ข้อมูลการประชุมเชิงปฏิบัติการ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สถานการณ์โรคไข้เลือดออกจังหวัดเลย ปี 2556
Advertisements

ข้อมูลสถานการณ์ ระบาดวิทยา พฤศจิกายน 2557 กลุ่มงานควบคุมโรค.
การอบรมทีมเฝ้าระวังสอบสวนเคลื่อนที่เร็ว(SRRT) เครือข่ายอำเภอเมืองนครปฐม วันที่ 27 มิถุนายน 2557 ณ ห้องประชุมอำเภอเมือง จังหวัดนครปฐม ดรุณี โพธิ์ศรี
สถานการณ์โรคไข้เลือดออก จังหวัดนครปฐม ประจำเดือน กรกฎาคม 2555 ดร.นพ.ถวัลย์ พบลาภ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม.
ผลการดำเนินงานควบคุมป้องกันโรคเอดส์
สรุปสถานการณ์การ ระบาดเพลี้ยแป้ง ระหว่างวันที่ สิงหาคม 2554.
ข้อมูลสถานการณ์ ระบาดวิทยา ธันวาคม 2557 กลุ่มงานควบคุมโรค.
อัตราป่วยไข้เลือดออกในประเทศไทยจำแนก ตามรายเขตตรวจราชการ 1-18 ข้อมูลสะสม ตั้งแต่ 4 มกราคม 2552 _ 31 มกราคม 2552 สัปดาห์ที่ 4 ปี 2552 เขตตรวจราชการ ต่อแสนประชากร.
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
สำนักส่งเสริมและพิทักษ์ผู้ด้อยโอกาส (สทอ.)
เป็นเจ้าภาพหลัก 2 ประเด็น เพื่อเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ปี 2558
การขัดเกลาทางสังคมซ้ำเพื่อสร้างพฤติกรรมการป้องกันการติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์ ของเยาวชนในศูนย์ฝึกและอบรมเด็กและเยาวชน ผู้วิจัย นภัสวรรณ บุญประเสริฐ หลักสูตรปริญญาศิลปศาสตรดุษฎี
ข้อมูลสถานการณ์ ระบาดวิทยา เมษายน 2558 กลุ่มงานควบคุมโรค.
โรงพยาบาลอ่างทอง ชื่อผู้ติดต่อ นางรัตนา งิ้ววิจิตร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ กลุ่มงาน เวชกรรมสังคม โทรศัพท์ อีเมล์
ชื่อโรงพยาบาล ขนาด... เตียง จังหวัด ชื่อผู้ติดต่อ กลุ่มงาน โทรศัพท์ อีเมล์
ยุทธศาสตร์ที่ 2 แผนที่ 14 อายุรกรรม. จำนวนผู้ป่วยที่เสียชีวิตด้วย SEPSIS ( ร้อยละ )
ณ ห้องประชุมสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดตราด จัดโดย กลุ่มงานควบคุมโรค
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
อำเภอควบคุมยาสูบและเครื่องดื่ม แอลกอฮอล์เข้มแข็ง ปี 2556
หลักสูตรการอบรมวิทยากรตัวคูณ ระดับจังหวัด ครั้งที่ 1 ภาคกลางตอนบน ( วันที่สอง ) ณ โรงแรมริชมอนด์ จังหวัดนนทบุรี ระหว่างวันที่ 9 – 11 มีนาคม 2558.
1 จุดเน้นและแนวทางการสร้าง ภูมิคุ้มกันและป้องกันยาเสพ ติดในสถานศึกษา ปี 2557.
แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ระบบบัญชี สุขภาพ (1-8) กุมภาพันธ์ 2558 สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดบุรีรัมย์
กลุ่มวัยผู้สูงอายุ
Strategy Map สำนักงานสรรพากรพื้นที่กรุงเทพมหานคร 16
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
แนวทาง การดำเนินงาน ป้องกันการจมน้ำ สำนักโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค
วาระการประชุม คปสจ. เดือน กันยายน 2560
การประชุม เรื่อง การจัดทำแผนยุทธศาสตร์ 4 ปี (พ. ศ
ระดับความเสี่ยง (QQR)
สรุปงานระบาดวิทยาสถานการณ์โรคไข้มาลาเรีย ช่วงเดือนมกราคม - พฤษภาคม
