นวัตกรรมสังคม ก้าวสู่ Thailand 4.0.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การติดตามและ ประเมินผลโครงการ
Advertisements

ประเด็นในการพัฒนา DHS-PCA
ยุทธศาสตร์ การจัดสรร งบประมาณ ยุทธศาสตร์การพัฒนาคนและสังคมที่มีคุณภาพ
การประเมินผลโครงการ บทที่ 9 ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ yalada.
คำถามตามเกณฑ์ PMQA:105คำถาม หมวด1 12คำถาม.
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเลย
ภาคีรวมใจคนไทยไร้พุง จ.ลพบุรี Lopburi’s Slimming Academy
- 2 - แผนภูมิแสดงความเชื่อมโยงยุทธศาสตร์การจัดสรรงบประมาณ ผลผลิต และงบประมาณปี พ.ศ.2555 กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ ตามระบบการจัดทำงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานตามยุทธศาสตร์
ผลการปฏิบัติราชการ ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ กรมอนามัย ปีงบประมาณ พ
กระบวนการถ่ายทอดความรู้
ร่องรอยหลักฐานการกำหนดมาตรฐานและการจัดระบบบริหาร
การจัดทำแผนปฏิบัติการ สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ประจำปีงบประมาณ พ.ศ กันยายน 2557.
การประเมินผลโครงการ คปสอ.คลองใหญ่.
นางวราพันธ์ ลังกาวงศ์ ผู้อำนวยการกลุ่มนโยบายและแผน.
มอบนโยบายการบริหารราชการให้กับหัวหน้าสถานีตำรวจ วันอังคารที่ 2 ๑ มิ. ย.59 เวลา น. สำนักงานตำรวจแห่งชาติ
โครงการส่งเสริมการหยุดการ เผาในพื้นที่การเกษตร ปี 2559 กองส่งเสริมโครงการพระราชดำริ การจัดการพื้นที่และ วิศวกรรมเกษตร กรมส่งเสริมการเกษตร.
1 จุดเน้นและแนวทางการสร้าง ภูมิคุ้มกันและป้องกันยาเสพ ติดในสถานศึกษา ปี 2557.
องค์ความรู้ที่จำเป็นในการปฏิบัติราชการ แบบฟอร์มที่ 1 การจำแนกองค์ความรู้ที่จำเป็นต่อการผลักดันตามประเด็นยุทธศาสตร์ ของส่วนราชการ ชื่อส่วนราชการ : กรมทรัพยากรน้ำบาดาล.
โครงการ ส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิม พระเกียรติ “ ส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิม พระเกียรติ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารี เนื่องในโอกาสฉลองพระชนมายุ
สงกรานต์ ๒๕๕๗. ร่วมสร้างวัฒนธรรมความปลอดภัย สงกรานต์ ทั่วไทยไร้อุบัติเหตุ  จะร่วมสร้างวัฒนธรรมความ ปลอดภัยกันอย่างไร  จะทำสงกรานต์ทั่วไทยไร้อุบัติเหตุ
แผนยุทธศาสตร์การคุ้มครองผู้บริโภคแห่งชาติ ฉบับที่ 1 (พ.ศ )
ความเป็นมา การส่งเสริมกระบวนการแผนชุมชน
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
บทสรุปผู้บริหาร การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA) สำนักงานสาธารณสุขอำเภอบรบือ จังหวัดมหาสารคาม ปีงบประมาณ ๒๕๖๑ สำนักงานสาธารณสุขอำเภอบรบือ จังหวัดมหาสารคาม.
การสร้างแผนปฏิบัติการระดับตำบลหรือท้องถิ่น
การสร้างตัวชี้วัด แผนปฏิบัติงาน
สายส่งเสริมตามกลุ่มวัยและประเด็น
100 ตำบลต้นแบบในการบูรณาการ ด้านส่งเสริมสุขภาพ 5 กลุ่มวัย และอนามัยสิ่งแวดล้อม โดย กรมอนามัย.
การวางรูปแบบของสถาบันนวัตกรรมฯ ยุคประเทศไทย 4.0
โครงการส่งเสริมป้องกันโรคในช่องปากผู้สูงอายุ
หลักสูตรอาเซียน เพื่อสร้างประชาคมอาเซียน ให้เป็นประชาคมที่มุ่งเน้น การปฏิสัมพันธ์กับต่างประเทศ มีความมั่นคง มีสันติภาพ และมีความมั่งคั่ง.
งาน Road Map ศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตรปี 2560
วิธีการกรอกแบบเสนอโครงการในไฟล์ Power point นี้
ยุทธศาสตร์ ที่ 1 Promotion, Prevention & Protection Excellence
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
บัตรยิ้ม สร้างเสริมกำลังใจ
การขับเคลื่อนตำบลจัดการสุขภาพ แบบบูรณาการ เขตสุขภาพที่ 6
โดย ศรีปัญญา ม่วงเพ็ชร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
โครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพ องค์การบริหารส่วนตำบลท่าดินแดง
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
การบริหารจัดการข้อมูลความเสี่ยง ด้านสุขภาพ
เป้าหมายจังหวัด TO BE NUMBER ONE
โครงการกำจัดปัญหาโรคพยาธิใบไม้ตับและมะเร็งท่อน้ำดี ถวายเป็นพระราชกุศลฯ
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูลเพื่อการพัฒนาชุมชน ปี 2561
เพื่อการขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์ทศวรรษ
ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จขององค์กรปกครอง
การติดตามผลงาน OKRs ปีงบประมาณ 2562 (ไตรมาส 1)
ข้อเสนอต่อการพัฒนา ระบบการสร้างเสริมสุขภาพ ของประเทศไทย
เครือข่ายความร่วมมือ เพื่อการพัฒนาห้องสมุดและ แหล่งเรียนรู้
Model ผลที่คาดหวัง วัตถุประสงค์ ตัวชี้วัดหลัก
ข้อสังเกตโดยรวมของผลงานที่ได้คะแนน ระดับดีมาก - ดี
การประเมินศักยภาพชุมชน ด้วย... ค่ากลางที่คาดหวัง
การวางตำแหน่งของ สปสช.ในยุคของการเปลี่ยนแปลง
แผนงาน การพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ
โดย นายแพทย์ประดิษฐ์ วินิจจะกูล รองอธิบดีกรมอนามัย
บทที่ 4 หลักทฤษฎีและปฏิบัติการธุรกิจ ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ
การสนับสนุน การบูรณาการ ค่ากลาง จังหวัดเชียงใหม่
ความปลอดภัยด้านอาหารและน้ำ
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
งานแนะแนว กับระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน
ทิศทางการดำเนินงานลดโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD)
โครงการพัฒนารูปแบบการดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน : ชุมชนลดเสี่ยง ลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง.
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
การประเมินผลโครงการ บทที่ 9 ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ yalada.
1. ตระหนักในคุณค่าของ คุณธรรมจริยธรรม
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
MTRD 427 Radiation rotection - RSO
ใบสำเนางานนำเสนอ:

