Acquired heart disease: AHD

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โทร. ๐-๔๕๗๙-๕๐๖๑ “ สุขภาพดีวิถีไทย สมุนไพร ได้มาตรฐาน บริการประทับใจ”
Advertisements

ข้อมูลสถานการณ์ ระบาดวิทยา พฤศจิกายน 2557 กลุ่มงานควบคุมโรค.
นโยบายการดำเนินงาน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข ศ. นพ. รัชตะ รัชตะนาวิน และ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสาธารณสุข นพ. สมศักดิ์ ชุณหรัศมิ์
สถานการณ์โรคไข้เลือดออก จังหวัดนครปฐม ประจำเดือน กรกฎาคม 2555 ดร.นพ.ถวัลย์ พบลาภ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม.
ให้ความรู้ผู้ป่วยโรคไซนัสอักเสบ
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
การขัดเกลาทางสังคมซ้ำเพื่อสร้างพฤติกรรมการป้องกันการติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์ ของเยาวชนในศูนย์ฝึกและอบรมเด็กและเยาวชน ผู้วิจัย นภัสวรรณ บุญประเสริฐ หลักสูตรปริญญาศิลปศาสตรดุษฎี
สภาพและความต้องการของเด็กสถานพินิจเด็กและเยาวชนชาย:ศึกษากรณีบ้านมุทิตา
โรงพยาบาลอ่างทอง ชื่อผู้ติดต่อ นางรัตนา งิ้ววิจิตร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ กลุ่มงาน เวชกรรมสังคม โทรศัพท์ อีเมล์
ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบบริหารจัดการเพื่อสนับสนุนการจัดบริการสุขภาพ
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
รพ.พุทธมณฑล.
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนนทบุรี
โครเมี่ยม (Cr).
นโยบายด้านโรคติดต่อ ศ. คลินิกเกียรติคุณ นพ. ปิยะสกล สกลสัตยาทร รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข.
สำนักโรคติดต่อทั่วไป กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข.
รายงานการ ดำเนินงาน ศูนย์แนะแนวต้นแบบประจำสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษามัธยมศึกษา รายงานการ ดำเนินงาน ศูนย์แนะแนวต้นแบบประจำสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษามัธยมศึกษา.
ปรานอม ประทีปทวี 25/09/591 หน้าที่ของครูผู้นิเทศ สพม.5.
ง21101 การงานอาชีพและเทคโนโลยี ม. 1 เจตคติต่อการประกอบอาชีพ
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
การพัฒนาคุณภาพชีวิตในการทำงาน (Quality of Work Life)
ปัญหาสุขภาพผู้สูงอายุไทย 2547
การประเมินมาตรฐาน งานระบาดวิทยา ปี 2549
ข้อกำหนด/มาตรฐาน ด้านสุขาภิบาลอาหาร
สรุปแนวทางการดำเนินงานตามกลุ่มวัย
งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรคและภัยสุขภาพ
การส่งเสริมสุขภาพเด็กวัยเรียน
บัตรยิ้ม สร้างเสริมกำลังใจ
กลุ่มงานส่งเสริมสุขภาพ ข้อสั่งการ/ข้อเสนอแนะ
“การดูแลหญิงหลังคลอด และ ครอบครัวที่ติดเชื้อ เอช ไอ วี”
โดย ศรีปัญญา ม่วงเพ็ชร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
แนวทางการดำเนินงานเพื่อผู้สูงอายุ
การบริหารงานประชาสัมพันธ์ของจังหวัด : การประชาสัมพันธ์และการจัดการสื่อ
ผลการดำเนินงาน การบริหารจัดการประเมิน และดูแลผู้ป่วยก่อนกลับเข้าทำงาน
ยาที่ใช้ในโรคไตเรื้อรัง (Pharmacotherapy in CKD) ประกอบการประชุมอบรมพัฒนาศักยภาพพยาบาล หน่วยปฐมภูมิ เขต 3 ภญ.จันทกานต์ อภิสิทธิ์ศักดิ์ กลุ่มงานเภสัชกรรม.
ภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๖๐ ผู้สอน : คุณครูภาคภูมิ คล้ายทอง
ศูนย์อนามัยที่ 5 ราชบุรี
แนวทาง/เกณฑ์การประเมินโครงการฯ
บทที่ 4 การดูแลให้ได้รับการพักผ่อนและความปลอดภัย การจัดการสิ่งแวดล้อม การทำเตียง อ.กรวรรณ สุวรรณสาร.
การพัฒนาระบบการดูแลผู้รับบริการเพื่อตรวจรักษาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
Delirium พญ. พอใจ มหาเทพ 22 มีนาคม 2561.
กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ
โรคติดเชื้อไวรัสซิก้า
ชาลิณี ปิยะประสิทธิ์ สปสช.เขต 10 อุบลราชธานี 21 กันยายน 2560
วัฏจักรหิน วัฏจักรหิน : วัดวาอาราม หินงามบ้านเรา
ประชุม คปสจ.ประจำเดือนมิถุนายน ๒๕๕๙ MOTTO – กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ
คลินิกโรคติดเชื้อเด็ก โรงพยาบาลสรรพสิทธิประสงค์
Chapter 7 Nursing Care of the Child with Respiratory System
ทิศทางการดำเนินงานลดโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD)
การประชุมวิชาการครั้งที่ 5/2560
มะเร็งปากมดลูก โดย นางจุฑารัตน์ กองธรรม พยาบาลวิชาชีพ รพ.สต.บ้านโนนแต้
การดูแลผู้ป่วยแบบประคับประคอง
โครงการพัฒนารูปแบบการดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน : ชุมชนลดเสี่ยง ลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง.
ขดลวดพยุงสายยาง.
รู้เรื่องยา แท้งปลอดภัย
การติดตาม (Monitoring)
การประกาศเขตการให้ความช่วยเหลือผู้ประสบ ภัยพิบัติกรณีฉุกเฉิน ตามระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยเงินทดรองราชการเพื่อช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติกรณีฉุกเฉิน พ.ศ.
พัฒนาแผนงาน / ยุทธศาสตร์
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
การจัดการความรู้ สำนักชลประทานที่ 15
งานวิสัญญี รพร.เดชอุดม
Lean Management การลดขั้นตอนการนัดตรวจสุขภาพจิตของ นร.กพ
PRIMARY CARE PRIMARY CARE Primary care.
นพ.อภิศักดิ์ วิทยานุกูลลักษณ์ รพ.ธัญญารักษ์เชียงใหม่ กรมการแพทย์
ปัจจัยที่มีผลต่อสุขภาพ และ วิถีชีวิตเพื่อสุขภาพ
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
คุณต้องรู้ว่าคุณกำลังมีปัญหาอะไร?
MTRD 427 Radiation rotection - RSO
เครื่องขุดหลุมปลูกยาสูบ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Acquired heart disease: AHD RF RHD KD Rheumatic heart disease Rheumatic fever Kawasaki disease ผศ.กาญจนา ศิริเจริญวงศ์

