ข้อสังเกตโดยรวมของผลงานที่ได้คะแนน ระดับดีมาก - ดี

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การติดตามและ ประเมินผลโครงการ
Advertisements

การชี้แจงรายละเอียดและเกณฑ์การประเมินผล ตัวชี้วัดของหน่วยงาน ตามคำรับรองฯ ปีงบประมาณ พ.ศ.2557.
การจัดทำแผนปฏิทินการจัดการความรู้ และแผนในการติดตามประเมินผลการจัดการความรู้ E:\ประกันคุณภาพ\ppt\ดูงาน\12-PPT_เสนอ_ครุศาสตร์_จุฬา_19_11_50.ppt.
คำถามตามเกณฑ์ PMQA:105คำถาม หมวด1 12คำถาม.
รูปแบบการนำเสนอ หน่วยงาน
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
ระบบประเมินผลผู้บริหาร
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
ผลการปฏิบัติราชการ ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ กรมอนามัย ปีงบประมาณ พ
ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบบริหารจัดการเพื่อสนับสนุนการจัดบริการสุขภาพ
ชี้แจงเกณฑ์การประเมินผล ตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิภาพ 1.
พยาบาลวิชาชีพชำนาญการพิเศษ
การจัดทำแผนปฏิบัติการ สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ประจำปีงบประมาณ พ.ศ กันยายน 2557.
ปลัดกระทรวงสาธารณสุข
KPI 8 : ระดับความสำเร็จของการพัฒนาบุคลากร น้ำหนัก :ร้อยละ 5 KPI ๑๐ : ระดับความสำเร็จของการพัฒนาปรับปรุง วัฒนธรรมองค์การ น้ำหนัก : ร้อยละ 3 กองการเจ้าหน้าที่
แผนยุทธศาสตร์ฯ ด้านทรัพยากรบุคคล ปีงบประมาณ ๒๕๕๙ กลุ่มงานทรัพยากรบุคคล สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด ตราด.
ภาพรวมและความเชื่อมโยงการดำเนินการ ตามตัวชี้วัด ระดับความสำเร็จของการพัฒนา คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ ส่วนราชการระดับกรม.
การขอมีหรือขอเลื่อนวิทยฐานะโดยใช้รางวัล สูงสุดระดับชาติ ตามหลักเกณฑ์ ว 13 / 2556 ดร. ชูชาติ ทรัพย์มาก ที่ปรึกษาด้านการบริหารงานบุคคลและนิติ การ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้น.
ข้อที่เกณฑ์การประเมินการดำเนินงาน ข้อ 1 พัฒนาแผนกลยุทธ์จากผลการวิเคราะห์ SWOT โดยเชื่อมโยงกับวิสัยทัศน์ของคณะและ สอดคล้องกับวิสัยทัศน์ของคณะ สถาบัน.
การกำกับ ติดตาม ประเมินผล สำนักตรวจและประเมินผล Bureau of Inspection and Evaluation.
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
ประเด็นที่เปลี่ยนแปลงจากปี 2560
สำนักงาน ก.ก. และสำนักงานตรวจสอบภายใน สำนักปลัดกรุงเทพมหานคร
การพัฒนาคุณภาพชีวิตในการทำงาน (Quality of Work Life)
ประเด็นที่เปลี่ยนแปลง
กลุ่มงานบริหารทรัพยากรบุคลากร
สายส่งเสริมตามกลุ่มวัยและประเด็น
Strategy Map สำนักงานสรรพากรพื้นที่กรุงเทพมหานคร12
100 ตำบลต้นแบบในการบูรณาการ ด้านส่งเสริมสุขภาพ 5 กลุ่มวัย และอนามัยสิ่งแวดล้อม โดย กรมอนามัย.
ระบบคุ้มครองผู้บริโภค
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การ
สรุปข้อมูลผลงานจากการประเมินผลคะแนนการปฏิบัติราชการ ตามคำรับรองฯ ของหน่วยงานในสังกัดกรมอนามัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ (รอบ 5 เดือนแรก: 1 ตุลาคม
แพทย์หญิงวันทนีย์ วัฒนะ ผู้อำนวยการสำนักอนามัย
กลุ่มเป้าหมาย สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด 76 จังหวัด ค่าเป้าหมาย
วิธีการกรอกแบบเสนอโครงการในไฟล์ Power point นี้
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ระเบียบวาระที่ 3 เรื่องเพื่อทราบ
กลุ่มยุทธศาสตร์ฯ ตัวชี้วัด ของปศุสัตว์อำเภอ รอบที่ ๑/๒๕๖๑ และ รอบที่ ๒/๒๕๖๑ จำนวน ๑๐ ตัวชี้วัด ๑.๑ร้อยละความสำเร็จในการปรับปรุงฐานข้อมูลเกษตรกรผู้เลี้ยงสัตว์
การจัดลำดับความสำคัญของโครงการด้านการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
ความสำเร็จของการดำเนินการตามมาตรการประหยัดพลังงาน
(ปัจจุบันไม่มียอดค้างชำระ)
การดำเนินงานคุณธรรม และความโปร่งใส
สำหรับศูนย์อนามัยที่ 1, 3, 6, 10, 11, 12
การประเมินคุณภาพการศึกษา สำนักงานอธิการบดี
ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จขององค์กรปกครอง
ณ ห้องประชุมกำธร สุวรรณกิจ
ปี 2560 ปฏิทินการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส
ตัวชี้วัดที่ 2.3 ระดับคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงานของหน่วยงานในสังกัดกรมอนามัย (Integrity and Transparency Assessment: ITA) เฉพาะหลักฐานเชิงประจักษ์
แผนงาน การพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ
แผนงานการพัฒนาองค์กรคุณภาพ
โดย นายแพทย์ประดิษฐ์ วินิจจะกูล รองอธิบดีกรมอนามัย
นางสาวถนอมรัตน์ ประสิทธิเมตต์ ศูนย์อนามัยที่ ๔ สระบุรี
ข้อมูลการป้องกัน การถ่ายทอดเชื้อเอชไอวีจากแม่สู่ลูก (PMTCT)
ความปลอดภัยด้านอาหารและน้ำ
ร้อยละของการเบิกจ่ายเงินงบประมาณ (ภาพรวม งบลงทุน)
ศูนย์ทันตสาธารณสุขระหว่างประเทศ ตัวชี้วัดกรม ตัวชี้วัดตามภารกิจหน่วยงาน แบบวิเคราะห์การถ่ายทอดตัวชี้วัด ความเชื่อมโยงการถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับหน่วยงานลงสู่ระดับกลุ่มงาน.
มุ่งเน้น การประเมินระดับการดำเนินงาน “หน่วยงานคุณธรรม”
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การ
ปัจจัยที่ทำให้การดำเนินงานสำเร็จบรรลุเป้าหมาย
การดำเนินงาน GREEN & CLEAN Hospital จังหวัดน่าน ปีงบประมาณ 2561
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
การประเมินผลการปฏิบัติราชการ ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ ตัวชี้วัดที่ 4 ร้อยละของเด็ก 0-5 ปี สูงดีสมส่วน ” สำนักโภชนาการ.
การดำเนินงานต่อไป.
รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา Self – Assessment Report
การปิด GAP การประเมินตนเองCDD. ตามการประเมินความเข้มแข็งแผนงานควบคุม
นพ.อภิศักดิ์ วิทยานุกูลลักษณ์ รพ.ธัญญารักษ์เชียงใหม่ กรมการแพทย์
จุฑารัตน์ สะธรรมกิจ ศูนย์อนามัยที่ 5 ราชบุรี
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
แบบฟอร์มที่ 2ลักษณะสำคัญขององค์การ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ตัวชี้วัดที่ 19 : ผลงานที่มีความโดดเด่น ระดับนานาชาติ ระดับชาติ และระดับพื้นที่

