งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

สิ่งแวดล้อมและ ผลกระทบจากกิจกรรมของมนุษย์

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "สิ่งแวดล้อมและ ผลกระทบจากกิจกรรมของมนุษย์"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 สิ่งแวดล้อมและ ผลกระทบจากกิจกรรมของมนุษย์
201114 Environmental Science in Today’s World อ.ดร.สุทธาธร ไชยเรืองศรี 2/2555

2 สิ่งแวดล้อมของมนุษย์ โลก
สิ่งแวดล้อมของมนุษย์ โลก

3 รู้จักกับโลกของเรา อายุ โลกของเราเกิดขึ้นเมื่อไร 4.6 พันล้านปีที่แล้ว
4.4 พันล้านปี zircon crystal in sediment แสดงว่าโลกมีอุณหภูมิที่ต่ำพอที่จะเกิดผลึกได้

4 รู้จักกับโลกของเรา สิ่งมีชีวิตเริ่มกำเนิดขึ้นบนโลกเมื่อไร
อายุ โลกของเราเกิดขึ้นเมื่อไร 4.6 พันล้านปีที่แล้ว สิ่งมีชีวิตเริ่มกำเนิดขึ้นบนโลกเมื่อไร 4.6 – 3.7 พันล้านปี Hadean ไม่มีสิ่งมีชีวิต พันล้านปี Archean  Bacteria, Archaea 3.5 พันล้านปี stromatolites

5 ทบทวนความรู้เกี่ยวกับโลกของเรา
อายุ โลกของเราเกิดขึ้นเมื่อไร 4.6 พันล้านปี สิ่งมีชีวิตเริ่มกำเนิดขึ้นบนโลกเมื่อไร พันล้านปี Archean  Bacteria, Archaea มนุษย์เกิดขึ้นบนโลกเมื่อไร 5.6 ล้านปีก่อน Ardipithecus 2.5 ล้านปีก่อน  Homo

6

7 ถ้าเทียบว่าสิ่งมีชีวิตเกิดขึ้นครั้งแรกเมื่อ 35 ปีก่อน
ไดโนเสาร์ เกิดขึ้นเมื่อ 2 ปีก่อน และ สูญพันธุ์ไปเมื่อปีที่แล้ว มนุษย์ เกิดขึ้นเมื่อ 4 วันก่อน และเพิ่งเริ่มรู้จักการทำการเกษตรเมื่อชั่วโมงที่แล้ว เครื่องจักร และอุตสาหกรรมต่างๆ เริ่มต้นเมื่อ 1 นาทีก่อนหน้านี้ และในช่วง 60 วินาที่ที่ผ่านมานี้มนุษย์ใช้ทรัพยากรธรรมชาติเกือบทั้งหมดที่มีอยู่บนโลก ก่อให้เกิดมลภาวะต่าง ๆมากมาย

8 องค์ประกอบ:ข้อใดเป็นองค์ประกอบของสิ่งแวดล้อมโลก
A. Atmosphere B. Hydrosphere C. Lithosphere D. Biosphere รู้จักกับโลกของเรา

9 รู้จักกับโลกของเรา บรรยากาศของโลกประกอบด้วยก๊าซหลายชนิด จงเรียงลำดับของก๊าซด้านล่างตามปริมาณในชั้นบรรยากาศจากมากไปน้อย พร้อมทั้งระบุปริมาณของก๊าซดังกล่าวโดยประมาณ N2 > O2 > CO2 > CH4 %

10 บรรยากาศของโลก/ดาวเคราะห์อื่นในสุริยะจักรวาลมีความแตกต่างกัน

11

12 รู้จักกับโลกของเรา ธาตุต่อไปนี้เป็นองค์ประกอบหลักของสารเคมีชนิดใดในสิ่งมีชีวิต และ พบอยู่ในองค์ประกอบส่วนใดของโลก C, N atmosphere, hydrosphere, lithosphere O atmosphere, hydrosphere P lithosphere, hydrosphere ธาตุเหล่านี้จะหมุนเวียนจากสิ่งแวดล้อมเข้าสู่สิ่งมีชีวิตด้วยกระบวนการใด วัฏจักร คาร์บอน ไนโตรเจน ฟอสฟอรัส และน้ำ

