ความสำคัญ เหตุผลที่เฝ้าระวัง PM10

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การรายงานผลการปฏิบัติงาน กลุ่มส่งเสริมและพัฒนาธุรกิจสหกรณ์
Advertisements

ยุทธศาสตร์ การจัดสรร งบประมาณ ยุทธศาสตร์การพัฒนาคนและสังคมที่มีคุณภาพ
สรุปสถานการณ์การ ระบาดเพลี้ยแป้ง ระหว่างวันที่ สิงหาคม 2554.
ณ 31 พฤษภาคม
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
. แผ น กลุ่ม 1 กลุ่ม 2 กลุ่ม 3 กลุ่ม 4 กลุ่ม 5 รวม 1. สหกรณ์/กลุ่ม เกษตรกรได้รับ การส่งเสริม สนับสนุนการ ดำเนินงาน สหกรณ์ กลุ่มเกษตรกร
ยุทธศาสตร์ลดปัจจัยเสี่ยง ในเด็กวัยเรียนและวัยรุ่น ปี 2551
ผลการปฏิบัติราชการ ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ กรมอนามัย ปีงบประมาณ พ
เป็นเจ้าภาพหลัก 2 ประเด็น เพื่อเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ปี 2558
สำนักโรคติดต่อทั่วไป กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข.
โครงการส่งเสริมการหยุดการ เผาในพื้นที่การเกษตร ปี 2559 กองส่งเสริมโครงการพระราชดำริ การจัดการพื้นที่และ วิศวกรรมเกษตร กรมส่งเสริมการเกษตร.
แผนการตรวจราชการ กระทรวงสาธารณสุข กรณีปกติ เขตสุขภาพ ที่ 2.
โดย นายแพทย์ณัฐพร วงษ์ศุทธิภากร รองอธิบดีกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข “เรียนรู้ สิ่งแวดล้อม สร้างสรรค์” นโยบายการดำเนินงานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม กรมอนามัย.
แผนยุทธศาสตร์การคุ้มครองผู้บริโภคแห่งชาติ ฉบับที่ 1 (พ.ศ )
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดพัทลุง
แนวทาง การดำเนินงาน ป้องกันการจมน้ำ สำนักโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค
การพัฒนาคุณภาพชีวิตในการทำงาน (Quality of Work Life)
SP สาขาอุบัติเหตุและฉุกเฉิน
ระบบคุ้มครองผู้บริโภค
การบริหารการเงินการคลัง ปีงบประมาณ 2562
รายงานสถานการณ์น้ำประจำวัน 7 พฤษภาคม 2558 ข้อมูล ณ เวลา น. www
Presentation การจัดการข้อร้องเรียนในธุรกิจบริการ Customer Complaint Management for Service.
การประเมินมาตรฐาน งานระบาดวิทยา ปี 2549
ประสบการณ์การ การใช้ระบบติดตามผลการดำเนินงานในกลุ่มผู้ใช้ยา/สารเสพติด
แพทย์หญิงวันทนีย์ วัฒนะ ผู้อำนวยการสำนักอนามัย
ตัวชี้วัด 24 ร้อยละของจังหวัดที่มีระบบจัดการปัจจัยเสี่ยง
กลุ่มเป้าหมาย สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด 76 จังหวัด ค่าเป้าหมาย
ยุทธศาสตร์ ที่ 1 Promotion, Prevention & Protection Excellence
บัตรยิ้ม สร้างเสริมกำลังใจ
ผลการปฏิบัติงานกรมตรวจบัญชีสหกรณ์
(ปัจจุบันไม่มียอดค้างชำระ)
ประกาศกรมควบคุมมลพิษ เรื่องหลักเกณฑ์ในการพิจารณาความเหมาะสมของพื้นที่ การออกแบบก่อสร้างและการจัดการสถานที่หมักปุ๋ยจากมูลฝอย ประกาศในกรมควบคุมมลพิษ.
มีระบบการตรวจสอบภายใน ควบคุมภายใน และการบริหารความเสี่ยงระดับจังหวัด
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูลเพื่อการพัฒนาชุมชน ปี 2561
เพื่อการขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์ทศวรรษ
ศูนย์อนามัยที่ 5 ราชบุรี
แผนพัฒนาการจัดบริการอาชีวอนามัย และเวชกรรมสิ่งแวดล้อม
ในช่วงเทศกาลสงกรานต์ พ.ศ.2560
ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จขององค์กรปกครอง
ให้วัคซีน dT แก่ประชากร
ข้อสังเกตโดยรวมของผลงานที่ได้คะแนน ระดับดีมาก - ดี
ปี 2560 ปฏิทินการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส
การประเมินศักยภาพชุมชน ด้วย... ค่ากลางที่คาดหวัง
กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
ตัวชี้วัดที่ 2.3 ระดับคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงานของหน่วยงานในสังกัดกรมอนามัย (Integrity and Transparency Assessment: ITA) เฉพาะหลักฐานเชิงประจักษ์
กำหนดการประชุมเชิงปฏิบัติการ
ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี
สำนักงานสิ่งแวดล้อมภาคที่ 1 กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
และ อ.เฉลิมพระเกียรติ จ.สระบุรี ปี 2557
การสนับสนุน การบูรณาการ ค่ากลาง จังหวัดเชียงใหม่
ความปลอดภัยด้านอาหารและน้ำ
กฎกระทรวง ความปลอดภัยทางรังสี พ.ศ.2561
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
การประชุมกรมอนามัย ครั้งที่ 10/2557 วันเสาร์ที่ 11 ตุลาคม 2557
ข้อมูลสถานการณ์ภัยแล้ง
กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข โรงแรมเดอะรอยัลเจมส์ กอล์ฟ รีสอร์ท
“ความร่วมมือในการขับเคลื่อนงาน คสจ. และ พชอ.”
มีระบบการตรวจสอบภายใน ควบคุมภายใน และการบริหารความเสี่ยงระดับจังหวัด
II-4การป้องกันและควบคุมการติดเชื้อ
โครงการพัฒนารูปแบบการดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน : ชุมชนลดเสี่ยง ลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง.
การติดตาม (Monitoring)
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
กรมมีผลการปฏิบัติงานที่ดี เกษตรกรได้รับประโยชน์
การประเมินผลการปฏิบัติราชการ ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ ตัวชี้วัดที่ 4 ร้อยละของเด็ก 0-5 ปี สูงดีสมส่วน ” สำนักโภชนาการ.
รายงานผลการปฏิบัติงาน ประจำปีงบประมาณ 2560 สำนักงานสหกรณ์จังหวัดลำพูน
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
การวิเคราะห์สภาพอากาศที่เอื้ออำนวยต่อการเกิดฝุ่นละอองขนาดเล็กบริเวณ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ ด้วยแบบจำลอง WRF.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ตัวชี้วัด: การเฝ้าระวังปริมาณฝุ่นละอองขนาดเล็ก (PM10) ตามมาตรฐานค่าเฝ้าระวังผลกระทบต่อสุขภาพ