ข้อสังเกตโดยรวมของผลงานที่ได้คะแนน ระดับดีมาก - ดี การอธิบายกระบวนการดำเนินงานแต่ละกิจกรรมย่อย แสดงรายละเอียดชัดเจน เป็นรูปธรรม เช่น แสดงตัวเลข รวมถึงมีเอกสาร/แนบหลักฐานที่เกี่ยวข้อง ประกอบรายข้อ/รายกิจกรรม และบางข้อมีเอกสารหลายชิ้น 2. output /outcome สะท้อนถึงผลความสำเร็จในระดับชาติ นานาชาติ และมีการเทียบเคียงความสำเร็จกับหน่วยงานอื่น ข้อสังเกตต่อหน่วยงาน เพื่อการพัฒนา 1. อธิบายภารกิจ/บทบาท/หน้าที่ของกรม แต่ขาดการอธิบายภารกิจของหน่วยงาน 2) ไม่ได้อธิบายสภาพปัญหา/ความจำเป็นที่ดำเนินการเรื่องนี้ ที่เชื่อมโยงสภาพปัญหากับภารกิจของหน่วยงานในspecial report 3) การแสดงผลลัพธ์ที่สะท้อนว่า มีการนำผลไปใช้/ขยายผล รวมถึง การนำผลไปใช้ หรือขยายผล และการเทียบเคียงความสำเร็จ ยังแสดงหลักฐานประกอบไม่ชัดเจนนัก ข้อสังเกตต่อระบบPMS ควรมีการออกแบบ/พัฒนาให้มีระบบตอบรับการส่งเอกสาร/หลักฐานจากหน่วยงาน เพื่อลดความผิดพลาดหรือความเสี่ยงจากการไม่ปรากฏหลักฐานในระบบ DOC / special report