13 รู้จักกับโลกของเรา ในปัจจุบันประชากรมนุษย์มีจำนวนเท่าไร และทวีปใดมีจำนวนประชากรสูงที่สุด 7,000,000,000 คน เมื่อวันที่ 31 ตุลาคม 2554

14 โลก ซึ่งเป็นสิ่งแวดล้อมของมนุษย์มีการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา ในปัจจุบันมนุษย์เป็นหนึ่งในสาเหตุสำคัญที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงดังกล่าว หนึ่งในทฤษฎีที่ทำให้เราตระหนักถึงความเกี่ยวโยงที่สำคัญระหว่างโลก และ สิ่งมีชีวิตที่อยู่บนโลกรวมถึงมนุษย์ได้ แก่ “Gaia Theory”

15 รู้จักกับโลกของเราผ่าน Gaia Theory
James Lovelock “โลกเป็นสิ่งมีชีวิต”

16 โลก มีชีวิต?? ลักษณะของสิ่งมีชีวิต ต้องการพลังงาน
เจริญเติบโต/สืบพันธุ์ มีความสามารถในการรักษาสมดุลในตัวเอง ขอบเขต (boundary)

17 สิ่งมีชีวิต??? ต้องการอาหาร ใช้พลังงาน เจริญเติบโต/สืบพันธุ์
มีความสามารถในการรักษาสมดุลในตัวเอง ขอบเขต (boundary)

18 สิ่งมีชีวิตคืออะไร??? The Physicist’s view
สิ่งมีชีวิตเป็นระบบที่ต้องการพลังงานจากภายนอกเข้าไปเพื่อรักษาลด entropy จากนั้นจึงปล่อยพลังงานคุณภาพต่ำที่เหลือออกมา The Neo Darwinist’s view คุณสมบัติของสารชีวโมเลกุลทำให้สิ่งมีชีวิตสามารถเจริญเติบโต และ เพิ่มจำนวนได้ (สืบพันธุ์) ข้อผิดพลาดใดๆที่เกิดขึ้นจากการเพิ่มจำนวนของสิ่งมีชีวิตจะถูกกำจัดไปด้วยกระบวนการ natural selection The Biochemist’s view สิ่งมีชีวิตสามารถใช้พลังงาน (เช่น แสงอาทิตย์ หรือ อาหาร) ในการเจริญเติบโตโดยขึ้นกับลักษณะที่กำหนดไว้ตามพันธุกรรม

19 Gaia = the Mother Earth Gaia is the name of the Earth seen as a single physiological system, an entity that is alive at least to the extent that, like other living organisms, its chemical and temperature are self-regulated at a state favorable for its inhabitants. James Lovelock, 2000 Gaia theory เริ่มพัฒนาขึ้นครั้งแรกในปี 1969 โดยเริ่มจากคิดว่าสิ่งมีชีวิต เป็นตัวกำหนดสภาพแวดล้อม แต่ในปัจจุบันเชื่อว่าสื่งมีชีวิต และ สิ่งแวดล้อมมีวิวัฒนาการไปพร้อม ๆ กัน

20 Gaia = the Mother Earth James Lovelock, 1969
สิ่งมีชีวิต เป็นตัวกำหนดสภาพแวดล้อม สื่งมีชีวิต และ สิ่งแวดล้อมมีวิวัฒนาการไปพร้อม ๆ กัน Gaia theory เริ่มพัฒนาขึ้นครั้งแรกในปี 1969 โดยเริ่มจากแนวคิดว่าสิ่งมีชีวิต เป็นตัวกำหนดสภาพแวดล้อมแต่ในปัจจุบันเชื่อว่าสิ่งมีชีวิต และ สิ่งแวดล้อมมีวิวัฒนาการไปพร้อม ๆ กัน

