บทที่ 2 แนวคิดทางด้านต้นทุน ชนิดต้นทุน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การประยุกต์ใช้องค์ประกอบของต้นทุนการผลิตเพื่อการบริหารอย่างมืออาชีพ
Advertisements

นพ.ขวัญประชา เชียงไชยสกุลไทย
Information Systems in the Enterprise
การใช้โปรแกรม Hospital Cost Analysis (พัฒนาโดย รศ.นพ.กำจร ตติยกวี)
Foundations of Management Understanding
Functional components of a computer
Production Planning and Control
Process Analysis การวิเคราะห์กระบวนการ
วันที่ 20 สิงหาคม 2556 การวางแผนการผลิตรวม
นวัตกรรมสื่อการเรียนการสอนโดยใช้เกม เรื่อง ลองคิดดู...ต้นทุนคืออะไร?
Mathematical Model of Physical Systems. Mechanical, electrical, thermal, hydraulic, economic, biological, etc, systems, may be characterized by differential.
Expedited and Exempt Review Ethics Committee, Faculty of Tropical Medicine, Mahidol university By Prof. Krisana Pengsaa.
การวิเคราะห์ต้นทุนผสม
การวางแผนความต้องการวัสดุ Material Requirements Planning : MRP
Sheet Ac 313 การปันส่วนค่าใช้จ่ายการผลิต
LIT MBA รุ่นที่ 3 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา ธันวาคม 2558.
ส่วนที่ 2 ระบบประเมินผลสัมฤทธิ์โครงการบูรณาการ (Project Evaluation System)  การประเมินคุณภาพบริการ  การประเมินศักยภาพระบบสนับสนุน การวิเคราะห์ต้นทุน.
สรุปผลการตรวจราชการและนิเทศงาน รอบที่ 2 ปี 2558 คณะที่ 3 พัฒนาระบบบริหารจัดการเพื่อสนับสนุน การจัดบริการ วันที่ 5 สิงหาคม 2558 วันที่ 5 สิงหาคม 2558 ณ.
การบริหารโครงการ (Project Management) โครงการ คือ งาน (task) ซึ่งมีการ กำหนดเวลาเริ่มต้นและสิ้นสุด ที่ แน่นอนและมีความต้องการใช้ทรัพยากร ต่างๆใน แต่ละกิจกรรมโดย.
Computer Integrated Manufacturing
วัตถุประสงค์การเรียนรู้
พ.ท.หญิง ญาติมา คุณวัฒน์
บทที่ 10 การออกแบบรายงาน Output Design
Product Overview & ERP Concept
หลักการและความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการบัญชี
ระบบการผลิต อาจารย์ วรันลักษณ์ ภักดิ์ใจดี.
Food safety team leader
การวางแผนกำลังการผลิต
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ
บทที่ 7 ราคา Price.
Flexible Budgeting and
Risk Management in Siam University
ระบบบัญชาการเหตุการณ์และ ศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข
Control Charts for Count of Non-conformities
บทที่ 3 การตัดสินใจ ประเทศไทย - เศรษฐกิจ - การเมือง Google
เปรียบเทียบต้นทุนต่อหน่วย โรงพยาบาลในเขตบริการสุขภาพที่ 1 ปี 2556
ฝ่ายการเจ้าหน้าที่ ฝ่ายพัฒนาบุคลากร ฝ่ายประเมินผลงาน
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการบัญชีต้นทุน
การจัดการต้นทุน การขนส่งทางท่อ ( Pipeline Transportation )
Generic View of Process
“ระบบการจัดเก็บข้อมูลบริการ เพื่อเชื่อมโยงกับระบบบัญชี”
บทที่ 2 แนวคิดทางด้านต้นทุน ชนิดต้นทุน
แนวคิดเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์
เทคนิคการทำงานให้มีประสิทธิภาพ
อ.ส่งเสริม วจีทองรัตนา
กระบวนการตัดสินใจของผู้บริโภค (Consumer’s Decision Making)
การวิเคราะห์ความสัมพันธ์ต้นทุน – ปริมาณ – กำไร
การคิดค่าภาระงานทางการพยาบาล
บทที่ 4 การจัดการสินค้าคงคลัง
การวางแผน (Planning) คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
แนวทางการตรวจนิเทศงานสาธารณสุขผสมผสาน การประเมินผล การปฏิบัติราชการRanking นำสู่ ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๐.
ตัวชี้วัดปศุสัตว์อำเภอ ปีงบประมาณ ๒๕๖๑
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการประกอบธุรกิจ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
การจัดการทางการพยาบาล Management in Nursing
บทที่ 7: นโยบายของรัฐและปัจจัยภายนอกที่มีผลต่อการพัฒนาการเกษตร
การผลิตและการจัดการการผลิต
(การสุ่มตัวอย่างเพื่อการยอมรับ)
การมีส่วนร่วมและขจัดความขัดแย้งในการทำงาน
(เครื่องมือทางการบริหาร)
Activity-Based-Cost Management Systems.
การจัดการโซ่อุปทานและโลจิสติกส์
การบริหารการผลิต.
EM: Asst.Prof.Dr.PattanaSirichotpundit, Ph.D.
แนวคิดทั่วไปเกี่ยวกับการบัญชีต้นทุน
บทที่ 5 การวางแผนทางการเงิน ผศ. อรทัย รัตนานนท์ รศ.อรุณรุ่ง วงศ์กังวาน.
Inventory Control Models
การจัดการศูนย์สารสนเทศ หน่วยที่ 5
บทที่ 5 การวางแผนผังกระบวนการผลิต
การประชุมคณะทำงานการจัดการพลังงาน อาคาร บก. ทท
เงินนอกงบประมาณ โครงการพัฒนาศักยภาพบุคลากรตามเกณฑ์ประเมินผลการปฏิบัติงาน ด้านบัญชีในระบบ GFMIS (กระทรวงสาธารณสุข) นายธราธิป หนูเจริญ นักวิชาการคลังชำนาญการ.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