นวัตกรรมสังคม ก้าวสู่ Thailand 4.0

แนวคิดการพัฒนาสุขภาพ ยุค Thailand 4.0 จัดการค่ากลาง และบูรณาการ กำหนดกิจกรรมสำคัญ ปรับโครงการสุขภาพ ปรับบทบาทภาครัฐและประชาชน

การประกอบการเพื่อสังคมคืออะไร ? การประกอบการเพื่อสังคมเป็นแนวคิดที่ส่งเสริมให้เกิดนวัตกรรม มองหา คิดค้น แนวทางหรือรูปแบบการทำงานใหม่ ที่จะนำมาซึ่งการเปลี่ยนแปลงทางสังคม เช่น การพัฒนารูปแบบใหม่ๆในการสื่อสาร การเฝ้าระวังและคัดกรอง การดำเนินมาตรการทางสังคม การปรับเปลี่ยนรูปแบบโครงการ ฯลฯ การประกอบการเพื่อสังคมเป็นแนวคิดที่ส่งเสริมให้เกิดความเข้มแข็งของเครือข่ายเพื่อสังคม เป็นกิจการที่สังคมดำเนินการ สามารถเลี้ยงดูตนเองได้ มีทรัพยากรเพียงพอ มีรายได้หมุนเวียนสนับสนุนกิจการ เป็นทางเลือกที่ดีกว่าการรอรับการบริจาคและการสนับสนุน การประกอบการเพื่อสังคมต้องอาศัยความร่วมมือและการขับเคลื่อนพร้อมกันทุกภาคส่วน ผู้บริหารต้องมีวิสัยทัศน์และกำหนดทิศทางการพัฒนาประเทศที่มุ่งไปสู่การเปลี่ยนแปลงทางสังคม โดยเฉพาะการวางเป้าหมายเพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรม

การพัฒนาคุณภาพชีวิตและระบบสุขภาพอำเภอ

ระยะที่ 1 กำหนดค่ากลาง ตัดทอนหรือลดงานที่ไม่ตอบสนองต่อการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของกลุ่มเป้าหมาย ค้นหาและกำหนดค่ากลางที่คาดหวัง ในระดับเขต คัดเลือกกลุ่มตัวอย่างจาก พื้นที่ๆมีความสำเร็จ

การกำหนดค่ากลางสำหรับกลุ่มเป้าหมาย กำหนดงานที่เป็นค่ากลางของทุกประเด็นที่มีอิทธิพลต่อสุขภาพของกลุ่มเป้าหมาย ประเด็นที่มีอิทธิพลต่อกลุ่มเป้าหมายจะเปลี่ยนแปลงไปตามประเภทของเป้าหมาย ดังนั้น ต้องปรับภาพความเชื่อมโยง (ภาพใยแมงมุม) ด้านขวาให้เหมาะสมกับกลุ่มวัยก่อน ค่ากลางที่กำหนดขึ้นแบ่งเป็น 2 ส่วน คือเป็นงานที่เกี่ยวกับตัวบุคคลที่เป็นเป้าหมาย (เลขที่ 1 2 3 7 ในภาพ) และเป็นงานที่เกี่ยวกับสภาวะแวดล้อมของเป้าหมาย (ได้แก่หมายเลข 4 5 6 ในภาพ)

ตัวอย่าง : นวัตกรรมกระบวนการ ในการพัฒนาสุขภาพผู้สูงอายุ โครงการสุขภาพกลุ่มวัย ปรับทิศทางด้วยค่ากลางของ 4 กิจกรรมหลัก ค่ากลางของ 4 กิจกรรมหลักจาก SLM 1.เฝ้าระวัง/คัดกรอง 2. มาตรการสังคม 3.สื่อสารเพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 4.ปรับแผนงาน/โครงการ ท้องถิ่น/ตำบล โครงการหมอครอบครัว ใช้มาตรฐานวิชาการ ใช้เทคนิคการจัดการความเสี่ยง โครงการนวัตกรรมสังคม บนพื้นฐานของ 4 กิจกรรมหลัก โดยภาคประชาชน

1. ปฏิรูปโครงการ เปลี่ยนรูปแบบการวางโครงการจากที่ใช้ประเด็นปัญหา เป็นตัวตั้ง เป็นการใช้ 4 กิจกรรมสำคัญจากแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์เป็นตัวตั้ง ทำให้สามารถควบคุมจำนวนโครงการได้และทำให้การบูรณาการงานต่างองค์กรทั้งในและนอกกระทรวง สธ.เป็นไปได้

2. ประเมินความเสี่ยงของกลุ่มเป้าหมายย่อยและพื้นที่ จัดการความเสี่ยง โดยค้นหากลุ่มเป้าหมายและพื้นที่ๆมีความเสี่ยงต่างๆกัน เพื่อการใช้ทรัพยากรที่มีประสิทธิภาพ ทีมหมอครอบครัวกำหนดเกณฑ์และให้คะแนนสภาวะทางสุขภาพ (ความเสี่ยง) เป็นรายบุคคลเป้าหมาย ทีมท้องถิ่นและภาคประชาชนกำหนดเกณฑ์และให้คะแนนสภาวะแวดล้อมเป็นรายหมู่บ้าน บันทึกรายละเอียดเหตุผลในการให้คะแนนในช่องหมายเหตุด้วย

การจำแนกและจัดลำดับความสำคัญตามลักษณะกลุ่มเป้าหมายย่อยและพื้นที่เสี่ยง จัดลำดับความสำคัญของหมู่บ้านตามระดับความเสี่ยงของสภาวะทางสุขภาพและสภาพแวดล้อมเป็นหมู่บ้านประเภท 1 (เสี่ยงมาก) 2 (เสี่ยงปานกลาง) และ 3 (เสี่ยงน้อย) ประเภทความเสี่ยงของหมู่บ้านเป็นตัวกำหนดงานสำหรับกลุ่มเป้าหมายและสภาวะแวดล้อม

