การถ่ายทอดพลังงานของระบบนิเวศ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
A1 Real Numbers (จำนวนจริง).
Advertisements

ENVIRONMENTAL SCIENCE
ทำไม..ที่นี่ไม่มีต้นไม้
Energy Flow and Mineral Cycling
การถ่ายทอดพลังงานในระบบนิเวศ
สื่อเสริมการเรียนรู้
Energy flow of organis m. ความสัมพันธ์ของ สิ่งมีชีวิตชนิดต่าง ๆ ในระบบ นิเวศที่มีการกินต่อกันเป็นทอด ๆ และมักเริ่มต้นด้วย ผู้ผลิต.
การเข้าทำงานของ สมาชิก ในการเพิ่มและแก้ไข ข้อมูลข่าวสาร.
การถ่ายทอดพลังงาน และการหมุนเวียนสารในระบบนิเวศ
 หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชา เกษตรศาสตร์ (Bachelor of Science Program in Agriculture) สาขาวิชาเอก พืชไร่ พืชสวน สัตวศาสตร์  หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต.
สำนักงานสิ่งแวดล้อม ภาคที่ 10 พื้นที่รับผิดชอบ : ลุ่มน้ำชีตอนบน 5 จังหวัด ; กาฬสินธุ์ ชัยภูมิ ขอนแก่น มหาสารคาม หนองบัวลำภู - พื้นที่ 39,761 ตร. กม.
เชื้อเพลิงและการเผาไหม้
ระบบการจัดการสิ่งแวดล้อม (Environmental Management System
ความสำคัญของ ความหลากหลายทางชีวภาพ 1
น้ำและไอน้ำ กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน.
สิ่งแวดล้อมและ ผลกระทบจากกิจกรรมของมนุษย์
Asst. Prof. Surattana Settacharnwit
Asst. Prof. Surattana Settacharnwit
การเลี้ยงโคนมในประเทศไทย Dairy Production in Thailand
Pattanachai Huangkaew Kapchoeng Wittaya School
คัมภีร์ของศาสนายูดาห์(ยูดาย)
องค์ประกอบของระบบนิเวศ
Electronic Commerce Law กฏหมายพานิชย์อิเล็กทรอนิกส์
โมเมนตัมและการชน อ.วัฒนะ รัมมะเอ็ด.
พลังงาน (Energy).
การถ่ายทอดพลังงานในระบบนิเวศ
การควบคุม และการจำหน่ายพัสดุ
การเบิก-จ่ายเงินอย่างมืออาชีพ
สรุปรายงานการตรวจนิเทศงานกระทรวงสาธารณสุข รอบที่ 1/ จังหวัดกาญจนบุรี
วาระที่ 3.1 กิจกรรมเฉลิมพระเกียรติ
ระบบการจัดการสิ่งแวดล้อม (Environmental Management System
กฎหมายอาญา(Crime Law)
โรงเรียนพูลเจริญวิทยาคม
บทที่ 6 ความร้อนและอุณหพลศาสตร์
กองส่งเสริมการพัฒนาเด็กและเยาวชน
สำนักบริการคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
สงกรานต์ ป้องบุญจันทร์ คณะนิติศาสตร์ ม.เชียงใหม่
โภชนาการ เด็กวัยเรียน สิรภัทร สาระรักษ์ ศูนย์อนามัยที่ 7 อุบลราชธานี
การออกข้อบัญญัติท้องถิ่น ตามพระราชบัญญัติการสาธารณสุข
ความยืดหยุ่น Elasticity
กรอบแนวทางในการจัดทำงบประมาณ แผนยุทธศาสตร์แบบบูรณาการ
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาแพร่ เขต 1
อาจารย์เศวตาภรณ์ ตั้งวันเจริญ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 MLP รายวิชาพื้นฐาน
การจัดทำแผน และนำแผนไปใช้
การจัดทำแผน และนำแผนไปใช้
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 MLP รายวิชาพื้นฐาน
ฟิสิกส์นิวเคลียร์ และอนุภาคมูลฐาน
แนวทางการประเมิน กองทุนหลักประกันสุขภาพ
งานและพลังงาน (Work and Energy) Krunarong Bungboraphetwittaya.
สรุปรายงานการตรวจนิเทศงานกระทรวงสาธารณสุข รอบที่ 1/2559 จังหวัดประจวบคีรีขันต์ คณะที่ 4.2 แผนงานคุ้มครองผู้บริโภคและสิ่งแวดล้อม คณะที่ 5 แผนขยะและสิ่งแวดล้อม.
งานและพลังงาน.
ข้อกำหนดด้านสุขาภิบาลอาหาร สำหรับแผงลอยจำหน่ายอาหาร
นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ สำนักสุขาภิบาลอาหารและน้ำ กรมอนามัย
13 October 2007
ความสำคัญของโภชนาการสำหรับเด็กปฐมวัย
ผู้สอนวิชากฎหมายธุรกิจและภาษีอากร(bus226)
สัญญาซื้อขายเฉพาะอย่าง
โรเบิร์ต บอยล์ Robert Boyle
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 MLP รายวิชาพื้นฐาน ม.4/1 – ม.4/4
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 MLP รายวิชาพื้นฐาน
ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 MLP รายวิชาพื้นฐาน
Newton’s Second Law Chapter 13 Section 2 Part 2.
ทิศทางการพัฒนาระบบบริการสุขภาพ
(ตามหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช 2546)
วิทยาลัยโลจิสติกส์และซัพพลายเชน College of Logistics and Supply Chain
การบังคับใช้กฎหมาย (Law Enforcement)
พระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. 2540
สรุปผลการตรวจสอบ รายงานการจัดการพลังงาน ประจำปี 2554มี ความครบถ้วนและถูกต้องตามที่กฎกระทรวงฯ และประกาศกระทรวงฯ กำหนดทุกประการ.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การถ่ายทอดพลังงานของระบบนิเวศ

