื่อพิจารณาว่าแต่ละส่วนของไฟล์ JPEGs ในโมเสคควรจะอยู่ในบริเวณใด

ขนาดของหลุมที่ใหญ่ที่สุด (ซม.) ทำการวัดค่า หลังจากที่เราได้ประกอบโมเสคเป็นที่เรียบร้อยแล้ว เลือกบริเวณสองถึงสามบริเวณ (หรือแผ่นภาพ) เพื่อที่จะทำการศึกษา และมอบหมายให้แต่ละกลุ่มในห้องเรียนรับผิดชอบ สิ่งแรกที่เราจะวัดก็คือจำนวนหลุมอุกกาบาตที่ใหญ่กว่าขนาดหนึ่งในบริเวณนี้ อย่าเลือกขนาดที่เล็กจนเกินไปเสียจนต้องใช้เวลาทั้งวันในการนับ ตกลงถึงขนาดขั้นต่ำที่เราจะทำการวัดให้ตรงกันเสียก่อนที่จะเริ่ม บริเวณของดวงจันทร์ จำนวนหลุม ขนาดของหลุมที่ใหญ่ที่สุด (ซม.) บริเวณที่ 1 บริเวณที่ 2 บริเวณที่ 3 อย่าลืมระบุหมายเลขหลุมอุกกาบาตแต่ละหลุมในโมเสคของดวงจันทร์ และทุกคนใช้หน่วยเดียวกันในการวัด

รัศมีของดวงจันทร์ = 1738 km การปรับหน่วยการวัด ลำดับถัดไป เราจะต้องทำการปรับหน่วยการวัดเพื่อที่เราจะได้สามารถอธิบายขนาดของหลุมในหน่วยที่เราสามารถทำความเข้าใจได้ เช่น กิโลเมตร เราสามารถทำได้โดยวัดรัศมีของดวงจันทร์ด้วยไม้บรรทัด เทียบกับรัศมีที่แท้จริง และเทียบบรรญัติไตรยางค์เพื่อหาขนาดหลุมของเรา การหารัศมีของดวงจันทร์นั้นสามารถทำได้หลายวิธี แต่สำหรับกิจกรรมนี้เราจะให้ รัศมีของดวงจันทร์ = 1738 km เราสามารถแปลงหน่วยได้โดย:  

อธิบายสิ่งที่พบ ลำดับถัดไปคือการสังเกตพื้นที่ที่ได้รับมอบหมายและพยายามอธิบายสิ่งที่พบ พื้นที่นี้เต็มไปด้วยหลุมอุกกาบาต หรือว่ามีพื้นที่ราบเรียบอยู่ในนี้หรือไม่ ลองพยายามประมาณค่าดูว่าพื้นที่นี้เป็นหลุมอุกกาบาตคิดเป็นพื้นที่ประมาณกี่เปอร์เซ็นต์ มีทิวเขาที่สามารถสังเกตเห็นในนี้ได้หรือไม่ ทิวเขาเหล่านี้ทอดยาวแค่ไหน มีรายละเอียดแปลกอื่นใดที่สามารถสังเกตเห็นได้หรือไม่? เมื่อเราตกลงกันในรายละเอียดที่สังเกตเห็นได้แล้ว จดลงในกระดาษเพื่อที่จะสามารถกลับมาดูในภายหลังได้

อภิปราย สิ่งที่เราทำนายในตอนแรกบ่งชี้ว่าพื้นผิวดวงจันทร์ควรจะมีหลุมอุกกาบาตปกคลุมอย่างเท่าเทียมกันทั้งหมด คำทำนายของเราสอดคล้องกับสิ่งที่เห็นแค่ไหน? เป็นที่แน่นอนว่า วิธีที่เราใช้จะสามารถบอกได้เพียงการประมาณโดยคร่าวถึงพื้นผิวดวงจันทร์เฉพาะที่เราเลือกมาศึกษาเท่านั้น เราสามารถนึกถึงขั้นตอนการศึกษาขั้นตอนใดของเราหรือไม่ที่อาจจะทำให้เกิดความคลาดเคลื่อนในการวัดของเรา? เราพอจะนึกถึงวิธีที่จะสามารถบอกถึงความแตกต่างระหว่างแต่ละพื้นที่บนดวงจันทร์ได้หรือไม่?

คำถาม และแบบฝึกหัด หลังจากที่เราได้นับจำนวนหลุมอุกกาบาตขนาดใหญ่ในแต่ละส่วนแล้ว เราอาจจะลองบันทึกขนาดหลุมแต่ละหลุมที่เราระบุเอาไว้ เพื่อที่จะดูว่าขนาดหลุมโดยเฉลี่ยในแต่ละพื้นที่แตกต่างกันหรือไม่ เราคิดว่าค่าที่ได้ควรจะต่างกันหรือไม่? เราอาจจะลองค้นคว้าเพิ่มเติมดูว่าภูเขาที่บริเวณกึ่งกลางของหลุมอุกกาบาตนั้นถือกำเนิดขึ้นมาได้อย่างไร ดูที่โมเสคอีกครั้ง และลองพยายามหาวิธีหาคำตอบดูว่ามันถูกถ่ายเอาไว้ในช่วงข้างขึ้นหรือข้างแรม ลองพยายามระบุดูว่าดวงจันทร์กำลังโคจรไปในทิศทางใด ในวงโคจรรอบโลก