คลินิกบริการดูแลผู้ติดเชื้อHIV/AIDS โรงพยาบาลเขาสมิง จังหวัดตราด
สรุปผลการนิเทศงานศูนย์อนามัยที่ ๖ ระหว่างวันที่ ๒-๓ พฤษภาคม ๒๕๖๐
โรคไข้เลือดออกเขต 12.
การประเมินมาตรฐาน งานระบาดวิทยา ปี 2549
สาธารณสุขยุคใหม่ สร้างสังคมสุขภาพดี วิถีธรรม วิถีไทย
ประสบการณ์การ การใช้ระบบติดตามผลการดำเนินงานในกลุ่มผู้ใช้ยา/สารเสพติด
งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรคและภัยสุขภาพ
ยุทธศาสตร์ ที่ 1 Promotion, Prevention & Protection Excellence
บัตรยิ้ม สร้างเสริมกำลังใจ
“การดูแลหญิงหลังคลอด และ ครอบครัวที่ติดเชื้อ เอช ไอ วี”
รายงานสถานการณ์โรคไข้เลือดออกจังหวัดสระบุรี
รายงานสถานการณ์โรคไข้เลือดออกจังหวัดสระบุรี
สรุปผลการดำเนินงานวิจัย สวส. ปี 2559
ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จขององค์กรปกครอง
รพ.สต.สายใยรัก อำเภอสัตหีบ
การพัฒนาระบบการดูแลผู้รับบริการเพื่อตรวจรักษาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
พัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย (9 ตัว) กลุ่มเด็กปฐมวัย (๐-๕ ปี)/สตรี 1.อัตราส่วนการตายของมารดาไม่เกิน15ต่อการเกิดมีชีพแสนคน 2.ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัย.
กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ
โรคติดเชื้อไวรัสซิก้า
สถานการณ์โรคไข้เลือดออก สัปดาห์ที่ 35
คำสำคัญ : ความชุกวัณโรค, ผู้ต้องขังในเรือนจำ
Strategy Map สำนักงานสรรพากรพื้นที่กรุงเทพมหานคร 14
YRC LANNA LOCAL WISHDOM
ประชุม คปสจ.ประจำเดือนมิถุนายน ๒๕๕๙ MOTTO – กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ
โรคใบด่างมันสำปะหลัง
อัตราส่วนการตายมารดาไทย
สถานการณ์โรค ประจำเดือน โรคไข้เลือดออก สถานการณ์โรคที่สำคัญ
“ถ้าหากบริษัทบุหรี่ต้องหยุดทำการตลาดที่พุ่งเป้าไปที่เด็กๆ บริษัทบุหรี่จะล้มละลายภายใน 25 – 30 ปี เพราะจะไม่มีลูกค้าเพียงพอที่ธุรกิจจะอยู่ได้”
การดำเนินงานเชิงรุก โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์และเอดส์
Reff: นายพีรวัฒน์ ตั้งตระกูล สสจ.นครพนม นายประดอม ไพสน สสจ.บึงกาฬ
ทิศทางการดำเนินงานลดโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD)
มะเร็งปากมดลูก โดย นางจุฑารัตน์ กองธรรม พยาบาลวิชาชีพ รพ.สต.บ้านโนนแต้
สรุปผลการดำเนินงานการใช้ยาอย่างสมเหตุผล (RDU) ไตรมาส 4 ปีงบประมาณ 2560
สถานการณ์โรคไข้หวัดใหญ่ ข้อมูล ณ วันที่ 18 ตุลาคม 2559
การพัฒนาคุณภาพการดูแลโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
สถานการณ์โรคไข้เลือดออก สัปดาห์ที่ 51
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
MTRD 427 Radiation rotection - RSO
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ข้อมูลการประชุมเชิงปฏิบัติการ การพัฒนาแนวทางการดำเนินงานการดูแลรักษาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ วันที่ ๑๙ ตุลาคม ๒๕๖๐ ณ ห้องประชุมเยาวมาลย์ ชั้น ๗ โรงแรมชากังราว