การถ่ายทอดพลังงาน ของระบบนิเวศ การถ่ายทอดพลังงานในระบบนิเวศ คือ การบริโภคเป็นขั้นๆ ผู้ผลิต ผู้ย่อยสลายอินทรียสาร การกินในแต่ละขั้นนั้น ผู้บริโภคจะได้รับพลังงานเพียง 10% มาใช้สร้างเนื้อเยื่อ เติบโต และสืบพันธุ์ เรียกว่า กฎ 10% ส่วน ที่เหลือนั้นสูญเสียไปในกระบวนการหายใจ ขับถ่าย หรือใช้ไม่ได้

การถ่ายทอดพลังงานในระบบนิเวศมี 2 ลักษณะ 1. โซ่อาหาร (Food chain) 2. สายใยอาหาร (Food web)

1. โซ่อาหาร (Food chain) การกินต่อกันเป็นทอดๆ เขียนเป็นลูกศรต่อกัน แบ่งออกเป็น 4 แบบ ดังนี้ 1.1 ห่วงโซ่อาหารแบบผู้ล่า (Predator food chain) 1.2 ห่วงโซ่อาหารแบบปรสิต (Parasitic food chain) 1.3 ห่วงโซ่อาหารแบบซากอินทรีย์/ย่อยสลาย (Detritus food chain)

1.1ห่วงโซ่อาหารแบบผู้ล่า(Predator chain) มีการจับกินกันในแต่ละขั้น โดยเริ่มจากผู้ผลิตไปยังผู้บริโภคลำดับต่างๆ หญ้า วัว เสือ ผัก หนอน นก แมว

1.2 ห่วงโซ่อาหารแบบปรสิต (Parasitic chain) มีการจับกินกันในแต่ละขั้น โดยเริ่มจากผู้ถูกอาศัย (Host)จะถูกเบียดเบียนโดยปรสิต (Parasite) ซึ่งมีขนาดเล็กกว่า ไก่ ไรไก่ แบคทีเรีย ไวรัส (Bacteriophage)

1.3 ห่วงโซ่อาหารแบบเศษอินทรีย์ (Detritus chain) มีการจับกินกันในแต่ละขั้น เริ่มจากซากพืชซากสัตว์ที่ถูกกินโดยผู้บริโภคซาก และถูกจับกินไปเป็นขั้นๆ ซากสัตว์ หนอนแมลงวัน ปลา ซากพืช ไส้เดือน ไก่ สุนัข

