งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

สรุปรายงานการตรวจนิเทศงานกระทรวงสาธารณสุข รอบที่ 1/ จังหวัดกาญจนบุรี

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "สรุปรายงานการตรวจนิเทศงานกระทรวงสาธารณสุข รอบที่ 1/ จังหวัดกาญจนบุรี"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 สรุปรายงานการตรวจนิเทศงานกระทรวงสาธารณสุข รอบที่ 1/2559 จังหวัดกาญจนบุรี
คณะที่ 4.2 แผนงานคุ้มครองผู้บริโภคและสิ่งแวดล้อม คณะที่ 5 แผนขยะและสิ่งแวดล้อม

2 1 2 3 4 มาตรการ59 สถานการณ์ สิ่งท้าทาย
สรุปผลการตรวจนิเทศราชการปกติ กระทรวงสาธารณสุข คณะที่ 4 และ 5 ปี 2559 จังหวัดกาญจนบุรี รอบที่ 1 มาตรการ59 สถานการณ์ สิ่งท้าทาย ขยะสะสมอันดับ 3 ของประเทศ ที่ 1ของเขต ที่กำจัด 43 แห่ง (อปท38 เอกชน5) กำจัดถูกต้อง4 แห่ง อปท ออกข้อกำหนดจัดการ 31 แห่งจาก 49 แห่ง ผ่านEHA แห่ง 1 *ขยะทั่วไปสะสมสูงและกำจัดกำจัดไม่ได้มาตรฐาน *ต้องพัฒนาระบบการจัดการขยะติดเชื้อของสถานบริการสาธารณสุข *การเพิ่มขึ้นของขยะติดเชื้อในชุมชน (ผู้สูงอายุติดเตียง) และพื้นที่ห่างไกล ส่งผลต่อระบบการบริหารจัดการ *การจัดการมูลฝอยติดเชื้อเป็นกฎหมาย ต้องนำสู่การปฏิบัติจริงจัง โดยต้องเร่งรัดการกำกับโดยผ่านอนุกรรมการสาธารณสุขจังหวัด (อสธจ.) ให้เป็นมาตรการของจังหวัด *ระบบการเฝ้าระวัง สือสาร และการศึกษาผลกระทบต่อสุขภาพของพื้นที่ห้วยคริสตี้ *เร่งรัดEHA4001 ให้ได้ 25% *บังคับใช้กฎหมายผ่าน อสธจ *พัฒนาต้นแบบจังหวัดละ 1 แห่ง *สร้างศักยภาพให้ อปท อสม *จัดทำฐานข้อมูล เฉลี่ย 33,167 Kg/เดือน ใน รพ 141 รพสต 144 สถานพยาบาลเอกชนและจากชุมชน(ติดเตียง) รพ ของรัฐ รวบรวม ขนส่ง กำจัดถูกต้อง 12 แห่ง ยกเว้น อ.สังขละ เผาเอง และที่ อ.ศรีสวัสดิ์ 2 แห่งเผาไม่ถูกต้อง Cup ยังบูรณาการจัดการไม่ครบทั้งหมด รวมขยะจากชุมชน 2 *เร่งประเมินตามกฎกระทรวงฯ *เร่งรัดการดำเนินการผ่าน อสธจ *พัฒนาต้นแบบการจัดการครบวงจร *สร้างศักยภาพให้ อปท จนท รพ ฯ *จัดทำฐานข้อมูล ยังพบตะกั่วสูงในตะกอนดินในลำห้วยโดยเฉพาะฤดูฝนและอยู่ใต้เหมือง พบในหอย ปู ปลา และผักสด ยังพบในเด็ก(อายุ<15ปี)ลดลงในผู้ใหญ่ ห้ามทาน ปู หอย ปลาทานได้(พุงห้าม) น้ำในลำห้วยบริโภคได้(ควรต้ม) ประปาภูเขาบริโภคได้ ส่วนใหญ่ใช้น้ำฝนและน้ำถังที่จำหน่ายในชุมชน *สุ่มตรวจเลือดกลุ่มเสี่ยง *ทำแผนการสื่อสารและให้ความรู้ *ทำแผนการเฝ้าระวังปัจจัยเสี่ยง 3 ปี 2558 มีการประชุม 1 ครั้ง 4 มาตรการ อสธจ : ประชุม 3ครั้ง/ปี มีมติด้าน อวล อย่างน้อย 2 เรื่อง และการติดตาม