บทที่ 2 แนวคิดทางด้านต้นทุน ชนิดต้นทุน การวิเคราะห์พฤติกรรมต้นทุน และการใช้ประโยชน์

ความสำคัญของต้นทุน ต้นทุน ในทางบัญชีการเงินหมายถึง จำนวนทรัพยากรที่จ่ายออกไปหรือใช้ไปเพื่อให้ผลิตภัณฑ์ โดยสะสมอยู่ในรูปต้นทุนผลิตภัณฑ์

Managers need cost information to perform each of these functions. ความสำคัญของต้นทุน Planning Control Managers need cost information to perform each of these functions. Decision Making Directing and Motivating

ประเภทต้นทุนทางการบริหาร

ความสัมพันธ์ทางการบริหาร ต้นทุนจำแนกโดย ความสัมพันธ์ทางการบริหาร

ภาษี ต้นทุน กำไรสุทธิหลังภาษี คือ รายได้ คือ ต้นทุนทั้งหมดใช้เพื่อซื้อสินค้าและจำหน่ายออกไป หรือเพื่อใช้การผลิตผลิตภัณฑ์ทั้งหมด ต้นทุน ค่าใช้จ่าย คือค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นตลอดงวดระยะเวลาบัญชี เพื่อใช้จ่ายการดำเนินงานทางด้านการตลาดและทางด้านการดำเนินงานอื่นๆ (ค่าใช้จ่ายในการขายและบริหาร) กำไรสุทธิจากการดำเนินงาน ภาษี กำไรสุทธิหลังภาษี

Costs Expenses (Operation Costs) ภาษี ต้นทุน กำไรสุทธิหลังภาษี รายได้ ค่าใช้จ่าย กำไรสุทธิจากการดำเนินงาน ภาษี กำไรสุทธิหลังภาษี

ทั้งทางตรงและทางอ้อม สรุป รายจ่ายจากโรงงาน เพื่อสร้างผลิตภัณฑ์ ทั้งทางตรงและทางอ้อม รายจ่ายจาก สำนักงาน(บริหาร) และการตลาด ต้นทุน ค่าใช้จ่าย

ภาษี ต้นทุน กำไรสุทธิหลังภาษี Manufacturing Costs รายได้ ต้นทุน Manufacturing Costs ค่าใช้จ่าย Non-manufacturing Costs กำไรสุทธิจากการดำเนินงาน ภาษี กำไรสุทธิหลังภาษี