21 Black daisy = ดูดซับแสงเพื่อใช้ในการสังเคราะห์แสงได้ดี คายความร็อนมาก
White daisy = สะท้อนแสง ทนอยู่ในที่ที่แสงจัดและร้อนได้ดีกว่า กราฟแสดงอุณหภูมิของ daisy world เส้นประ ไม่มีสิ่งมีชีวิต, เส้นทึบ มีสิ่งมีชีวิค

22 Homeostasis ของโลก อุณหภูมิเฉลี่ยของบรรยากาศโลก
ตั้งแต่ชีวิตกำเนิดขึ้น บนโลกพลังงานจาก ดวงอาทิตย์เพิ่มจาก % เป็น 35% แต่อุณหภูมิเฉลี่ยของ โลกไม่เปลี่ยนแปลง

23 Homeostasis ของโลก % 78 21 0.03 10-4 2. องค์ประกอบของบรรยากาศ
N2 > O2 > CO2 > CH4 % ออกซิเจนเป็นกาซที่ไวต่อการเกิดปฏิกิริยามาก และช่วยให้ไฟติด ถ้าในบรรยากาศมีออกซิเจนเพิ่มขึ้นเพียง 4% บรรยากาศของโลกจะลุกเป็น ไฟ ดังนั้นในบรรยากาศไม่ควรมี มีเทน (CH4) อยู่มากเพราะจะติดไฟได้

24 Homeostasis ของโลก 3. ระดับความเค็มของน้ำทะเล ระดับความเค็มอยู่ที่ 3.4% ถึงแม้ว่าแม่น้ำจะพัดพาเกลือลงมาเพิ่มตลอดเวลา ยังไม่มีหลักฐานชัดเจนว่าทะเลรักษาระดับความเค็มไว้ได้อย่างไรแต่คาดว่าน่าจะเป็นผลมาจากสิ่งมีชีวิต

25 ถ้าโลกเป็นสิ่งมีชีวิต มนุษย์ที่อาศัยอยู่บนโลกจะเป็นอะไร???
ถ้าโลกเป็นสิ่งมีชีวิต มนุษย์ที่อาศัยอยู่บนโลกจะเป็นอะไร???

26 Symbiont /Parasite/ Disease
สิ่งที่เกิดขึ้นเมื่อมีสิ่งมีชีวิตแปลกปลอมเข้ามาในร่างกาย สิ่งที่เข้ามาอาศัยทำลาย Host Chronic infection  long war Host กำจัดสิ่งที่เข้ามาอาศัย Symbiosis relationship เราจะเลือกทางไหน???

27 การพัฒนาของมนุษย์ และผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม

28 การเปลี่ยนแปลงที่สำคัญในวัฒนธรรมของมนุษย์
Hunting and Gathering Societies สังคมการล่า และ เก็บหาของป่า Agricultural Societies สังคมการเกษตร Industrial Societies สังคมอุตสาหกรรม Hominid 5 million First homo group 2.6 mil Homo habilis Homo erectus 1.8 mil Homo sapians 0.2 mil

29 Hunting and Gathering Societies
Early hunter and gaterers ~ 2.5 ล้านปีก่อน ล่า และ เก็บหาของป่า จำนวนประชากรน้อย อาศัยเป็นกลุ่มเล็ก ๆ (<50) จำนวนประชากรถูกควบคุมด้วย อัตราการตายของทารกสูง อายุขัยสั้น (30 ปี) ส่วนใหญ่ตายจากโรคติดเชื้อ ช่วงที่แม่ให้นมลูก (3-4 ปี) จึงทำให้ควบคุมจำนวนเด็กที่จะเกิดใหม่ กลุ่มไม่ใหญ่มากเนื่องจากต้องให้เพียงพอกับปริมาณอาหารที่หาได้ในระยะการเดินหาของป่าในแต่ละวัน แหล่งอาหารในแต่ละวันจะมาจากผู้หญิงและเด็ก มากกว่าการล่าของผู้ชาย