การวิเคราะห์เพื่อกำหนดงานตามระดับความเสี่ยงของตำบลท่ากว้าง อ การวิเคราะห์เพื่อกำหนดงานตามระดับความเสี่ยงของตำบลท่ากว้าง อ.สารภี เชียงใหม่ ตัวอย่าง จุดเน้นหนักอยู่ที่งานภาคประชาชนที่ควรครอบคลุมทั้งตำบลในความเข้มที่ต่างกันตามระดับความเสี่ยง สามารถใช้งานในค่ากลางของจังหวัด (ปรับปรุงให้เหมาะกับบริบท)เป็นกรอบในการกำหนดงานภาคประชาชน โอกาสมอบความรับผิดชอบให้ภาคประชาชนดำเนินการเองมีความเป็นไปได้สูง อยู่ที่การเพิ่มสมรรถนะการบริหารจัดการและการใช้ประโยชน์จากข้อมูลซึ่งควรกำหนดงานเพิ่มเติมจากที่ปรากฏในค่ากลางของจังหวัด ทีมหมอครอบครัวกำหนดรูปแบบการเข้าถึงกลุ่มเป้าหมายสำหรับหมู่บ้านสีเหลืองเป็นหลัก โดยรวม 1 คนจากหมู่บ้านสีแดงเข้าไว้ในโครงการด้วย แบ่งงานระหว่างสมาชิกในทีมหมอครอบครัวภาครัฐ โดยใช้ระดับความเข้มปานกลางเป็นหลัก

ปรับโครงสร้างและบทบาทของ คปสอ. ให้ตอบสนองแนวทางใหม่ ปรับเปลี่ยน คปสอ. ให้เป็นคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิต และระบบสุขภาพอำเภอ (District Health Board - DHB) ให้มีบทบาท ปฏิรูปโครงการ ของภาครัฐและท้องถิ่น /พื้นที่ บนพื้นฐานของ 4 กิจกรรมสำคัญของแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ ประเมินความเสี่ยงของพื้นที่ จัดสรรความรับผิดชอบของฝ่ายรัฐและประชาชน สร้างเครือข่ายความร่วมมือระหว่างองค์กรต่างสังกัด สนับสนุนนวัตกรรมสังคม สื่อสารเพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ติดตามและประเมินผลด้วยระบบตัวชี้วัดความสำเร็จ (KPI) ที่ปรับปรุงใหม่

การบูรณาการ

การปฏิรูปโครงการและบูรณาการ : กลุ่มวัยผู้สูงอายุ ต.ท่ากว้าง อ.สารภี จ.เชียงใหม่ ตัวอย่าง กิจกรรมจาก SLM สุขภาพจิต โรคไม่ติดต่อ สารเสพติด พฤติกรรม ชุดงาน/ค่าใช้จ่าย 1.การพัฒนา/บริการ กลุ่มเป้าหมาย ดูแลผู้สูงอายุระยะยาว ทำคลินิก DPAC ทำคลินิก เลิกสุรา บุหรี่ สร้างเสริมวามสุข 5 มิติ การพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิ(บาท) 2. การเฝ้าระวัง/ คัด กรองโดยประชาชน -สำรวจ 2Q ADL วัดความดัน เจาะน้ำตาลในเลือด สารพิษในเลือด ทดสอบนิโคติน ทำAUDIT -ชั่งนน. ส่วนสูง หาBMI รอบเอว - การพัฒนาศักยภาพ อสม. นักจัดการสุขภาพ (บาท) 3. การดำเนิน มาตรการ ทางสังคม ปฏิบัติการชมรมสายใย น้ำใจท่ากว้าง สร้างบุคคลต้นแบบในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 3 อ. 2 ส. งานศพ งานเศร้างดเหล้า งดเบียร์ งดน้ำอัดลม ปั่นจักรยานทุกวันอาทิตย์ แอโรบิค ทุกเย็น ผู้สูงอายุ วันอังคารและวันศุกร์ ธรรมนูญสุขภาพตำบล (บาท) 4. การสื่อสารเพื่อ ปรับเปลี่ยน ส่งเสริมการทดลองปฏิบัติพฤติกรรมใหม่ในรูปแบบต่างๆ สร้างบุคคลต้นแบบ บุคคล เยี่ยมบ้าน บุคคลต้นแบบ การฝึกทักษะ อผส การพัฒนาศักยภาพวิทยากรกระบวนการ (บาท) 5. การปรับ โครงการ ของท้องถิ่น/ตำบล โครงการสุขใจไม่คิดสั้น โครงการลดเค็มครึ่งหนึ่งคนท่ากว้างห่างไกลโรค โครงการลดละ เลิกบุหรี่ สุรา ยาเสพติด โครงการออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ โรงเรียนร่มโพธิ์ (บาท) โครงการรายประเด็น โครงการรายกิจกรรม