ความสัมพันธ์กับรายได้ ต้นทุนจำแนกโดย ความสัมพันธ์กับรายได้ ในช่วงเวลาหนึ่ง

การจำแนกตามความสัมพันธ์กับรายได้ในช่วงเวลาหนึ่ง Using Cost Information for External Purposes Product Costs Period Costs Nonmanufacturing Costs Manufacturing Direct Indirect

ภาษี ต้นทุนผลิตภัณฑ์ ต้นทุน (Products Cost) กำไรสุทธิหลังภาษี รายได้ ต้นทุน ต้นทุนผลิตภัณฑ์ (Products Cost) ค่าใช้จ่าย คือต้นทุนที่เกิดขึ้นตลอดงวด ระยะเวลาบัญชี เกี่ยวกับค่าใช้จ่าย ในการขายและบริหาร หรือเรียกว่าต้นทุนงวดเวลา ( Period Cost) กำไรสุทธิจากการดำเนินงาน ภาษี กำไรสุทธิหลังภาษี

Products Cost Periods Cost ภาษี ต้นทุน กำไรสุทธิหลังภาษี รายได้ ค่าใช้จ่าย Periods Cost กำไรสุทธิจากการดำเนินงาน ภาษี กำไรสุทธิหลังภาษี

การจำแนกตาม ความสามารถในการวัด (Measurable)

ต้นทุนทางตรง สามารถวัดได้อย่างแน่ชัดของต้นทุนสินค้าชนิดหนึ่งว่า ใช้ไปในปริมาณที่เท่าไร คิดเป็นต้นทุนกี่บาท ต้นทุนทางอ้อม ไม่สามารถวัดได้โดยตรงว่าในการผลิตสินค้า 1 หน่วยนั้นใช้ปัจจัยการผลิตเป็นจำนวนเท่าไรได้แน่ชัด

ต้นทุนการผลิต ไม้สัก ตะปู กาว แลกเกอร์ กระดาษทราย ค่าแรงช่างฝีมือ เงินเดือนหัวหน้างาน เงินเดือนพนักงานออกแบบ ค่าเสื่อมราคา-อาคารและอุปกรณ์การผลิต ฯลฯ

ต้นทุนทางอ้อม ต้นทุนทางตรง ไม้สัก ค่าแรงงานช่างฝีมือ ตะปู กาว แลกเกอร์ กระดาษทราย เงินเดือนหัวหน้างาน เงินเดือนพนักงานออกแบบ ค่าเสื่อมราคา-อาคารและอุปกรณ์การผลิต ฯลฯ ต้นทุนทางตรง ไม้สัก ค่าแรงงานช่างฝีมือ

การจำแนกตาม ความสามารถติดตามได้ (Traceability)

สามารถจำแนกได้ 2 ชนิด ต้นทุนที่สามารถติดตามได้ โดยสามารถติดตามหรือสามารถบอกได้ว่าต้นทุนที่เกิดขึ้น หน่วยงานใดเป็นผู้จ่ายต้นทุนรายการนั้น ต้นทุนทั่วไป เป็นรายการที่ไม่สามารถระบุได้แน่ชัดว่าใครเป็นผู้ใช้

ติดตามได้ ทั่วไป

การจำแนกตาม พฤติกรรมต้นทุน (Cost Behavior)