ตัวอย่าง ความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตในรูปของห่วงโซ่อาหาร จากแผนภาพ จะสังเกตเห็นว่า การกินต่อกันเป็นทอด ๆ ในห่วงโซ่อาหารนี้ เริ่มต้นที่ ต้นข้าว  ตามด้วย ตั๊กแตน มากินใบของต้นข้าว กบ มากินตั๊กแตน  และ เหยี่ยว มากินกบ จากลำดับขั้นในการกินต่อกันนี้ สามารถอธิบายได้ว่า

ตัวอย่าง ความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตในรูปของห่วงโซ่อาหาร ต้นข้าว นับเป็นผู้ผลิตในห่วงโซ่อาหารนี้ เนื่องจากต้นข้าว  เป็นพืชซึ่งสามารถสร้างอาหารได้เองโดยใช้กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง

ตัวอย่าง ความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตในรูปของห่วงโซ่อาหาร ตั๊กแตน นับเป็นผู้บริโภคลำดับที่ 1 เนื่องจาก ตั๊กแตนเป็นสัตว์ลำดับแรกที่บริโภคข้าวซึ่งเป็นผู้ผลิต

ตัวอย่าง ความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตในรูปของห่วงโซ่อาหาร กบ นับเป็นผู้บริโภคลำดับที่ 2  เนื่องจาก กบจับตั๊กแตนกินเป็นอาหาร หลังจากที่ตั๊กแตนกินต้นข้าวไปแล้ว

ตัวอย่าง ความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตในรูปของห่วงโซ่อาหาร เหยี่ยว เป็นผู้บริโภคลำดับสุดท้าย เนื่องจากเหยี่ยวจับกบกินเป็นอาหาร และในโซ่อาหารนี้ไม่มีสัตว์อื่นมาจับเหยี่ยวกิน

2. สายใยอาหาร (Food Web) เป็นห่วงโซ่อาหารที่มีการจับกินกันเป็นทอดๆอย่างหลากหลาย ไม่เป็นเส้นตรง โดยสิ่งมีชีวิตชนิดหนึ่งสามารถกินสิ่งมีชีวิตอื่นๆได้หลายชนิด และสามารถถูกจับกินได้โดยสิ่งมีชีวิตอื่นๆได้อีกด้วย

ความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตในรูปของสายใยอาหาร

พีระมิดทางนิเวศวิทยา จากการที่โซ่อาหารแต่ละสายมีชนิดและปริมาณของสิ่งมีชีวิต แต่ละลำดับขั้นของการกินมากน้อยต่างกัน สามารถเขียนความสัมพันธ์แต่ละลำดับขั้นได้ในรูปของพีระมิด เรียกว่า พีระมิดทางนิเวศวิทยา(ecological pyramid) สามารถจำแนกได้เป็น 3 แบบ คือ พีระมิดจำนวน(pyramid of number) พีระมิดมวลชีวภาพ(pyramid of biomass) พีระมิดปริมาณพลังงาน(pyramid of energy)

พีระมิดทางนิเวศวิทยา 1. พีระมิดจำนวน (pyramid of numbers) ผู้ผลิตจะมีจำนวนมากกว่าผู้บริโภค และผู้บริโภคลำดับ 1 จะมีจำนวนมากกว่าผู้บริโภคลำดับ 2 ผู้บริโภคลำดับสุดท้ายของโซ่อาหารจะมีจำนวนน้อยที่สุด

ตัวอย่าง พีระมิดจำนวน (pyramid of numbers)

พีระมิดทางนิเวศวิทยา 2. พีระมิดมวลชีวภาพ(pyramid of biomass) เป็นการคาดคะเนมวลของน้ำหนักแห้งของสิ่งมีชีวิตที่ถ่ายทอดพลังงานตามลำดับในโซ่อาหารแทนการนับจำนวน เพราะจำนวนของสิ่งมีชีวิตอาจคลาดเคลื่อนได้ เนื่องจากขนาดของสิ่งมีชีวิตต่างกัน