วัตถุประสงค์การเรียนรู้ นักศึกษาสามารถ 1. อธิบายความหมาย พยาธิสรีรวิทยา ลักษณะอาการทางคลินิค การวินิจฉัย การรักษา ภาวะแทรกซ้อน ปัญหาของโรคหัวใจแต่กำเนิด โรคหัวใจที่เกิดขึ้นภายหลังและภาวะหัวใจวายได้ 2. สืบค้นข้อมูล คิดวิเคราะห์และเชื่อมโยงความรู้ในหัวข้อและสถานการณ์ที่กำหนดได้ 3. วิเคราะห์ปัญหาและวางแผนการพยาบาลในสถานการณ์ ครอบคลุมทั้งด้านร่างกาย จิตใจและจิตสังคมได้ 4. สามารถนำเสนอความรู้จากการสืบค้นในหัวข้อและสถานการณ์ที่กำหนดได้ ผศ.กาญจนา ศิริเจริญวงศ์

แนวคิดหลัก (core concept) Heart failure Infection Inflammation Immunity ผศ.กาญจนา ศิริเจริญวงศ์

ผศ.กาญจนา ศิริเจริญวงศ์

ผศ.กาญจนา ศิริเจริญวงศ์ * 07/16/96 Rheumatic Fever ความหมาย โรคที่มีการอักเสบของระบบภูมิคุ้มกันของร่างกาย ทำให้มีผลต่อเนื้อเยื่อเกี่ยวพัน (connective tissue ) เช่น หัวใจ ข้อ ผิวหนัง หลอดเลือดของระบบประสาทส่วนกลาง สาเหตุ B-hemolytic streptococcus gr. A ผศ.กาญจนา ศิริเจริญวงศ์ *

