รหัสวิชา : INT ชื่อวิชา : การพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
“กลยุทธ์การบริหารความเสี่ยง จากอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ”
Advertisements

บทที่ 1 การรวมธุรกิจ.
บทที่ 7 การตลาด ทางตรงโดย อินเทอร์เน็ต. ปัจจัยส่งเสริมการตลาด ทางตรงโดยอินเทอร์เน็ต ขอบเขตพื้นที่ / ทวีป จำนวน ประชากร ปี 2008 ( คน ) ( ประมาณ การ ) ผู้ใช้
บทที่ 5 การให้บริการอิเล็กทรอนิกส์ (E-Service)
ซอฟต์แวร์ระบบที่รู้จักกันดี คือซอฟต์แวร์ควบคุมการปฏิบัติการ ของคอมพิวเตอร์ที่เรียกว่า ระบบปฏิบัติการ ระบบปฏิบัติการเป็นชุดคำสั่งที่ใช้ควบคุมระบบฮาร์ดแวร์และ.
Chapter I พฤติกรรมผู้บริโภค.
ประโยชน์และตัวอย่างของการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
บริษัท The Best Gems จำกัด
. แผ น กลุ่ม 1 กลุ่ม 2 กลุ่ม 3 กลุ่ม 4 กลุ่ม 5 รวม 1. สหกรณ์/กลุ่ม เกษตรกรได้รับ การส่งเสริม สนับสนุนการ ดำเนินงาน สหกรณ์ กลุ่มเกษตรกร
(กล้องจับที่วิทยากร)
ศูนย์บริการลูกค้า ทีโอที สาขาเลย
การบริหารการค้าปลีกและการค้าส่ง
กระบวนการถ่ายทอดความรู้
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
วิเคราะห์ พ.ร.บ.การทวงถามหนี้ พ.ศ.2558 วิเคราะห์ พ.ร.บ.การทวงถามหนี้ พ.ศ.2558.
การพัฒนาโครงการที่อยู่อาศัยในไทย
๑ ทศวรรษของ สถาบัน. ๑ ) ด้านการศึกษาวิจัยเพื่อพัฒนา บุคลากรด้านการพัฒนามนุษย์ ๒ ) ผลิตและเผยแพร่ความรู้ด้านการ พัฒนามนุษย์ ๓ ) บริการสาธิตและวิจัยโดยศูนย์พัฒนา.
7 เทรนด์ การตลาดออนไลน์ปี 2014 แรงแน่ ! ในปีที่ผ่านมา การเปิดตัวเครือข่าย 3G ในประเทศ ทำให้คำว่า “การตลาดออนไลน์ (Online Marketing)” กันมากขึ้น แล้วในปี
บทที่ 1 ความหมายและแนวคิดของการวิจัยการตลาด
การวิเคราะห์ข้อมูล เขตพัฒนาเศรษฐกิจ พิเศษ เพื่อทบทวนยุทธศาสตร์ จังหวัด จังหวัด นราธิวาส 1.
ผลการดำเนินงาน ปีงบ ๒๕๕๘ ( ร่าง ) แผนปฏิบัติการฯ ปี งบ ๒๕๕๙ กลุ่มงานบริหารทั่วไป สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดตราด.
ทิศทางการตลาด และ การ สนับสนุนเกษตร อินทรีย์ โดย น. ส. สุทัศนีย์ ราช เรืองระบิน รองอธิบดี กรมการค้าภายใน.
ประเภทของ CRM. OPERATIONAL CRM เป็น CRM ที่ให้การสนับสนุนแก่กระบวนการธุรกิจ ที่เป็น “FRONT OFFICE” ต่างๆ อาทิ การขาย การตลาด และการ ให้บริการ SALES FORCE.
บทที่ 3 องค์ประกอบของการสัมมนา
การแพร่กระจายนวัตกรรม Diffusion of Innovation
หน่วยที่ 1 ข้อมูลทางการตลาด. สาระการเรียนรู้ 1. ความหมายของข้อมูลทางการตลาด 2. ความสำคัญของข้อมูลทางการตลาด 3. ประโยชน์ของข้อมูลทางการตลาด 4. ข้อจำกัดในการหาข้อมูลทาง.