4. ปฏิรูประบบงานสู่องค์กรที่มีสมรรถนะสูงและมีธรรมาภิบาล ตัวชี้วัดที่ 19 ระดับความสำเร็จของการพัฒนาผลงานที่มีความโดดเด่น ระดับนานาชาติ/ระดับชาติ และระดับพื้นที่ ประเด็นยุทธศาสตร์ 4. ปฏิรูประบบงานสู่องค์กรที่มีสมรรถนะสูงและมีธรรมาภิบาล เป้าประสงค์ยุทธศาสตร์ 11. เป็นองค์กรที่มีสมรรถนะสูง (HPO) กลุ่ม / Cluster - หน่วยงานที่รับการประเมิน - หน่วยงานวิชาการ เสนอผลงานระดับระดับนานาชาติ/ระดับชาติ - ศูนย์อนามัยที่ 1-13 เสนอผลงาน ระดับพื้นที่ - หน่วยงานสนับสนุน เสนอผลงานโดดเด่นของหน่วยงาน คำนิยาม - ความสำเร็จของการพัฒนาผลงานที่มีความโดดเด่น ระดับนานาชาติ/ระดับชาติ และระดับพื้นที่ ประเมินจากคุณภาพของรายงานการพัฒนาผลงานที่มีความโดดเด่น โดยมีประเด็นการประเมิน 2 ประเด็นคือ 1. มีการอธิบายภารกิจ บทบาท หน้าที่หลักด้านใดด้านหนึ่งของหน่วยงาน ที่มีความสาคัญเชิงยุทธศาสตร์เพื่อการพัฒนาประเทศ ตามแผนหรือนโยบายระดับชาติ/นานาชาติ นโยบายสำคัญของรัฐบาล นโยบายของกระทรวงสาธารณสุขและนโยบายของกรมอนามัยด้านการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อมที่กำหนดไว้ สำหรับหน่วยงานสนับสนุน อธิบายบทบาทหน้าที่หลักหน่วยงาน หรือหน้าที่ ที่ได้รับมอบหมายในการพัฒนาผลงาน 2. มีการอธิบายกระบวนการดำเนินงานเพื่อบรรลุผล โดยผลงานมีความเชื่อมโยงกับบทบาทภารกิจของหน่วยงาน /ยุทธศาสตร์ของประเทศ มีตัวอย่างที่ชัดเจนแสดงถึงบทบาทของหน่วยงาน อธิบายผลงานที่เกิดจริงโดยนำมาเทียบเคียงกับเป้าหมายตามแผนงานที่กำหนด มีความก้าวหน้าตามแผนงาน มีการแสดงตัวเลขผลงานที่ชัดเจน มีหลักฐานที่เป็นรูปธรรม หรือการเทียบเคียงความสำเร็จกับค่ามาตรฐานของหน่วยงานที่ดำเนินการในมาตรฐานเดียวกัน มีการอ้างอิงมาตรฐานสากล/รางวัลที่เคยได้รับ

กลุ่มเป้าหมาย ทุกหน่วยงานในสังกัดกรมอนามัย วิธีการจัดเก็บข้อมูล 1. หน่วยงานส่งรายงานการประเมินตนเอง ในระบบ DOC กรมอนามัย 2. หน่วยงานจัดทำรายงานเชิงคุณภาพ (Special Report) ประกอบด้วย 2 หัวข้อตามแบบรายงานแนบท้ายรายละเอียดตัวชี้วัดนี้ และนำขึ้นเว็บไซต์ของหน่วยงาน เพื่อเป็นหลักฐานประกอบตัวชี้วัดนี้ แหล่งข้อมูล ระยะเวลาประเมินผล รอบ 1 - 5 เดือนแรก (ตุลาคม 2559 – กุมภาพันธ์ 2560) รอบ 2 - 5 เดือนหลัง (มีนาคม 2560 – กรกฎาคม 2560)