ผศ.กาญจนา ศิริเจริญวงศ์ พยาธิสรีรภาพ RF & RHD ผศ.กาญจนา ศิริเจริญวงศ์

autoimmune response/immune complexes * antigen abnormal antibody (ASO) autoimmune response/immune complexes aschoff body connective tissue 2 stage acute stage organs (inflam) second stage mitral v (scar) 07/16/96 พยาธิสรีรภาพ Rheumatic fever ผศ.กาญจนา ศิริเจริญวงศ์ *

ผศ.กาญจนา ศิริเจริญวงศ์ Rheumatic fever ผศ.กาญจนา ศิริเจริญวงศ์

ผศ.กาญจนา ศิริเจริญวงศ์

ผศ.กาญจนา ศิริเจริญวงศ์

ผศ.กาญจนา ศิริเจริญวงศ์ เกณฑ์การวินิจฉัย ผศ.กาญจนา ศิริเจริญวงศ์

Lab : acute phase reactions ระยะที่มีการอักเสบ * 07/16/96 Lab : acute phase reactions ระยะที่มีการอักเสบ ESR สูง (>20 mm./hr) ยกเว้นมี HF CRP ผลบวก Leukocytosis ผศ.กาญจนา ศิริเจริญวงศ์ *

Supportive evidence บ่งชี้ติดเชื้อ streptococcus * 07/16/96 Supportive evidence บ่งชี้ติดเชื้อ streptococcus ASO titer สูง ( ปกติ 0-120 todd unit) Throat swab culture พบเชื้อ B-hemolytic streptococcus gr. A previous Scarlet fever ผศ.กาญจนา ศิริเจริญวงศ์ *

ผศ.กาญจนา ศิริเจริญวงศ์ เกณฑ์วินิจฉัย - 2 major - 1 major + 2 minor + strep gr.A - Chorea - Previous RF/ RHD ผศ.กาญจนา ศิริเจริญวงศ์

ผศ.กาญจนา ศิริเจริญวงศ์

ผศ.กาญจนา ศิริเจริญวงศ์

ผศ.กาญจนา ศิริเจริญวงศ์ * 07/16/96 เป้าหมายการพยาบาล ระยะเฉียบพลัน ป้องกันภาวะหัวใจล้มเหลว ป้องกันการลุกลามของโรค ป้องกันภาวะแทรกซ้อนจากยา ระยะโรคสงบ ป้องกันการกลับเป็นซ้ำ การปรับตัวด้านจิตสังคม (โรคเรื้อรัง) ผศ.กาญจนา ศิริเจริญวงศ์ *

ผศ.กาญจนา ศิริเจริญวงศ์ * 07/16/96 ระยะเฉียบพลัน 1.1 ประเมินการทำงานหัวใจ เช่น ฟัง HR, sleeping pulse, BP, Lab ที่สำคัญ 1.2 ให้ยา antibiotic, anti-inflammatory 1.3 ให้ทำกิจกรรมบนเตียงตลอดเวลา 1.4 ลดการคั่งของน้ำ I/O, BW, low salt diet 1.5 ให้ความรู้เรื่องยาและฤทธิ์ข้างเคียง 1.6 hygiene care : tooth & mouth, genital organ, skin ผศ.กาญจนา ศิริเจริญวงศ์ *

ผศ.กาญจนา ศิริเจริญวงศ์ * 07/16/96 ระยะโรคสงบ 1.1 อาจได้ยา antibiotic, anti-platelet 1.2 ป้องกันการติดเชื้อซ้ำระบบหายใจ, ผิวหนัง 1.3 ให้ความรู้เรื่องยาและอาการข้างเคียง 1.4 สุขอนามัยร่างกาย 1.5 มาตรวจตามนัด 1.6 counselling / group support ผศ.กาญจนา ศิริเจริญวงศ์ *