ผลจากการบูรณาการ ตัวอย่าง

สร้างระบบข้อมูลสุขภาพ และตัวชี้วัด สร้างทีมดูแลข้อมูลในระดับอำเภอ/ ตำบล รวมทุกฝ่ายทั้งรัฐ ท้องถิ่น และประชาชน ทีมกำหนดวัตถุประสงค์และกระบวนการใช้ข้อมูล (ใช้เพื่ออะไร อย่างไร) สร้างระบบข้อมูลสุขภาพสำหรับกลุ่มเป้าหมายโดยจำแนกเป็นรายกลุ่มเป้าหมายและรายบุคคล ใช้ข้อมูลที่หน่วยงานทุกฝ่ายมีอยู่เดิมเป็นจุดตั้งต้น (สำรวจเพิ่มเติมตามความจำเป็น) สร้างระบบข้อมูลสภาวะแวดล้อมที่มีผลกระทบต่อสุขภาพ ใช้ระบบข้อมูลดิจิตอลเพื่อความคล่องตัวในการค้นหา เปลี่ยนแปลง สร้างความเชื่อมโยงกับผู้มีหน้าที่วิเคราะห์ ติดตาม แก้ปัญหาการปฏิบัติงาน สร้างระบบการ Update ข้อมูล

การกำหนดทิศทางการพัฒนา (Navigation) ใช้เครื่องมือสำคัญ 2 ชนิด 1. Critical Success Factor – CSF (หัวใจความสำเร็จ) “ อะไรคือสิ่งที่จุดประกายที่ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงต่างๆ (หรือปฏิกิริยาลูกโซ่)ที่นำไปสู่ความสำเร็จ” Key Performance Indicator (ตัวชี้วัดความสำเร็จ) “ เราต้องทำหรือจะทำอะไรที่ก่อให้เกิดปฏิกิริยาลูกโซ่เหล่านั้น ”

ทำความรู้จักกับ ตัวชี้วัด ประเภทที่ 1 แสดงผลลัพธ์ที่สำคัญ ของการเปลี่ยนแปลง ใช้ชื่อว่า Key Result Indicator ( KRI ) ประเภทที่ 2 แสดงปฏิบัติการที่นำไปสู่ผลลัพธ์ในประเภทที่ 1 ใช้ชื่อว่า Performance Indicator ( PI ) ประเภทที่ 3 แสดงปฏิบัติการสำคัญที่มีผลต่อวัตถุประสงค์ของยุทธศาสตร์หลายตัวหรือทั้งหมด ใช้ชื่อว่า Key Performance Indicator ( KPI )

สร้างนวัตกรรมสังคม (Social Innovation) ความคิด ใหม่

การสร้างนวัตกรรมสังคมเพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 3. รวบรวม เลือกเฟ้นความคิดใหม่ (Portfolio management) 1.สังคมกำหนดยุทธศาสตร์ (Innovation strategy) 2. ภาคีเครือข่ายรัฐ/ประชาชนคิดแก้ปัญหา ทำ(Make) ปรับปรุง(Innovate) สร้างสรรค์(Create) 5.2. มอบอำนาจ/ ขยายเครือข่าย 5.3. ประชาชนมีบทบาทร่วมกับรัฐ (ประชารัฐ) 4.1 ปฎิรูปโครงการ (Project management) ผลกระทบ ครอบคลุม ยั่งยืน 5.1. เปลี่ยน ทัศนะ/พฤติกรรม (Human resource management) 4.2. นวัตกรรมของประชาชน (Social innovation portfolio) 4.3. เผยแพร่นวัตกรรม (Dissemination)

การพัฒนาคุณภาพชีวิตและระบบสุขภาพอำเภอ ระยะที่ 7 เริ่มวงจรใหม่ ทุกปี

www.amornsrm.net ติดตามความก้าวหน้าและค้นหารายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ ขอขอบคุณ