การพัฒนาคุณภาพชีวิตในการทำงาน (Quality of Work Life)
ตลาดกลาง e-Marketplace
การพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ (E-Commerce)
Strategy Map สำนักงานสรรพากรพื้นที่กรุงเทพมหานคร12
Presentation การจัดการข้อร้องเรียนในธุรกิจบริการ Customer Complaint Management for Service.
เรื่อง ความพึงพอใจต่อการให้บริการห้องสมุด
บทที่ 8 การควบคุมโครงการ
กรณีศึกษา : นักเรียน ระดับ ปวช.2 สาขาวิชาการบัญชี
วิธีการกรอกแบบเสนอโครงการในไฟล์ Power point นี้
บัตรยิ้ม สร้างเสริมกำลังใจ
โดย ศรีปัญญา ม่วงเพ็ชร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
การบริหารงานประชาสัมพันธ์ของจังหวัด : การประชาสัมพันธ์และการจัดการสื่อ
แนวทาง/เกณฑ์การประเมินโครงการฯ
แนวคิดเกี่ยวกับระบบสารสนเทศ
โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการใช้จ่ายงบประมาณและการดำเนินงานของสถาบันอุดมศึกษา ประจำปีงบประมาณ พ.ศ มีนาคม 2560.
เครือข่ายความร่วมมือ เพื่อการพัฒนาห้องสมุดและ แหล่งเรียนรู้
คณะทำงานขับเคลื่อนงานโภชนาการ (สูงดีสมส่วน)
“Thailand’s Sustainable Business” ณ โรงแรมเชอราตัน แกรนด์ สุขุมวิท
รูปแบบ และ ประโยชน์การขายสินค้าออนไลน์
แผนการตลาดสำหรับ [ชื่อผลิตภัณฑ์]
Integrated Information Technology
SMS News Distribute Service
การโฆษณา การประชาสัมพันธ์
สินค้าและบริการ.
รายวิชา การบริหารการศึกษา
Catering SER 3102 วิชาการจัดเลี้ยง.
การวิเคราะห์ข้อมูล การท่องเที่ยว เพื่อทบทวนยุทธศาสตร์จังหวัด
ทิศทางการดำเนินงานลดโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD)
การวิเคราะห์ข้อมูล การท่องเที่ยว เพื่อทบทวนยุทธศาสตร์จังหวัด
ISO ย่อมาจาก International Organization for Standardization คือ องค์การมาตรฐานสากล หรือองค์การระหว่างประเทศว่าด้วยการมาตรฐาน เป็นองค์กรที่ออกมาตรฐานต่างๆ.
การวิจัยทางการท่องเที่ยว
การเปลี่ยนแปลงประมาณการทางบัญชี และข้อผิดพลาด
4 เทคโนโลยีสารสนเทศ สังคมเครือข่าย
Supply Chain Management
อ.ชิดชม กันจุฬา (ผู้สอน)
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
การบริหารจัดการระบบสารสนเทศ (ระบบงานสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์)
ระบบสำนักงานอัตโนมัติ (Office Automation : OA)
อ. อรนพัฒน์ เหมือนเผ่าพงษ์ สาขาวิชาการจัดการโรงแรมและธุรกิจที่พัก
การขายและการตลาดสำหรับธุรกิจโรงแรมและที่พัก
Transportation Management System ( TMS )
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
นางสาววงจินดา พุ่มซ้อน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