ความสำคัญ เหตุผลที่เฝ้าระวัง PM10 ตัวชี้วัดสากลที่ US CDC, WHO Framework, European Commission และหลายประเทศ อาทิ อังกฤษ แคนาดา ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ ได้นำไปใช้ ประเทศไทยใช้ประเมินผลการบรรลุเป้าหมาย SDG, NEHAP 3, แผน CC (สธ.) เหตุผลที่เฝ้าระวัง PM10 สถานการณ์หมอกควันมีความรุนแรง (หมอกควันภาคเหนือ/ภาคใต้) ส่งผลกระทบ ในวงกว้าง นโยบายรัฐบาลกำหนดให้จัดการปัญหาแบบบูรณาการ มีสถานีตรวจวัดคุณภาพอากาศแบบประจำที่ครอบคลุมพื้นที่มากที่สุด มีทุกภาค (32 จังหวัด 58 สถานี) ทุกสถานีฯ สามารถตรวจวัด PM10 ได้ แสดงผลอัตโนมัติ Real Time รายชั่วโมง ข้อมูลมีความถูกต้อง น่าเชื่อถือ (คพ. รับรอง) เข้าถึงแหล่งข้อมูลได้สะดวก สามารถสืบค้นย้อนหลังได้ มีมาตรฐานค่าเฝ้าระวังผลกระทบต่อสุขภาพจาก PM10