ผศ.กาญจนา ศิริเจริญวงศ์ -ESR -ASO ผศ.กาญจนา ศิริเจริญวงศ์

ผศ.กาญจนา ศิริเจริญวงศ์

ผศ.กาญจนา ศิริเจริญวงศ์

ผศ.กาญจนา ศิริเจริญวงศ์

ผศ.กาญจนา ศิริเจริญวงศ์ วินิจฉัยการพยาบาล 1 ติดเชื้อ B-hemolytic streptococcus group A /ติดเชื้อเยื่อบุหัวใจ (ดูรายละเอียดในเรื่องไข้รูห์มาติค) ผศ.กาญจนา ศิริเจริญวงศ์

ผศ.กาญจนา ศิริเจริญวงศ์ วินิจฉัยการพยาบาล 2 เสี่ยงต่อเนื้อเยื่อขาดออกซิเจน เนื่องจากมีภาวะหัวใจวาย / อักเสบของหัวใจ&พยาธิสภาพของลิ้นหัวใจ (ดูเพิ่มเติมผู้ป่วยเด็กที่มีหัวใจวาย) เพิ่มเติมกิจการพยาบาล ให้ยาลดการอักเสบของกล้ามเนื้อหัวใจ เช่น - prednisalone (5 mg.) ASA (aspirin gr.V) * รับประทานหลังอาหารทันทีป้องกัน GI irritation ผศ.กาญจนา ศิริเจริญวงศ์

ผศ.กาญจนา ศิริเจริญวงศ์ วินิจฉัยการพยาบาล 4 บิดามารดาขาด / พร่องความรู้ในการดูแลที่บ้าน 1. การพักผ่อน-ทำกิจกรรมออกกำลังกายแขนขาเบาๆ 2. อาหารรสจืด มีแคลอรีและโปรตีนสูง 3. ป้องกันเป็นไข้รูห์มาติคซ้ำ -การแปรงฟันหลังมื้ออาหาร -แจ้งทันตแพทย์เป็นโรคหัวใจ (ATB ก่อนทำฟัน) 4. ให้ยาตามแผนฯ ASA , PGS เข้ากล้ามทุกเดือน ตรวจตามนัดทุกครั้ง อาการผิดปกติที่ต้องพบแพทย์ (ไข้ เจ็บคอ หัวใจเต้นแรงเร็ว หายใจเร็ว หอบ เขียวฯ) ผศ.กาญจนา ศิริเจริญวงศ์

ผศ.กาญจนา ศิริเจริญวงศ์

ผศ.กาญจนา ศิริเจริญวงศ์ (mucocutaneous lymph node syndrome) A form of vasculitis identified by an acute febrile illness with multiple systems affected and life-threatening cardiovascular consequences. ผศ.กาญจนา ศิริเจริญวงศ์

ผศ.กาญจนา ศิริเจริญวงศ์ The cause is unknown - autoimmunity - infection Kawasaki disease genetics and environmental factors specific seasons and tends to affect children of Asian descent. ผศ.กาญจนา ศิริเจริญวงศ์

Clinical manifestation ผศ.กาญจนา ศิริเจริญวงศ์

ผศ.กาญจนา ศิริเจริญวงศ์ strawberry” tongue ผศ.กาญจนา ศิริเจริญวงศ์

ผศ.กาญจนา ศิริเจริญวงศ์

ผศ.กาญจนา ศิริเจริญวงศ์

ผศ.กาญจนา ศิริเจริญวงศ์ Transverse grooves of fingers and toenails (Beau’s lines). ผศ.กาญจนา ศิริเจริญวงศ์

ผศ.กาญจนา ศิริเจริญวงศ์ Diagnostic evaluation Echocardiograph: - create pictures of the heart and its arteries. Blood tests: Blood - rule out other illnesses. - elevated white blood cell count, - low red blood cell count - inflammation. Chest X-ray: - heart failure and inflammation. Electrocardiogram: - indicate heart has been affected by KD. Kawasaki disease - infant / child : fever more than five days. - if they’re showing other classic symptoms of KD like peeling skin. CBC Erythrocytes and hemoglobin Platelet count IgM, IgA, IgG, and IgF Urine Acute phase reactants (ESR, CRP alpha I antitrypsin) Myocardial enzyme levels (CK-MB) Liver enzymes (AST, ALT) Lipid profile ผศ.กาญจนา ศิริเจริญวงศ์

ผศ.กาญจนา ศิริเจริญวงศ์ Aspirin IVIG Treatment Coronary art. aneurism ผศ.กาญจนา ศิริเจริญวงศ์