30 Hunting and Gathering Societies
Early hunter and gaterers เริ่มใช้เครื่องมือหิน โดย Homo erectus จะมีการเลือกชนิดหินที่ใช้เฉพาะเจาะจงมากขึ้นกว่า H. habilis จำนวนประชากรถูกควบคุมด้วย อัตราการตายของทารก อายุขัยสั้น (30 ปี)ส่วนใหญ่ตายจากโรคติดเชื้อ ช่วงที่แม่ให้นมลูก (3-4 ปี)จึงทำให้ควบคุมจำนวนเด็กที่จะเกิดใหม่ กลุ่มไม่ใหญ่มากเนื่องจากต้องให้เพียงพอกับปริมาณอาหารที่หาได้ในระยะการเดินหาของป่าในแต่ละวัน แหล่งอาหารในแต่ละวันจะมาจากผู้หญิงและเด็ก มากกว่าการล่าของผู้ชาย 2.6 m.yr. เครื่องมือของ Homo habilis = the handy man เครื่องมือของ Homo erectus 1.8 m.yr.

31 Hunting and Gathering Societies
Early hunter and gaterers 800,000 ปีก่อน เริ่มมีการใช้ไฟ และเกิดการเปลี่ยนแปลงเกี่ยวกับอาหาร

32 Hunting and Gathering Societies
Early hunter and gaterers’ impact on the environment มนุษย์ในยุคนี้หาอาหารเพียงเพื่อดำรงชีวิต และมีจำนวนประชากรน้อยทำให้ผลกระทบ ที่เกิดขึ้นกับสิ่งแวดล้อมไม่รุนแรงและ เป็นเฉพาะที่เท่านั้น

33 Hunting and Gathering Societies
Advanced hunter and gaterers 300,000 – 10,000 ปีก่อน จำนวนประชากร ~1 ล้านคน ล่า และ เก็บหาของป่า โดยมีเครื่องมือที่มีการพัฒนาขึ้น เช่น หอก ธนู มีการกระจายออกจาก ทวีปแอฟริกาไปยังทวีปอื่นๆ เครื่องมือของ Homo sapiens

34 Hunting and Gathering Societies
Advanced hunter and gaterers’ impacts on the environment ด้วยเครื่องมือที่มีประสิทธิภาพทำให้การล่าทำได้ดีขึ้น และย่อมทำให้มีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมมากขึ้น “การสูญพันธุ์ของสิ่งมีชีวิต”

35 Homo’s route of migration
12000 15000 60000 Time in year before present day 53000 13000 อะไรคือผลกระทบที่เกิดขึ้นจากการอพยพของมนุษย์เข้าไปในพื้นที่ต่างๆ?

36 Australia มนุษย์ไปถึงเมื่อประมาณ 60,000-53,000ปีก่อน
สัตว์ที่มีถุงหน้าท้องขนาดใหญ่ (Marsupial) รวมถึงนกขนาดใหญ่ของทวีปออสเตรเลียสูญพันธุ์ไปในช่วง ปีก่อน

37 North America: Clovis Culture
~12000 ปีก่อน พบอยู่ในเขตทวีปอเมริกาเหนือ

38 การสูญพันธุ์ของสัตว์ในทวีปอเมริกาเหนือ

39 การสูญพันธุ์ของสัตว์ 2 ชนิดนี้เกิดขึ้นจากการแข่งขันกับมนุษย์
การสูญพันธุ์ของ California Condor and Saber tooth cat การสูญพันธุ์ของสัตว์ 2 ชนิดนี้เกิดขึ้นจากการแข่งขันกับมนุษย์

40 Hunting and Gathering Societies
Advanced hunter and gaterers’ impacts on the environment จำนวนประชากรที่ยังน้อยอยู่ทำให้ความรุนแรงของผลกระทบยังไม่มากนัก

41 Agricultural Society Early Pastoralists and horticulturists
~10,000 ปีที่แล้ว เริ่มการนำ สัตว์และพืช จากป่ามาเพาะเลี้ยง (จุดเริ่มต้นของสัตว์เลี้ยง และพืชเกษตรในปัจจุบัน) โดยทำเป็นการเกษตรขนาดเล็ก ๆใกล้บ้าน การพัฒนาในเรื่องนี้เกิดขึ้นใกล้เคียงกันในหลาย ๆ พื้นที่ แต่คาดว่าพื้นที่ที่เก่าแก่ที่สุดน่าจะอยู่ในเขตป่าเขตร้อนของไทย พม่า และอินเดียตะวันออก พืชเกษตรที่ปลูก เช่น มัน เผือก ฯลฯ โดยปลูกแทรกระหว่างต้นไม้ในป่า