รหัสวิชา : INT 3514 ชื่อวิชา : การพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Commerce) หน่วยกิต : 3(2-2-5) ผู้สอน : อ.บุศรินทร์ เอี่ยมธนากุล [อ.อ้อย] โทร. (082) 702-0120 สถานที่ติดต่อ : อาคาร 26 ชั้น 5 (ห้องพักอาจารย์) e-mail : busarin.ea@hotmail.co.th

คำอธิบายรายวิชา หลักการเบื้องต้นของระบบอินเทอร์เน็ตโครงสร้างพื้นฐานของการพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ กลยุทธ์ทางการตลาด การประชาสัมพันธ์ ระบบการจัดส่งสินค้า ระบบการเลือกซื้อสินค้าและระบบการชำระเงิน (Shopping Cart) เรียนรู้การออกแบบและการบริหารร้านค้าอิเล็กทรอนิกส์ ปัญหาอุปสรรคของการค้าอิเล็กทรอนิกส์และแนวโน้มของพาณิชย์

การวัดและประเมินผล 1. วินัยในการเรียน 10% 2. สอบย่อย 10% 1. วินัยในการเรียน 10% 2. สอบย่อย 10% 3. งานเดี่ยว/งานกลุ่ม 20% 4. โครงงาน 20% 5. สอบกลางภาค 20% 6. สอบปลายภาค 20%

4

การค้ายุคเดิม

การค้ายุคใหม่

เปรียบเทียบการค้ายุคเดิมกับการค้าออนไลน์ การค้าแบบเดิม การค้าออนไลน์

นิยามของพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ E-Commerce หมายถึง การทำธุรกรรมทุกรูปแบบ โดยครอบคลุมถึงการซื้อขายสินค้า/บริการ , การชำระเงิน , การโฆษณาโดยผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ประเภทต่าง ๆ โดยเฉพาะเครือข่ายทางอินเทอร์เน็ต 8

ประวัติของพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ การพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์นั้นเริ่มขึ้นบนโลกครั้งแรกเมื่อปี พ.ศ. 2513 ซึ่งได้มีการเริ่มใช้ระบบโอนเงินทางอิเล็กทรอนิกส์หรืออีเอฟที (EFT = Electronic Fund Transfer) แต่ในขณะนั้นมีเพียงบริษัทขนาดใหญ่และสถาบันการเงินเท่านั้นที่ใช้งานระบบโอนเงินทางอิเล็กทรอนิกส์ ต่อมาอีกไม่นานก็เกิดระบบการส่งเอกสารทางอิเล็กทรอนิกส์ หรือ อีดีไอ (EDI = Electronic Data Interchange) ซึ่งสามารถช่วยขยายการส่งข้อมูลจากเดิมที่เป็นข้อมูลทางการเงินอย่างเดียวเป็นการส่งข้อมูลแบบอื่นเพิ่มขึ้น เช่น การส่งข้อมูลระหว่างสถาบันการเงินกับผู้ผลิตหรือผู้ค้าส่งกับผู้ค้าปลีก

หลังจากนั้นก็มีระบบสื่อสารรวมถึงโปรแกรมอื่น ๆ เกิดขึ้นมากมาย ตั้งแต่ระบบที่ใช้ในการซื้อขายหุ้นจนไปถึงระบบที่ช่วยในการสำรองที่พักซึ่งเรียกได้ว่าโลกได้ก้าวเข้าสู่ยุคของการสื่อสาร และเมื่อยุคของอินเทอร์เน็ตมาถึงเมื่อประมาณปี พ.ศ. 2533 จำนวนผู้ใช้อินเทอร์เน็ตก็เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ในปัจจุบันเป็นการผสมผสานระหว่างเทคโนโลยีอินเทอร์เน็ตกับการจำหน่ายสินค้าและบริการโดยสามารถนำเสนอข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับตัวสินค้าหรือบริการผ่านทางอินเทอร์เน็ต สู่คนทั่วโลกภายในระยะเวลาอันรวดเร็วทำให้การดำเนินการซื้อขายอย่างมีประสิทธิภาพ และก่อให้เกิดรายได้ในระยะเวลาอันสั้น

พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ในประเทศไทย ยุคที่ 1 พ.ศ. 2537 – 2540 ยุคที่ 2 พ.ศ. 2541 – 2543 ยุคที่ 3 พ.ศ. 2544 – ปัจจุบัน 11

ยุคที่ 1 พ.ศ. 2537 – 2540 ในพ.ศ. 2537 ประเทศไทยเริ่มมีผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ต เชิงพาณิชย์เป็นครั้งแรก ทำให้การใช้อินเทอร์เน็ตขยายตัวออกจากสถาบันการศึกษา ประกอบกับพัฒนาการของโปรแกรมบราวเซอร์เองที่เกิดโปรแกรมเชิงพาณิชย์เช่น Netscape ทำให้เกิดการพัฒนาคุณภาพ นักธุรกิจไทยรุ่นใหม่ที่เล่นอินเทอร์เน็ตอยู่แล้วเริ่มเห็นศักยภาพอินเทอร์เน็ตในการเผยแพร่ผลงานหรือแนะนำบริษัทของตน 12