3 การจัดบริการเวชกรรมสิ่งแวดล้อมพื้นที่เสี่ยง Hot Zone
สิ่งที่พบ สิ่งที่ควรดำเนินการต่อและพัฒนาต่อ สถานการณ์ : ปัญหาขยะทั่วไป มีปริมาณขยะมูลฝอยทั่วไปสะสมอันดับ 3ของประเทศ ปริมาณสูงสุดต่อวันที่เทศบาลปากแพรก(43,000 กก./วัน) และ ร้อยละ 50 เป็นขยะทั่วไปประเภทเศษอาหาร ปัญหาพื้นที่มลพิษสิ่งแวดล้อม : การปนเปื้อนสารตะกั่วลำห้วยคลิตี้ พ.ศ ปัจจุบัน พบการปนเปื้อนสารตะกั่ว ตลอดลำห้วยคลิตี้ ระดับสารตะกั่วเกินค่ามาตรฐาน ที่พืชผักบางชนิด สัตว์น้ำผิวดินและตะกอนดินท้องน้ำ ระดับสารตะกั่วในเลือดประชาชน พบ ภาพรวมมีแนวโน้มลดลง การจัดบริการเวชกรรมสิ่งแวดล้อม (ดำเนินการที่รพ.พหลฯ และรพ.ทองภาภูมิ) ดำเนินการได้ไม่ครอบคลุมทุกประเด็นของแนวทาง โดยเฉพาะประเด็นการวินิจฉัยรักษาและการบริหารจัดการ พื้นที่มลพิษสิ่งแวดล้อม ควรเพิ่มการสื่อสารความเสี่ยงและสร้างความร่วมมือในการเฝ้าระวังโรคในพื้นที่เสี่ยง โดยสร้างความร่วมมือร่วมกันระหว่าง รพ.ทองผาภูมิ, รพ.สต.บ้านทุ่งเสือโทน, อสม., ผู้นำท้องถิ่นและแกนนำเยาวชนในพื้นที่ โดยร่วมกันดำเนินงานสื่อสารความเสี่ยง และติดตามการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เพื่อเฝ้าระวังสภาวะสุขภาพของประชาชนในพื้นที่ ควรประเมินความเสี่ยงในแต่ละพื้นที่โดยเชื่อมโยงข้อมูลด้านต่างๆ ที่เกี่ยวข้องได้แก่ ข้อมูลสิ่งแวดล้อม สุขภาพ ภูมิศาสตร์และพฤติกรรมส่วนบุคคล และนำผลการประเมินความเสี่ยงที่ได้มาวางแผนในการจัดกิจกรรม เฝ้าระวังป้องกันควบคุมโรคให้เหมาะสม สอดคล้องตามระดับความเสี่ยงในแต่ละพื้นที่ การจัดบริการเวชกรรมสิ่งแวดล้อม ควรกำหนดบทบาทของหน่วยงานสาธารณสุขที่เกี่ยวข้องให้ชัดเจนและสนับสนุนการดำเนินงาน เช่น กรณีไม่มีแพทย์เฉพาะทางที่โรงพยาบาลเป้าหมาย ควรมีแนวทางในการส่งต่อปรึกษาแพทย์เฉพาะทาง(อาชีวเวชศาสตร์) แผนงาน/โครงการที่ดำเนินการ มีแผนงานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมที่เป็นปัญหาในพื้นที่ :ขยะ (กิจกรรม :1.ประเมินความเสี่ยง 2.คัดกรองสุขภาพประชาชนรอบบ่อขยะ ผู้คุ้ยเขี่ยขยะ และพนักงานขนย้ายขยะ 3.จัดทำแผนที่เฝ้าระวังสุขภาพ) มีแผนงานโครงการเฝ้าระวังผลกระทบต่อสุขภาพจากการปนเปื้อนสารตะกั่วจากลำห้วยคลิตี้ (กิจกรรม : 1.เฝ้าระวังสุขภาพ 2.สื่อสารความเสี่ยง 3.จัดทำแผนที่เฝ้าระวังสุขภาพ) ปัญหาและอุปสรรคในปีที่ผ่านมา ไม่มีแพทย์เฉพาะทางในโรงพยาบาลเป้าหมายการจัดบริการฯ

4 ลงพื้นที่ รพสต ลาดหญ้า ดูการจัดการขยะติดเชื้อ
วันที่ 20 มค 2559 เวลา – 17.00 *ทราบระบบการจัดการของรพสต ต่อการจัดการมูลฝอยติดเชื้อโดยการให้บริษัทมารับไปกำจัด *ทราบว่ามีคนสูงอายุติดเตียง ผลิตขยะติดเชื้อ และมีการให้คนดูแลนำขยะมาให้ รพสต *ยินดีเป็นจุดรวมขยะติดเชื้อให้เครือข่ายอีก 7 รพสต โดยการจัดรถยนต์รับขยะตามวันนัด

5 การตรวจเยี่ยมถนนอาหารที่กำลังพัฒนา
วันที่ 20 มค 2559 เวลา – 23.00 8 จังหวัด Food Safety มิติสิ่งแวดล้อม มิติเศรษฐกิจ มิติสังคม ตรวจเยี่ยมเครือข่ายถนนอาหาร ครั้งที่1 ครั้งที่2 *การมอบป้ายรับรองถนนอาหาร *การติดป้ายรับรองจะทำอาหารให้ปลอดภัยต่อประชาชน(ผปค+ผตร) *เสนอข่าวและพิธีมอบป้าย

6 เยี่ยม รพ เจ้าคุณไพบูลย์ พนมทวน ติดตามงานอนามัยสิ่งแวดล้อม
วันที่ 21 มค 2559 เวลา – 17.00 *รพ มีระบบสิ่งแวดล้อมในโรงพยาบาลดีมาก(ผ่าน HAแล้ว) *ท่าน ผอ รพ เห็นด้วยที่จะมีการจัดการขยะติดเชื้อครบระบบใน Cup ที่รับผิดชอบ


ดาวน์โหลด ppt สรุปรายงานการตรวจนิเทศงานกระทรวงสาธารณสุข รอบที่ 1/ จังหวัดกาญจนบุรี

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google