42 Agricultural Society Early Pastoralists and horticulturists
เริ่มระบบการเกษตรแบบไร่หมุนเวียน มีการเผาเพื่อเตรียมพื้นที่ ใช้พื้นที่ 1 ปีจากนั้นปล่อยให้พื้นที่ฟื้นตัว ปี

43 ไร่หมุนเวียน กับ ผลกระทบต่อสภาพแวดล้อม
เป็นระบบที่ทำให้ระบบนิเวศมีโอกาสฟื้นตัวได้ดี เนื่องจากหลังเพาะปลูกพื้นที่จะถูกปล่อยให้กลับไปเป็นป่าอีกครั้ง ทำให้มีผลกระทบต่อสภาพแวดล้อมน้อย เหมาะกับจำนวนประชากรที่ไม่มากนัก

44 Agricultural Society Early Pastoralists and horticulturists
มนุษย์ในยุคนี้ยังก่อให้เกิดผลกระทบต่อสภาพแวดล้อมไม่มากนักเนื่องจากจำนวนประชากรยังน้อย และอุปกรณ์ที่ใช้สำหรับการเกษตรและการเลี้ยงปศุสัตว์ยังพัฒนาไม่มากจึงทำการเกษตรได้เพียงพื้นที่เล็ก ๆ

45 Agricultural Society Early Agriculturalists ~5000BC.
มีการพัฒนาเครื่องมือทำการเกษตรจากโลหะ และให้สัตว์ช่วยในการไถพรวน ทำให้สามารถทำการเกษตรในพื้นที่ที่ใหญ่ขึ้นได้ ในพื้นที่แห้งแล้งเริ่มมีระบบการให้น้ำ  ได้ผลผลิตมากขึ้น ผลผลิตที่มากขึ้นอาจพอสำหรับการสะสมไว้สำหรับช่วงที่มีภัยธรรมชาติ หรือ แบ่งขาย

46 Agricultural Society Agricultural based urban society
ผลผลิตทางการเกษตรที่เพิ่มขึ้น ทำให้จำนวนประชากรของมนุษย์เพิ่มขึ้น และมีการขยายพื้นที่ในการทำการเกษตรออกไปอีก มีการรวมกลุ่มกันของประชากรและขยายกลายเป็นเมืองในที่สุด เริ่มมีการผลิตของอื่นที่ไม่ใช่สินค้าจากการเกษตร เช่น ทอผ้า ปั้นหม้อ ทำเครื่องมือ เพื่อใช้แลกเปลี่ยน ตัวอย่างเมืองที่มีการพัฒนาในยุคนี้เช่น เมอร์ดิเตอเรเนียน เมโสโปเตเมีย และ อียิปต์

47 Egypt (3000BC.)

48 Agricultural Society Impacts on the environment
สิ่งแวดล้อมได้รับผลกระทบมากขึ้น มีการทำลายป่า และนำทุ่งหญ้ามาใช้เป็นพื้นที่เกษตรกรรมไม้ถูกนำมาใช้เป็นเชื้อเพลิง และสร้างที่อยู่อาศัยสำหรับประชากรที่เพิ่มขึ้น พืชและสัตว์จำนวนมากสูญพันธุ์เนื่องจากพื้นที่อาศัยที่เปลี่ยนไป เริ่มมีปัญหาการเสื่อมโทรมของพื้นดิน และ พื้นที่เลี้ยงสัตว์ การอยู่รวมกันของคนจำนวนมากทำให้เกิดการสะสมของเสียในพื้นที่เมือง และทำให้เกิดโรคระบาด