ผศ.กาญจนา ศิริเจริญวงศ์ Treatment IVIG (intravenous immunoglobulin) / immunoglobulin intravenous (IGIV) 2g/kg over 12 hours. Aspirin 30-50 mg/kg/d (4 divided doses). - Then 2-5 mg/kg/d 48 hours after fever settles Thrombolytic therapy may be required during stages I, II, or III. Fever recrudescence / IVIG resistance : - Repeat IVIG - or corticosteroids ผศ.กาญจนา ศิริเจริญวงศ์

ผศ.กาญจนา ศิริเจริญวงศ์ Side effect of IVIG Major Side Effects - Chills - Cough - fast, pounding / irregular heartbeat / pulse - Fever Less common: -Bluish coloring of lips / nail beds -burning sensation in the head Minor Side Effects - Diarrhea - dizziness - Headache - muscle pain - skin rash - joint pain Less common: -Hip pain -leg cramps ผศ.กาญจนา ศิริเจริญวงศ์

ผศ.กาญจนา ศิริเจริญวงศ์ Nursing Dx. 1. Chronic pain related to inflammation of the myocardium / pericardium. 2. Risk for decreased cardiac output related to accumulation of fluid in the pericardial sac. 3. Activity intolerance related to inflammation and degeneration of myocardial muscle cells. 4.Impaired Skin Integrity; Peripheral erythema related to ongoing fever secondary to Kawasaki disease ผศ.กาญจนา ศิริเจริญวงศ์

ผศ.กาญจนา ศิริเจริญวงศ์ Nursing intervention Monitor pain level and child’s response to analgesics. Continual cardiac monitoring for complications:arrhythmias. Take vital signs as directed by condition; report abnormalities. Assess: myocarditis (tachycardia, gallop rhythm, chest pain). Monitor: HF (dyspnea, nasal flaring, grunting, retractions, cyanosis, orthopnea, crackles, jugular veins engorged, edema). Closely monitor I/O Monitor hydration : skin turgor, weight, urinary output, specific gravity, and tears. Observe mouth and skin frequently for signs of infection ผศ.กาญจนา ศิริเจริญวงศ์

ผศ.กาญจนา ศิริเจริญวงศ์

ผศ.กาญจนา ศิริเจริญวงศ์

ผศ.กาญจนา ศิริเจริญวงศ์ Heart failure ผศ.กาญจนา ศิริเจริญวงศ์

ผศ.กาญจนา ศิริเจริญวงศ์ ภาวะหัวใจวาย Heart failure : HF Congestive heart failure : CHF 90 % พบเด็กวัยขวบปีแรก อายุ 0-6 เดือน เกิดจาก CHD มากที่สุด ผศ.กาญจนา ศิริเจริญวงศ์

ผศ.กาญจนา ศิริเจริญวงศ์

ผศ.กาญจนา ศิริเจริญวงศ์ หัวใจทำงานเพื่อบีบตัวส่งเลือดได้เพียงพอ มีปัจจัย 4 - ปริมาณเลือดในเวนตริเคิลก่อนบีบตัว (preload) - การหดตัวของกล้ามเนื้อหัวใจ (myocardial contractility) - แรงต้านทานการไหลเวียนของเลือดขณะหัวใจบีบตัว (afterload) - อัตราการเต้นของหัวใจ (heart rate) ปัจจัยทั้ง 4 มีการปรับตัว เพื่อคงปริมาณเลือดที่ออกจากหัวใจ/นาที (cardiac output = CO) ให้เพียงพอกับความต้องการของร่างกาย ผศ.กาญจนา ศิริเจริญวงศ์

ผศ.กาญจนา ศิริเจริญวงศ์

ผศ.กาญจนา ศิริเจริญวงศ์ ANP / ANF : sodium ions in urine increased stretch of atrial wall increased bl. vol. ผศ.กาญจนา ศิริเจริญวงศ์