โรคที่ต้องเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา 3 สาเหตุ 1. เพศสัมพันธ์โดยไม่ป้องกัน 2. การไม่เปิดเผยว่าติดเชื้อฯ/ ไม่ว่าตนเองติดเชื้อ สถานการณ์โรคทั่วไปที่ต้องเฝ้าระวังทางระบาดวิทยาของจังหวัดกำแพงเพชร อันดับต้นๆ ได้แก่โรค อุจจาระร่วง ปอดบวม ตาแดง ฯลฯ โรคติดต่อทางการมีเพศสัมพันธ์ (S.T.D = Sexual transmited Desease) ติด 1ใน 10 โรคที่ต้องเฝ้าระวัง สาเหตุหลักคือ 1. มีเพศสัมพันธ์โดยไม่ได้ป้องกัน 2. ไม่เปิดเผย และไม่ทราบว่าตัวเองติดเชื้ออยู่ อัตราป่วยต่อแสนประชากร

สถานการณ์โรคเอดส์ ปี 2533 – 2559 พ.ศ. 2533-2559 (ยอดสะสม) รวม ผู้ติดเชื้อ/ผู้ป่วยเอดส์ 3,568 เสียชีวิต 1,084 คงเหลือ 2,484 กินยาต้านไวรัสฯ (ร้อยละ 84.6) 2,100 สถานการณ์โรคเอดส์ ปี 2533 – 2559 สถานการณ์โรคเอดส์ เป็นยอดสะสมตั้งแต่ปี 2553 – 2559 มีรายงานผู้ติดเชื้อ/ผู้ป่วยเอดส์ทั้งหมด 3,568 ราย เสียชีวิต 1,084 ราย คงเหลือที่มีชีวิต 2,484 ราย และได้รับยาต้านไวรัส 2,100 ราย คิดเป็นร้อยละ 84.56 เป้าหมายคือผู้ติดเชื้อ/ผู้ป่วยเอดส์ ต้องได้รับบริการดูแลรักษาเพื่อไม่ให้เสียชีวิต แต่เมื่อดูข้อมูลการเสียชีวิตในแต่ละปี พบว่ายังคงมีการเสียชีวิต และยังพบรายงานผู้ติดเชื้อเอชไอวี รายใหม่ทุกปี ปีละ 100 กว่า – 200 ราย ส่วนใหญ่ที่เสียชีวิต เนื่องจากเข้าสู่ระบบบริการตรวจเลือด และรักษาช้า เข้าบริการรักษากินยาต้านไวรัส ร้อยละ 84.6 ที่มา : ข้อมูล NAP

จำนวนผู้ป่วยแยกตามกลุ่มอายุและเพศ 13 จำนวนผู้ป่วยแยกตามกลุ่มอายุและเพศ จำนวนผู้ติดเชื้อ ผู้ป่วยเอดส์ มีการติดเชื้อในทุกกลุ่มอายุ กลุ่มอายุ 21-34 ปี มีจำนวนผู้ติดเชื้อ ผู้ป่วยเอดส์มากที่สุด คิดเป็นร้อยละ 54.93 ของกลุ่มอายุทั้งหมด แต่ การติดเชื้อ เอชไอวีนั้นจะแสดงอาการป่วยนั้นต้องใช้เวลาประมาณ 7-10 ปี ถ้าไม่มาตรวจเลือดก็จะไม่รู้ ทำให้คาดการณ์ได้ว่าเริ่มติดเชื้ออยู่ในช่วงวัยเรียน และเริ่มทำงาน

อัตราการติดเชื้อเอชไอวีในหญิงตั้งครรภ์ ปี 2557-2560 14 อัตราการติดเชื้อเอชไอวีในหญิงตั้งครรภ์ ปี 2557-2560 2557 2558 2559 2560 0.67 0.53 0.68 0.48 อัตราการติดเชื้อในหญิงตั้งครรภ์ในภาพจังหวัด ปี 2557-2560 (ตค.59-มีค.60) ยังคงพบหญิงตั้งครรภ์ที่ติดเชื้อทุกปี ปี 2559 มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นจากร้อยละ 0.53 ในปี 2558 เป็น 0.68 ส่วนปี 2560 ข้อมูลถึงเดือน มี.ค. อัตราการติดเชื้อ 0.48 อำเภอที่มีการติดเชื้อเอชไอวีในหญิงตั้งครรภ์ในปี 2559 เพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับปี 2558 คือ อ.ลานกระบือ ขาณุฯ เมือง คลองขลุง ส่วนในปี 2560 อัตราการติดเชื้อในหญิงตั้งครรภ์ ข้อมูล 6 เดือนแรก สูงที่บึงสามัคคี ร้อยละ 2.56 รองลงมา พรานกระต่าย คลองลาน ซึ่งหญิงตั้งครรภ์ที่พบว่าติดเชื้อเอชไอวี ทาง รพ.ทุกแห่งจะมียาต้านไวรัสเอดส์ให้แม่กินตั้งแต่อายุครรภ์ได้ 28 สัปดาห์ ก็จะสามารถป้องกันการติดเชื้อจากแม่สู่ลูกได้ และเด็กที่เกิดจากแม่ติดเชื้อจะมีบริการให้ยาต้านไวรัสในเด็ก และมีนมผสมให้กินฟรีจนถึงอายุ 1.6 ปี