มาตรการสำคัญ (PIRAB) ที่ทำให้ตัวชี้วัดบรรลุผล : เกณฑ์การประเมิน : พิจารณาความครบถ้วนของรายงานการพัฒนา ตามหัวข้อการประเมินทั้ง 2 รอบการประเมิน ดังนี้ ระดับ ประเด็นการประเมิน คะแนน 1 มีการอธิบายภารกิจ /บทบาท/ หน้าที่หลักด้านใดด้านหนึ่งของหน่วยงาน ที่มีความสำคัญเชิงยุทธศาสตร์เพื่อการพัฒนาประเทศ ตามแผนหรือนโยบายระดับชาติ/นานาชาติ หรือนโยบายสำคัญของรัฐบาล /กระทรวงสาธารณสุขและกรมอนามัย 2 มีสภาพปัญหา/ความจำเป็นที่ดำเนินการเรื่องนี้ มีความเชื่อมโยงกับบทบาทภารกิจของหน่วยงาน/ยุทธศาสตร์ของประเทศ 3 มีกระบวนการดำเนินงานเพื่อบรรลุผล /มีตัวอย่างที่ชัดเจนแสดงถึงบทบาทของหน่วยงาน/ 4 มีผลงานที่เกิดจริง มีความเชื่อมโยงกับบทบาทภารกิจของหน่วยงาน /ยุทธศาสตร์ของประเทศ โดยนำมาเทียบเคียงกับเป้าหมายตามแผนงานที่กำหนด /มีความก้าวหน้าตามแผนงาน/มีการแสดงตัวเลขมีความชัดเจน/มีหลักฐานที่เป็นรูปธรรม 5 - มีการนำผลไปใช้ หรือการขยายผล - มีการเทียบเคียงความสำเร็จกับค่ามาตรฐานของหน่วยงานที่ดำเนินการในมาตรฐานเดียวกัน / มีการอ้างอิงมาตรฐานสากล/ รางวัลที่เคยได้รับ มาตรการสำคัญ (PIRAB) ที่ทำให้ตัวชี้วัดบรรลุผล : 1. กำหนดเป็นนโยบายและมีการสื่อสารให้มีการส่งผลงานเด่นทั่วทั้งองค์กร 2. ชี้แจงแนวทางและสนับสนุนให้หน่วยงานสามารถคัดเลือกผลงานที่มีความโดดเด่น ระดับนานาชาติ/ระดับชาติ และระดับพื้นที่ มาจัดทำรายงาน 3. กำกับติดตามให้เกิดการปฏิบัติอย่างเป็นรูปธรรมผ่านเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ 4. รายงานผลการดำเนินงานในระบบ DOC (Special Report)

แบบรายงานความสำเร็จของการพัฒนาผลงานที่มีความโดดเด่นระดับนานาชาติ/ระดับชาติ และระดับพื้นที่ หน่วยงาน ............................   ชื่อผลงาน ................................................................................................. 1. ภารกิจ/บทบาท /หน้าที่หลักด้านใดด้านหนึ่งของส่วนราชการ (มีการอธิบายภารกิจ บทบาท หน้าที่หลักด้านใดด้านหนึ่งของหน่วยงาน ที่มีความสาคัญเชิงยุทธศาสตร์เพื่อการพัฒนาประเทศ ตามแผนหรือนโยบายระดับชาติ/นานาชาติ หรือนโยบายสำคัญของรัฐบาลที่กำหนดไว้) 2. ผลงานที่แสดงถึงการเป็นหน่วยงานที่มีความสำคัญทางยุทธศาสตร์ โดยผลงานนั้นอาจเทียบกับมาตรฐานสากล รางวัลที่เคยได้รับ รวมทั้งผลการประเมินจากองค์กรภายในหรือภายนอกประเทศ หรืออื่นๆ (การประเมินจะพิจารณาจากความพยายามในการดำเนินการเพื่อบรรลุผล โดยผลงานมีความเชื่อมโยงกับบทบาทภารกิจของหน่วยงาน/ยุทธศาสตร์ของประเทศ มีตัวอย่างที่ชัดเจนแสดงถึงบทบาทของหน่วยงาน อธิบายผลงานที่เกิดจริงโดยนำมาเทียบเคียงกับเป้าหมายตามแผนงานที่กำหนด มีความก้าวหน้าตามแผนงาน มีการแสดงตัวเลขผลงานที่ชัดเจน มีหลักฐานที่เป็นรูปธรรม หรือการเทียบเคียงความสำเร็จกับค่ามาตรฐานของหน่วยงานที่ดำเนินการในมาตรฐานเดียวกัน มีการอ้างอิงมาตรฐานสากล/รางวัลที่เคยได้รับ)

Thank you MoPH 4.0 DoH 4.0 PSDG Bridge