ผศ.กาญจนา ศิริเจริญวงศ์

ผศ.กาญจนา ศิริเจริญวงศ์

ผศ.กาญจนา ศิริเจริญวงศ์

ผศ.กาญจนา ศิริเจริญวงศ์ (Angiotensin - coverting enz.) ผศ.กาญจนา ศิริเจริญวงศ์

ผศ.กาญจนา ศิริเจริญวงศ์ วินิจฉัยการพยาบาล 1 ปริมาณเลือดออกจากหัวใจต่อนาทีลดลง 1. จำกัดกิจกรรม / ให้พักผ่อนเต็มที่ ให้การพยาบาลอย่างนุ่มนวลและรวดเร็ว 2. จัดให้นอนศีรษะสูงประมาณ 30-45 องศา 3. ให้ยาตามแผนฯ เพิ่มประสิทธิภาพของหัวใจและสังเกตและบันทึกอาการข้างเคียงของยา-รายงานแพทย์ ถ้าพบผิดปกติ 4. ให้ออกซิเจนตามแผนฯ ถ้าเหนื่อยหอบ 5. ให้อาหารรสจืด 6. บันทึกปริมาณน้ำ-ปัสสาวะ 7. ชั่งน้ำหนักทุกวัน ผศ.กาญจนา ศิริเจริญวงศ์

ผศ.กาญจนา ศิริเจริญวงศ์ วินิจฉัยการพยาบาล 2 มีภาวะน้ำเกิน จากมีการคั่งของน้ำในร่างกาย ให้ยาขับปัสสาวะตามแผนการรักษา ให้อาหารมีแคลอรีสูงและรสจืด ติดตามและบันทึกปริมาณน้ำดื่ม-ปัสสาวะ ชั่งน้ำหนักทุกวัน ชั่งผ้าอ้อม 5. ประเมินอาการบวม รักษาความสะอาดผิวหนังและพลิกตะแคงตัวเปลี่ยนท่าบ่อย ป้องกันการฉีกขาดของผิวหนัง ผศ.กาญจนา ศิริเจริญวงศ์

ผศ.กาญจนา ศิริเจริญวงศ์ วินิจฉัยการพยาบาล 3 เสี่ยงต่อการได้รับสารอาหารไม่เพียงพอ อาหารแคลอรีสูง เช่น 100-120 อาจสูง 130-180 cal/kg/day หรือ 24-30 cal/oz / น้ำมันข้าวโพด / MCT (1 ml = 8.4 cal) 2. ให้ดูดนมทีละน้อยบ่อยครั้ง - เลือกจุกนมที่มีขนาดเหมาะสม - ถ้าดูดนมมารดาแล้วเหนื่อยให้มารดาบีบน้ำนมใส่ขวด - ดูดนมขวดแล้วยังเหนื่อยใช้ช้อน / medicine dropper / syringe - ถ้าหายใจเร็ว /เหนื่อยหอบมาก งดการดูดนม รายงานแพทย์ใส่ OG / NG - ควรเพิ่มแคลอรีที่ละน้อย เช่น 2 cal/oz/day 3. สอนบิดามารดาเทคนิคการให้นม / อาหาร พิจารณาตามอาการเป็นหลัก 4. สังเกต-บันทึกปริมาณนม/อาหาร 5. ชั่งน้ำหนักทุกวัน ช่วยประเมินการเจริญเติบโต โดยต้องแยกจากอาการบวม 6. ประเมินอาการ เช่น ตัวร้อน มีไข้ มีการติดเชื้อหรือท้องเสีย ผศ.กาญจนา ศิริเจริญวงศ์

ผศ.กาญจนา ศิริเจริญวงศ์ วินิจฉัยการพยาบาล 5 มีโอกาสเกิดภาวะเป็นพิษจากดิจิตาลิส 1. นับชีพจร / อัตราการเต้นของหัวใจเต็ม 1 นาทีก่อนให้ยา ถ้าต่ำกว่าเกณฑ์ งดยา รายงานแพทย์ 2. ให้ยาถูกต้องตามหลัก 6R ไม่ผสมยากับนม ถ้ายาน้ำอาจผสมกับน้ำผลไม้ / น้ำหวานเฮลบลูบอย 3. ถ้าอาเจียนหลังให้ยาประมาณ 5 -10 นาที ให้ยาใหม่ทันที 4. สังเกตอาการภาวะพิษจากดิจิตาลิส เช่น คลื่นไส้ อาเจียน เบื่ออาหาร วิงเวียนศีรษะ หัวใจเต้นช้า / เต้นไม่สม่ำเสมอ ถ้าพบรีบหยุดยา รายงานแพทย์ 5. สังเกตอาการของโพแทสเซียมต่ำ เช่น กล้ามเนื้ออ่อนแรง ความดันเลือดต่ำ หัวใจเต้นไม่สม่ำเสมอ / เร็ว/ ช้า กระสับกระส่าย ง่วงซึม ติดตามผล serum electrolyte ผศ.กาญจนา ศิริเจริญวงศ์