สถานบริการ/โรงแรม รีสอร์ท 4 สิ่งแวดล้อมและพฤติกรรมสุขภาพ สำรวจแหล่ง 2556 2557 2558 2559 2560 สถานบริการ/โรงแรม รีสอร์ท 123/120 100 /121 88/177 83/178 75/177 สถานการณ์สิ่งแวดล้อม และพฤติกรรมสุขภาพ ที่เอื้อต่อการเกิดโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ จากการสำรวจแหล่งบริการ สถานบันเทิง เช่น คาราโอเกะ ร้านอาหาร ร้านนวด และ โรงแรม รีสอร์ท ตั้งแต่ปี 2556 – 2559 พบว่าโรงแรม รีสอร์ท สถานบริการ/บันเทิง บางปีเพิ่มขึ้น บางปีลดลง จากการสอบถามพบว่าบางแห่งเปิด-ปิด ตามภาวะเศรษฐกิจ และอีกส่วนหนึ่งไม่มาจดทะเบียน แต่ถ้าจากที่เรามองเห็นพบว่าโรงแรม รีสอร์ท เพิ่มขึ้น ส่วนชื่ออาจจะเลี่ยงเป็นชื่ออื่น เช่น ห้องพัก หอพัก บ้านเช่า แต่การบริการคือให้เช่าชั่วคราว ส่วนในเรื่องของการสำรวจพฤติกรรมสุขภาพจากสำรวจการเฝ้าระวังพฤติกรรมเสี่ยง(BSS) ซึ่ง สสจ.กพ.ดำเนินการสำรวจทุกปี ในกลุ่มนักเรียน ชาย-หญิง ชั้น ม.5 และ ปวช.2 จะสำรวจหลายเรื่อง เช่น ที่อยู่อาศัยกับใคร พฤติกรรมทางเพศ ประสบการณ์การดื่มเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ ความรู้ทัศนคติเกี่ยวกับโรคเอดส์ ในเรื่องการดื่มแอลกอฮอล์จะเห็นว่าเด็กมีพฤติกรรมการดื่มแอลกอฮอล์ มีแนวโน้มสูงขึ้นเรื่อยๆ ดูได้จากในปี 2559 จะสูงมากกว่า ปี 2557 และ 2558 ที่มา: การสำรวจ BSS

6 ประสบการณ์เคยมีเพศสัมพันธ์ของนักเรียนชั้น ม.5 และ ปวช.2 (ร้อยละ) ปี 2557-2559 แนวโน้มประสบการณ์เคยมีเพศสัมพันธ์ในกลุ่มเยาวชน ชาย-หญิง ในระดับอาชีวะ และมัธยม ที่ผ่านมาถึงแม้ว่าระดับอาชีวะจะมีประสบการณ์การมีเพศสัมพันธ์มากกว่าระดับมัธยม แต่ในปี 2559 ในระดับอาชีวะเคยมีเพศสัมพันธ์ลดลง แต่ในกลุ่มมัธยมเพิ่มขึ้น ที่มา: การสำรวจ BSS

7 อัตราการใช้ถุงยางอนามัยเมื่อมีเพศสัมพันธ์ครั้งล่าสุดของนักเรียนชั้น ม.5 และ ปวช.2 (ร้อยละ) ปี 2557-2559 เรื่องของการป้องกันโดยการใช้ถุงยางอนามัยในการมีเพศสัมพันธ์ครั้งล่าสุด ปี 57-59 ในกลุ่มนักเรียน ชาย-หญิง ชั้น ม.5 และ ปวช 2 มีแนวโน้มเพิ่มขึ้น ยกเว้นนักเรียนชายชั้น ม.5 ปี 2559 ใช้ถุงยางอนามัยลดลง ส่วนในกลุ่มพนักงานบริการทั้งตรงและแฝง กลุ่มนี้จะเป็นกลุ่มที่เข้าถึงยาก ไม่ยอมรับว่าทำอาชีพนี้จะปฏิเสธการให้ความรู้ การประเมินพฤติกรรมเสี่ยง ทำให้การใช้ถุงยางอนามัยเพิ่มขึ้นไม่มาก เป้าหมายคือร้อยละ 90 ขึ้นไป ส่วนใหญ่จะมีเพศสัมพันธ์กับคู่ประจำจึงไม่ป้องกัน จากการสำรวจอัตราการใช้ถุงยางอนามัยเมื่อมีเพศสัมพันธ์ในรอบ 3 วันที่ผ่านมา มีแนวโน้มเพิ่มขึ้น แต่ยังไม่มากพอที่จะป้องกันการติดเชื้อเอชไอวี ทุกกลุ่มมีการป้องกันตนเองน้อยเพราะกลัวแฟนไม่รัก เป็นแฟนขาประจำ ความไว้ใจ ไม่กล้าพกถุงยางอนามัย ไม่มีทักษะต่อรอง/ปฏิเสธ เป้าหมายอัตราการใช้ถุงยางอนามัยคือต้องให้ได้ 100 %