ตัวอย่าง พีระมิดมวลชีวภาพ (pyramid of biomass) ต้นส้ม : 800 กรัม/ตารางเมตร หนอน: 20 กรัม/ตารางเมตร นก: 11 กรัม/ตารางเมตร งู: 2 กรัม/ตารางเมตร ปลาใหญ่ : 25 กรัม/ตารางเมตร ปลาเล็ก : 30 กรัม/ตารางเมตร แพลงก์ตอนสัตว์: 40 กรัม/ตารางเมตร แพลงก์ตอนพืช: 15กรัม/ตารางเมตร ฐานแคบ ฐานกว้าง

พีระมิดทางนิเวศวิทยา 3. พีระมิดพลังงาน (pyramid of energy) เป็นพีระมิดที่แสดงอัตราการถ่ายทอดพลังงานในแต่ละลำดับขั้นของโซ่อาหาร โดยวัดเป็นปริมาณพลังงานต่อหน่วยพื้นที่ พีระมิดแบบนี้มีลักษณะฐานกว้างกว่ายอดเสมอ จึงไม่มีกลับหัว มีหน่วยเป็น Kcal

ตัวอย่าง พีระมิดพลังงาน (pyramid of energy)

พลังงานที่สิ่งมีชีวิต แต่ละลำดับขั้นในระบบนิเวศได้รับนั้น จะไม่เท่ากัน ตามหลักการของลินด์แมนกล่าวไว้ว่า 1. พลังงานที่ได้รับจากผู้ผลิตทุกๆ 100 ส่วน จะมีเพียง 10 ส่วนเท่านั้นที่ผู้บริโภคนำไปใช้ในการดำรงชีวิตและการเจริญเติบโต 2. พลังงานในผู้บริโภคแต่ละลำดับทุก ๆ 100 ส่วน จะถูกนำไป ใช้ได้แค่ 10 ส่วน เช่นกัน

พลังงานที่สิ่งมีชีวิต แต่ละลำดับขั้นในระบบนิเวศได้รับนั้น จะไม่เท่ากัน ตามหลักการของลินด์แมนกล่าวไว้ว่า พลังงานที่ถ่ายทอดจากสิ่งมีชีวิตหนึ่งไปยังอีกสิ่งมีชีวิตหนึ่งในแต่ละลำดับขั้นมีประมาณ 10% ทั้งหมด อีก 90% จะสูญเสียไปในรูปของพลังงานอื่นๆ เช่น ความร้อน การหายใจ

กฎสิบเปอร์เซ็นต์ (Law of ten percent) พลังงานที่ได้รับจากผู้ผลิตทุก ๆ ๑๐๐ ส่วน มี ๑๐ ส่วน ที่ผู้บริโภคนำไปใช้ได้ หลักการของลินด์แมน พลังงานในผู้บริโภคแต่ละลำดับทุก ๆ ๑๐๐ ส่วน จะถูกนำไปใช้ได้ ๑๐ ส่วน

กฎสิบเปอร์เซ็นต์ (Law of ten percent) พลังงานที่ได้รับจากผู้ผลิตทุกๆ 100 ส่วน จะมีเพียง 10 ส่วนเท่านั้นที่ผู้บริโภคนำไปใช้ในการดำรงชีวิตและการเจริญเติบโต ผู้ผลิต 100kg ผู้บริโภคพืช10kg ผู้บริโภคสัตว์1kg กินไม่ได้ ย่อยไม่ได้ ใช้หายใจ (มากที่สุด) สูญเสียไป 90% สูญเสียไป 90%

การถ่ายทอดพลังงานในโซ่อาหารตามหลักการของลินด์แมน จากภาพพลังงานอีก 90 ส่วน ในแต่ละลำดับขั้นของผู้บริโภคสูญหายไปไหน พลังงานที่สูญไป 90 ส่วน คือ 1. ส่วนที่กินไม่ได้ หรือ กินได้ย่อยไม่ได้เป็นกากอาหาร 2. สูญเสียออกมาในรูปของพลังงานความร้อน