ผศ.กาญจนา ศิริเจริญวงศ์ วินิจฉัยการพยาบาล 8 บิดามารดาขาด /พร่องความรู้ในการจัดการให้ยาที่บ้าน 1. สอนสาธิตวิธีเตรียม/ให้ยา - lanoxin และยาอื่นๆ 2. อธิบายผลข้างเคียงของยา แจกแผ่นพับคู่มือ- เบอร์โทรฯที่สามารถโทรถาม / ปรึกษา ผลข้างเคียงของยา 3. สอน/แนะนำอาการนำของภาวะหัวใจวายเช่น อ่อนเพลียกระสับกระส่าย ดูดนมลำบาก / เหนื่อย ไอ หายใจลำบาก บวม   ผศ.กาญจนา ศิริเจริญวงศ์

ผศ.กาญจนา ศิริเจริญวงศ์ สรุป หลักคิดของการพยาบาล ผศ.กาญจนา ศิริเจริญวงศ์

Concept of Nursing Care in AHD Heart failure Infection (decreased) Inflammation Immunity (increased) ผศ.กาญจนา ศิริเจริญวงศ์

Concept of Nursing Care in HF (cardiac contractility) Decreased (preload) Decreased (afterload) Increased (cardiac contractility) ผศ.กาญจนา ศิริเจริญวงศ์

ผศ.กาญจนา ศิริเจริญวงศ์ บรรณานุกรม กาญจนา ศิริเจริญวงศ์.(2544). เอกสารประกอบการสอนเรื่อง การพยาบาลเด็กที่มีปัญหาการไหลเวียนเลือด. ภาควิชาการพยาบาลกุมารเวชศาสตร์. วิทยาลัยพยาบาลเกื้อการุณย์. สำนักการแพทย์ กรุงเทพมหานคร. วัชระ จามจุรีรักษ์ ธาริณี เบญจวัฒนานันท์ สุนันทา สวรรค์ปัญญาเลิศและพรรณทิพา โพธิแสงตา (บรรณาธิการ). (2004).5th BGH Critical Care for Nurse. กรุงเทพมหานคร: ส.รุ่งทิพย์ออฟเซท. แนวทางการปฏิบัติมาตรฐานเพื่อการวินิจฉัยและการดูแลรักษาผู้ป่วยโรคไข้รูมาติกในประเทศไทย. www.thaiheart.org>ARFGuideline. สืบค้นเมื่อ 9 กุมภาพันธ์ 2561. Betz, CL. & Sowden,LA. (2004). MOSBY’S PEDIATRIC NURSING REFERENCE. 5th ed. St Louis,Missouri : Elsevier. Brenna, LB. (2005). Pediatric Nursing: Incredibly Easy. Philadelphia: Lippincott Williams & Wilkins. Cafasso, J. (2015). Medically Reviewed. http://www.healthline.com/health/kawasaki-disease. retrived3 December, 2016. Gavin, R. (2013) Starship Children’s Health Clinical Guideline. KAWASAKI DISEASE IN INFANCY AND CHILDHOOD. http://www.adhb.govt.nz/starshipclinicalguidelines/_Documents/Kawasaki% 20 Disease.pdf.retrived 3 December,2016 Goldbloom, RB. (2011). Pediatric clinical skills. 4th ed. Philadelphia: Elsevier Inc. Marcdante, KJ., Kliegman, RM.,Jenson, HB. & Behrman, RE. (2011). Nelson essentials of pediatrics. 6th ed. Philadelphia: Elsevier Inc. Newburger, J et al. (2004)Diagnosis, Treatment, and Long-Term Management of Kawasaki Disease: A Statement for Health Professionals From the Committee on Rheumatic Fever, Endocarditis, and Kawasaki Disease, Council on Cardiovascular Disease in the Young, American Heart Association. Pediatrics (114) 1708-1733 Sydney Children's Hospitals Network. (2014). http://www.schn.health.nsw.gov.au/retrived 3 December,2016 ผศ.กาญจนา ศิริเจริญวงศ์