49 Industrial Society ยุคปฏิวัติอุตสาหกรรม เริ่มจากกลางศตวรรษที่ 18
เครื่องจักรไอน้ำที่ใช้ถ่านหินเป็นเชื้อเพลิง  เรือ รถ เข้ามาแทนที่พาหนะที่ใช้แรงจากสัตว์ จากถ่านหิน  น้ำมัน  ก๊าซ : พลังงานที่ใช้ต่อคนเพิ่มขึ้น พร้อมกับผลผลิตที่เพิ่มขึ้นในระบบการผลิตแบบอุตสาหกรรม

50 Industrial Society หลังจากสงครามโลกครั้งที่ 2 เครื่องจักรต่าง ๆ ได้รับการพัฒนาให้มีประสิทธิภาพมากขึ้นด้วยความรู้ทางวิทยาศาสตร์ การแพทย์ที่พัฒนาทำให้จำนวนประชากรเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว

51 เริ่มต้นการปลูกพืชและเลี้ยงสัตว์

52 http://www. aljazeera. com/indepth/features/2012/06/20126191060849944

53 Industrial society and the impact on environment
ความต้องการทรัพยากร ประชากรที่เพิ่มขึ้น มลพิษจากของเสีย

54 ผลกระทบต่อ ความหลากหลายทางธรรมชาติ
อะไรเกิดขึ้นกับสิ่งมีชีวิตที่อยู่บนโลกร่วมกับเรา

55 การสูญพันธุ์ของสิ่งมีชีวิต
การสูญพันธุ์เป็นหนึ่งในกระบวนการธรรมชาติที่เกิดขึ้นบนโลก >90% ของสิ่งมีชีวิตที่เคยอยู่บนโลกสูญพันธุ์ไปแล้ว

56 1st -5th Mass Extinctions

57 The sixth mass extinction

58 อัตราการสูญพันธุ์ในช่วง 500 ปีที่ผ่านมา
สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมอย่างน้อย 88 ชนิด 52% เป็นสัตว์ฟันแทะ 3% เป็นกลุ่มไพรเมต ปลาอย่างน้อย 172 ชนิด หอย ชนิด แมลง ชนิด พืชดอก ชนิด

59 สาเหตุของการสูญพันธุ์
การทำลายถิ่นอาศัย

60 มนุษย์กับป่าไม้ ป่าไม้มีความหลากหลายทางชีวภาพสูงและเป็นแหล่งทรัพยากรทางชีวภาพที่สำคัญ อาหาร ยา ฯลฯ Ecological service ลดน้ำท่วม/ภัยแล้ง ป้องกันการพังทลายของดิน แหล่งสะสมคาร์บอน

61 การทำลายพื้นที่ป่า เพิ่มพื้นที่การเกษตรเพื่อผลิตอาหารรองรับประชากรจำนวนมาก แหล่งทรัพยากรไม้ ใช้พื้นที่เพื่อสร้างสิ่งก่อสร้าง

62

63

64 อัตราการทำลายต่อปี (%)
ป่าไม้เมืองไทย 53.3 % อัตราการทำลายต่อปี (%) พื้นที่ป่า ( KM2) 24.5 % ยกเลิกสัมปทานป่าไม้ YEAR

65 ผลจากการทำลายป่า หมายเลขสีดำแสดงปริมาณคาร์บอนที่ถูกสะสมไว้ในแหล่งต่างๆ ในหน่วยพันล้านตัน (2004) เลขสีม่วงแสดงปริมาณคาร์บอนที่เคลื่อนย้ายระหว่างแหล่งต่างๆในแต่ละปี

66 ผลจากการทำลายป่า การกัดเซาะหน้าดิน ดินพังทลาย
ความสามารถในการอุ้มน้ำน้อยลง ดินเสื่อม

67 ผลจากการทำลายป่า ภัยแล้ง น้ำท่วม (ผลต่อของวัฏจักรน้ำ)

68 สาเหตุของการสูญพันธุ์
การทำลายถิ่นอาศัย การใช้ประโยชน์จากมนุษย์

69 สาเหตุของการสูญพันธุ์
การทำลายถิ่นอาศัย การใช้ประโยชน์จากมนุษย์ การนำสิ่งมีชีวิตต่างถิ่นเข้ามาในพื้นที่