วัตถุประสงค์ แหล่งข้อมูล กลุ่มเป้าหมาย เพื่อเฝ้าระวังปริมาณ PM10 ตามมาตรฐานค่าเฝ้าระวังผลกระทบต่อสุขภาพจากฝุ่นละอองขนาดเล็ก กลุ่มเป้าหมาย จังหวัดที่มีสถานีตรวจวัดคุณภาพอากาศแบบประจำที่ (32 จังหวัด 58 สถานี) แหล่งข้อมูล กรมควบคุมมลพิษ (air4thai.com รายงานสถานการณ์คุณภาพอากาศประจำปี) ปริมาณ PM10 พ.ร.บ.ส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. 2535 เกณฑ์แนะนำ WHO พ.ศ. 2549 ค่าเฝ้าระวังผลกระทบต่อสุขภาพจาก PM10 กรมอนามัย พ.ศ. 2558 ค่าเฉลี่ย 24 ชั่วโมง (Mean) 120 มคก./ลบ.ม. 50 มคก./ลบ.ม. แบ่งตามความรุนแรง 5 ระดับ ค่าเฉลี่ย 1 ปี (ค่าเฉลี่ยเรขาคณิต) 20 มคก./ลบ.ม. -

การดำเนินงาน พื้นที่วิกฤตหมอกควัน (9 จังหวัดภาคเหนือ) เก็บข้อมูล ใช้ค่าเฉลี่ย PM10 (Mean) จาก air4thai.com เวลา 09.00 น. ของทุกวัน ในช่วงวิกฤตหมอกควัน วิเคราะห์ เปรียบเทียบมาตรฐานค่าเฝ้าระวังผลกระทบต่อสุขภาพของกรมอนามัย ทำ Info graphic ระดับผลกระทบต่อสุขภาพและคำแนะนำการปฏิบัติตัว เผยแพร่ สื่อสาร/เตือนภัยผลกระทบต่อสุขภาพผ่าน Website, FB, Line Group แก้ไข ติดตาม/ประเมินสถานการณ์ (จำนวนวันที่เกิน ค่าสูงสุด เชื่อมโยงกับการเจ็บป่วยของประชาชนในพื้นที่) บูรณาการกับภาคีเครือข่าย (ทั้งในและนอกภาคสาธารณสุข) ร่วมกันจัดการปัญหา

การดำเนินงาน พื้นที่ทั่วไป (32 จังหวัด) เก็บข้อมูล วิเคราะห์ เผยแพร่ ค่าเฉลี่ย PM10 รายปี (Geometric Mean) จาก air4thai.com วิเคราะห์ เปรียบเทียบมาตรฐานค่าเฝ้าระวังผลกระทบต่อสุขภาพตามกม.สิ่งแวดล้อม วิเคราะห์เชื่อมโยงกับการเจ็บป่วยด้วยโรคระบบทางเดินหายใจรายจังหวัด เผยแพร่ แผนที่ความเสี่ยงแสดงผลกระทบต่อสุขภาพจาก PM10 เผยแพร่ใน DoH Dashboard, Website และรายงานสถานการณ์ อวล. แก้ไข ร่วมวางมาตรการแก้ไข/ลดผลกระทบต่อสุขภาพจากมลพิษอากาศกับภาคีเครือข่ายแต่ละระดับ (ใน/นอกภาคสาธารณสุข) ติดตาม/ประเมินสถานการณ์ในภาพรวมและระดับพื้นที่ บูรณาการกับภาคีเครือข่าย และร่วมกันจัดการปัญหา

การใช้ประโยชน์ การประเมินผล ผลที่คาดว่าจะได้รับ ประเมินสถานการณ์มลพิษอากาศ (ในภาพรวมและระดับพื้นที่) เป็นข้อมูลใช้สื่อสาร/เตือนภัยและแนะนำประชาชน/กลุ่มเสี่ยงให้หลีกเลี่ยงหรือป้องกัน การรับสัมผัส เมื่อพบว่ามีค่าเกินมาตรฐาน เป็น Trigger Point เปิด EOC ของหน่วยงานต่างๆ ประเมินผลกระทบต่อสุขภาพจากมลพิษทางอากาศ (คาดการณ์ผลกระทบในอนาคต) การประเมินผล ช่วงวิกฤติหมอกควัน: จัดทำสรุปผลการเฝ้าระวังรายงานที่ประชุมกรมฯ เดือนละ 1 ครั้ง ทั่วไป: จัดทำสรุปรายงานผลการเฝ้าระวังรายปี และนำไปเชื่อมกับข้อมูลด้านสุขภาพ ผลที่คาดว่าจะได้รับ ประชาชนได้รับข้อมูลสถานการณ์มลพิษอากาศและปฏิบัติตัวได้อย่างถูกต้อง ทราบสถานการณ์ผลกระทบต่อสุขภาพและการเจ็บป่วยจากการได้รับมลพิษทางอากาศ ในภาพรวมและระดับพื้นที่