อัตราป่วยกามโรคต่อแสนประชากร 8 อัตราป่วยกามโรคต่อแสนประชากร Baseline 2556 2557 2558 2559 2560 อัตราป่วย (ทุกกลุ่มวัย) 24.33 32.53 23.28 21.91 26.43 อัตราป่วยกามโรค ปี 2558 -2560 จำแนกรายอำเภอ จากสภาพแวดล้อมและพฤติกรรมสุขภาพ ที่ไม่ได้ป้องกัน ทำให้เกิดโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ โดยเฉพาะกามโรคเป็นกลุ่มโรคที่เกิดจากการมีเพศสัมพันธ์ (ซิฟิลิส หนองใน แผลริมอ่อน กามโรคต่อมน้ำเหลือง/ฝีมะม่วง )เช่นเดียวกับโรคเอดส์ แต่กามโรคสามารถรักษาให้หายขาดได้ และเป็นกลุ่มโรคที่ใช้เป็นการคาดการณ์แนวโน้มการติดเชื้อเอชไอวี อัตราป่วยกามโรคตั้งแต่ปี 2555-2559 ภาพรวมในทุกกลุ่มวัยปี 2558 2559 มีแนวโน้มลดลง ซึ่งข้อมูลบางส่วนจะไปรักษาตามคลินิกหรือไปซื้อยากินเองเพราะอายที่จะไปรักษาที่ รพ. ส่วนนี้จะไม่ได้รับรายงาน

อัตราป่วยหนองใน ต่อแสนประชากร 2555-2559 เป้าหมาย ไม่เกิน 8.0 อัตราป่วยโรคหนองใน ปี 2555-2559 แยกกลุ่มอายุ กลุ่มโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ ใน 5 โรคหลัก ที่พบมากอัตราป่วยมากที่สุด คือโรค หนองใน ตั้งแต่ปี 2557 – 2559 มีแนวโน้มเพิ่มขึ้น เป้าหมายไม่เกิน 8 ต่อแสนประชากร และเมื่อแยกกลุ่มอายุ พบว่ากลุ่มอายุ 15-24 ปี มีอัตราป่วยมากกว่ากลุ่มอายุอื่น ที่มา: รายงาน 506

จำนวนผู้ป่วยซิฟิลิส ปี 2560 เทียบกับค่ามัธยฐาน 5 ปี

จำนวนผู้ป่วยหนองใน ปี 2560 เทียบกับค่ามัธยฐาน 5 ปี

จำนวนผู้ป่วยหนองในเทียม ปี 2560 เทียบกับค่ามัธยฐาน 5 ปี

จำนวนผู้ป่วยซิฟิลิส ปี 2560 แยกกลุ่มอายุ จำนวนผู้ป่วยซิฟิลิส ปี 2560 แยกกลุ่มอายุ

อัตราป่วยซิฟิลิส ปี 2560 แยก รายอำเภอ อัตราป่วยซิฟิลิส ปี 2560 แยก รายอำเภอ

จำนวนผู้ป่วยซิฟิลิส ปี 2560 แยกอาชีพ

จำนวนผู้ป่วยหนองใน ปี 2560 แยกอาชีพ จำนวนผู้ป่วยหนองใน ปี 2560 แยกอาชีพ

อัตราป่วยหนองใน ปี 2560 แยก รายอำเภอ อัตราป่วยหนองใน ปี 2560 แยก รายอำเภอ

อัตราป่วยหนองในเทียม ปี 2560 แยกรายอำเภอ อัตราป่วยหนองในเทียม ปี 2560 แยกรายอำเภอ

จำนวนผู้ป่วยหนองในเทียม แยกกลุ่มอายุ

จำนวนผู้ป่วยหนองในเทียม ปี 2560 แยกอาชีพ จำนวนผู้ป่วยหนองในเทียม ปี 2560 แยกอาชีพ