70 Alien species Non-Native species

71 Alien species Alien species Alien species Alien species

72 ปัญหาปลากดเกราะในพื้นที่ พัทยา-ชลบุรี

73 ดอกบัวตองในพื้นที่แม่ฮ่องสอน

74 ผลกระทบที่เกิดขึ้นจากชนิดพันธุ์ต่างถิ่น
Non invasive species Invasive species predator: ผู้ล่าในพื้นที่ competitor: แก่งแย่งกับสิ่งมีชีวิตในพื้นที่ habitat destructor: ทำลายพื้นที่อาศัย genetic pollution: ผสมกับชนิดพันธุ์ท้องถิ่น

75 สาเหตุของการสูญพันธุ์
การทำลายถิ่นอาศัย การใช้ประโยชน์จากมนุษย์ การนำสิ่งมีชีวิตต่างถิ่นเข้ามาในพื้นที่ มลพิษ โลมาแม่น้ำโขง

76 ผลกระทบจากกิจกรรมของมนุษย์ต่อวัฏจักรของน้ำ
ผลกระทบต่อน้ำหน้าดิน การเปลี่ยนแปลงของสิ่งปกคลุมดิน ทำให้ปริมาณน้ำบนผิวดิน (runoff) เพิ่มมากขึ้นในขณะที่น้ำที่ซึมลงสู่ใต้ดินน้อยลง

77 ผลกระทบจากกิจกรรมของมนุษย์ต่อวัฏจักรของน้ำ
ผลกระทบต่อน้ำหน้าดิน ผลกระทบจากภูมิอากาศของโลก Global warming น้ำระเหยมากขึ้น ปริมาณฝน/ความสม่ำเสมอ??? ฝนบางที่มาก แต่บางที่น้อยลง ในเขตร้อนบนเขาอากาศอุ่นขึ้นอาจมีผลให้ฝนบนพื้นที่สูงลดลง

78 ผลกระทบจากกิจกรรมของมนุษย์ต่อวัฏจักรของน้ำ
ผลกระทบต่อน้ำหน้าดิน ผลกระทบจากภูมิอากาศของโลก ผลจากมลพิษทางอากาศ Aerosol : สารที่เป็นแกนกลางทำให้เกิดการกลั่นตัวของไอน้ำเป็นเมฆ anthropogenic aerosol: sulfate (จากถ่านหิน) carbon

79 ผลกระทบจากกิจกรรมของมนุษย์ต่อวัฏจักรของน้ำ
ผลกระทบต่อน้ำหน้าดิน ผลกระทบจากภูมิอากาศของโลก ผลจากมลพิษทางอากาศ Aerosol เมื่อมีปริมาณมากเกินไปจะทำให้แสงอาทิตย์ผ่านลงมาได้น้อยลง อัตราการระเหยะลดลง ส่งผลให้ปริมาณน้ำฝน ลดลง อย่างไรก็ตามผลกระทบจะเป็นเฉพาะที่

80 ผลกระทบจากกิจกรรมของมนุษย์ต่อวัฏจักรของน้ำ
ผลกระทบต่อน้ำหน้าดิน ผลกระทบจากภูมิอากาศของโลก ผลจากมลพิษทางอากาศ การใช้น้ำ น้ำ การเกษตร อุตสาหกรรม ครัวเรือน การเปลี่ยนแปลงต่อแหล่งน้ำ (เขื่อน น้ำบาดาล) มลพิษในแหล่งน้ำ

81 แต่ละวันเราได้ก่อให้เกิดผลกระทบอะไรต่อสิ่งแวดล้อมของเราบ้าง?

82 ผลกระทบ กิจกรรม

83 เราใช้ทรัพยากรจากโลกมากแค่ไหนในการดำรงชีวิต
Ecological Footprint เราใช้ทรัพยากรจากโลกมากแค่ไหนในการดำรงชีวิต


ดาวน์โหลด ppt สิ่งแวดล้อมและ ผลกระทบจากกิจกรรมของมนุษย์

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google