ยุคที่ 2 พ.ศ. 2541 – 2543 แม้ว่าอินเทอร์เน็ตและเว็บไซต์ชุมชนจะเป็นที่นิยม การทำพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ในประเทศก็ยังมีข้อจำกัดเรื่องระบบชำระเงิน จนกระทั่งกระทรวงพาณิชย์จัดทำโครงการนำร่องพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ ThaiEcomerce.net ขึ้นโดยสร้างความเข้าใจและดึงกลุ่มพันธมิตร เช่น บริษัทขนส่ง, ธนาคารพาณิชย์, หน่วยราชการ เช่น กรมศุลกากร, กรมสรรพากร เข้าร่วมโครงการ ทำให้เกิดการสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้ออำนวยต่อการทำพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ กระแสการซื้อขายเว็บไซต์ระบาดมาถึงประเทศไทย ทำให้เกิดภาพบิดเบือนในการทำธุรกิจ กล่าวคือไม่ได้ทำเว็บไซต์มาขายสินค้า แต่จะทำเว็บไซต์เพื่อขายเว็บไซต์เอง 13

ยุคที่ 3 พ.ศ. 2544 – ปัจจุบัน หลายบริษัทที่เคยประกาศตัวเองเป็นบริษัทดอทคอมเริ่มตีตัวออกห่างจากคำนี้ พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ในไทยที่ยังยืนหยัดต่อเริ่มหาแนวทางของตัวเองเพื่อการอยู่รอด เปลี่ยนจากที่เคยคิดว่า When you Build It, They Will Come หรือเมื่อสร้างเว็บไซต์แล้ว จะเกิดลูกค้ากลุ่มใหม่เข้ามาสร้างยอดขายเพิ่ม กลายมาเป็นแบบจำลองธุรกิจที่เหมาะกับไทยมากขึ้น 14

ความหมาย E-Business ความหมายของคำว่า การพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ (E-commerce) ซึ่งหมายถึงการซื้อขายระหว่างผู้ซื้อ กับ ผู้ขาย อาจจะเป็นความหมายที่ค่อนข้างแคบ และถือเป็นจุดเริ่มต้นของคำว่า E-Business E-Business ซึ่งความหมายจะครอบคลุมถึงการบริการลูกค้า การร่วมมือระหว่างบริษัท-บริษัทคู่ค้า โดยดำเนินการผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์

E-Business หมายถึง การดำเนินธุรกิจโดยอาศัยเทคโนโลยี ด้านอิเล็กทรอนิกส์ หรืออินเทอร์เน็ตเป็นสื่อกลาง โดยมีการประยุกต์ใช้ในทุกกิจกรรมทั้งในส่วนของหน้าร้าน (Front Office) และหลังร้าน (Back Office) รวมทั้งการเชื่อมต่อกับระบบการค้ากับองค์กรภายนอกด้วย อาทิเช่น กับธนาคารโดยใช้ระบบ e-Banking หรือกับ Suppliers โดยผ่านระบบ e-Supply Chain ทั้งนี้โดยอาศัยสื่อ ทั้งในรูปของ Internet, Intranet และ Extranet

องค์ประกอบของพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ 1. หน้าร้าน (Front End หรือ Web Store หรือ Store Front) 2. หลังร้าน (Back Office) 3. ระบบตะกร้ารับคำสั่งซื้อ (Shopping Cart System) 4. ระบบการรักษาความปลอดภัยในการจ่ายเงิน (Secure Payment System) 19

1. หน้าร้าน (Front End หรือ Web Store หรือ Store Front) จะให้ข้อมูลเกี่ยวกับร้านค้า ตัวสินค้า นโยบายการขาย ฯลฯ แก่ลูกค้า จะทำหน้าที่หลักในการให้ข้อมูลและเชิญชวนให้ซื้อสินค้า โดยการออกแบบหน้าร้านที่ดีนั้นต้องคำนึงถึงความสมบูรณ์ครบถ้วนของสินค้า การจัดวางหมวดหมู่ ให้ง่ายต่อการค้นหา รวมถึงใช้งานง่ายไม่ซับซ้อนในการเลือกสินค้าแต่ละชิ้น 20

2. หลังร้าน (Back Office) ประกอบไปด้วยระบบการรับคำสั่งซื้อสินค้า ระบบการรับชำระเงิน ระบบการจัดส่งสินค้าและระบบการบริหารร้านค้า เริ่มตั้งแต่ระบบฐานข้อมูล สินค้าที่ต้องอัพเดทและเชื่อมต่อโดยตรงกับหน้าร้าน ระบบการให้รายละเอียดของสินค้า 21

3. ระบบตะกร้ารับคำสั่งซื้อ (Shopping Cart System) เป็นระบบที่สามารถคลิกเพื่อสั่งซื้อสินค้าผ่านทางหน้าเว็บเพจได้ ซึ่งจะมีช่องให้กรอกจำนวนสินค้าที่สามารถสั่งซื้อได้ โดยจะเปรียบเทียบยการซื้อแต่ละครั้งเหมือนการหยอดของลงตะกร้าหรือรถเข็น และสะสมไว้จนกว่าจะพอใจแล้วจึงชำระค่าสินค้า ผ่านแคชเชียร์อัตโนมัติ 22

4. ระบบการรักษาความปลอดภัยในการจ่ายเงิน (Secure Payment System) เป็นระบบคำนวณเงินและชำระค่าสินค้าที่ปลอดภัย โดยส่วนใหญ่จะเป็นการชำระผ่านทางบัตรเครดิต ซึ่งการถ่ายโอนข้อมูลเกี่ยวกับบัตรเครดิตบนเครือข่ายจำเป็นต้องมีการเข้ารหัสเพื่อป้องกันการรั่วไหล 23

ประโยชน์ของพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ สำหรับผู้ประกอบการ 1. ขยายตลาดจากตลาดท้องถิ่นไปสู่ตลาดระหว่างประเทศ 2. ลดต้นทุนการดำเนินการทางการตลาด 3. ลดสินค้าคงคลังและค่าใช้จ่ายในช่องทางการจำหน่าย 4. เพิ่มความเชี่ยวชาญของธุรกิจได้มากขึ้น 24

ประโยชน์ของพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ สำหรับผู้บริโภค 1. สามารถเลือกซื้อผลิตภัณฑ์ต่างๆ ได้สะดวกตลอด 24 ชม. 2. มีโอกาสในการเปรียบเทียบและเลือกซื้อผลิตภัณฑ์ได้มากขึ้น รวมทั้งเลือกผู้ขายได้ด้วย 3. ได้ผลิตภัณฑ์ราคาถูก คุณภาพตามต้องการ โดยไม่เสียเวลาและไม่เสียค่าเดินทาง 4. ได้รับข้อมูลเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์ในเวลาอันสั้นและโต้ตอบได้เร็ว 5. สามารถแลกเปลี่ยนความคิดเห็นกับผู้บริโภครายอื่น ๆ เพื่อให้มีข้อมูลประกอบการตัดสินใจซื้อได้มากขึ้น 25

ประโยชน์ของพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ สำหรับสังคมและชุมชน 1. การทำงานที่บ้าน และซื้อผลิตภัณฑ์จากที่บ้าน ไม่ต้องเดินทาง ทำให้ลดปัญหาการจราจรและมลภาวะ 2. คุณภาพชีวิตของประชาชนดีขึ้น เนื่องจากมีโอกาสเลือกซื้อผลิตภัณฑ์คุณภาพดี ราคาถูก 3. ประชากรในแต่ละประเทศสามารถเลือกซื้อผลิตภัณฑ์ ที่ไม่มีขายในประเทศของตนรวมทั้งโอกาสในการเรียนรู้สิ่งใหม่ ๆ 4. หน่วยราชการให้ความสำคัญกับการเผยแพร่ข่าวสาร แก่ชุมชนมากขึ้น รวมทั้งการจัดให้มีบริการผ่านทาง Internet 26

ข้อจำกัดของพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ 1. ระบบการรักษาความปลอดภัย ความน่าเชื่อถือของข้อมูล และมาตรฐานของระบบ 2. ผู้บริโภคต้องการความเป็นส่วนตัว (Privacy) 3. กฎหมายพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ยังไม่สมบูรณ์