สามารถจำแนกต้นทุนได้เป็น 5 ชนิด ต้นทุนผันแปร (Variable Costs) คือต้นทุนที่มีอัตราต้นทุนต่อหน่วยเท่ากันทุกหน่วย โดยเปลี่ยนแปลงไปในสัดส่วนเดียวกันกับการเปลี่ยนแปลงในกิจกรรมการดำเนินงาน ต้นทุนผันแปรตามระดับ (Step Variable Costs) คือต้นทุนผันแปรที่มีลักษณะต้นทุนต่อหน่วยคงที่เท่ากันทุกหน่วยในระดับหนึ่ง แต่จะมีต้นทุนต่อหน่วยเปลี่ยนแปลงไปเมื่อระดับกำลังการผลิตเกินกว่าระดับ อัตราต้นทุนผันแปรต่อหน่วยก็จะเปลี่ยนแปลงไป ต้นทุนคงที่ (Fixed Costs) คือต้นทุนชนิดที่มีต้นทุนรวมไม่มีการเปลี่ยนแปลงตามระดับกิจกรรม ไม่ว่ากิจกรรมจะมีการเปลี่ยนแปลงไปอย่างไร ต้นทุนคงที่ตามระดับ (Step Fixed Costs) คือต้นทุนคงที่รวมที่มีลักษณะต้นทุนรวมเท่ากันในระดับหนึ่ง แต่เมื่อบริษัทจะต้องผลิตเกินกว่าระดับนั้น จะต้องมีต้นทุนคงที่เพิ่มเติมเพื่อขยายกำลังการผลิต ต้นทุนผสม (Mixed Costs) คือต้นทุนที่มีส่วนผสมทั้งคงที่และผันแปร เมื่อไม่มีกิจกรรมการดำเนินงานเกิดขึ้นก็ยังมีค่าใช้จ่ายคงที่ และเมื่อเริ่มดำเนินงานต้นทุนก็จะเพิ่มตามระดับของกิจกรรมที่มีสัดส่วนชัดเจนและไม่ชัดเจน

ต้นทุนผันแปร

ต้นทุนผันแปรตามระดับ

ต้นทุนคงที่

ต้นทุนคงที่ตามระดับ

ต้นทุนผสม ต้นทุนผสมที่มีส่วนผสมชัดเจน ต้นทุนผสมที่มีสัดส่วนไม่ชัดเจน

ต้นทุนผสมที่มีสัดส่วนชัดเจน

ต้นทุนผสมที่มีส่วนผสมที่ไม่ชัดเจน

เทคนิควิธีที่ใช้ในการวิเคราะห์ และจำแนกต้นทุนคงที่กับต้นทุนผันแปรออกจากต้นทุนผสม วิธีวิเคราะห์สูงต่ำ (high–low method) วิธีวิเคราะห์โดยแผนภาพ (scatter graph method) วิธีสมการถดถอย (regression analysis)

วิธีวิเคราะห์สูง - ต่ำ high low

ขั้นที่หนึ่ง เลือกข้อมูล จากข้อมูลข้างต้น พบว่า ณ ระดับกิจกรรมสูงสุดคือเดือนที่หก และ ณ ระดับกิจกรรมต่ำสุดคือเดือนที่แปด ขั้นที่สอง คำนวณอัตราต้นทุนผันแปร

ขั้นที่สาม คำนวณหาต้นทุนส่วนคงที่

ข้อดีข้อเสียวิธีวิเคราะห์สูง-ต่ำ วิธีวิเคราะห์สูง – ต่ำ เป็นวิธีแยกต้นทุนผสมอย่าง ข้อเสีย เป็นวิธีที่ใช้ข้อมูลเพียง 2 ข้อมูลเท่านั้น ซึ่งอาจจะไม่ใช่ตัวแทนที่ดี ในการวิเคราะห์ต้นทุนดังนั้น ผลจากการคำนวณค่า A และค่า B ที่นำไปกำหนดสูตรสำหรับคาดคะเนต้นทุนผสม จึงมีความเชื่อถือได้น้อยลงในความถูกต้อง

วิธีวิเคราะห์โดยแผนภาพ

จากตาราง พบว่าเส้นตรงตัดแกนตั้ง ณ จุด 20,000 บาท หมายถึงส่วนของต้นทุนคงที่ นำไปคำนวณต้นทุนผันแปร ดังนี้

ข้อดี-ข้อเสียวิธีวิเคราะห์ด้วยแผนภาพ วิธีนี้น่าเชื่อถือได้มากกว่าวิธีวิเคราะห์สูง-ต่ำเพราะใช้จำนวนข้อมูลประกอบการวิเคราะห์มากกว่า และการใช้วิธีวิเคราะห์ด้วยแผนภาพ เป็นวิธีที่ใช้จำแนกต้นทุนอย่างง่ายๆ ทำให้สะดวกและประหยัดเวลาและค่าใช้จ่าย ข้อเสีย วิธีนี้ความแม่นยำยังมีน้อย เนื่องจากการลากเส้นด้วยสายตากระทำโดยนักวิเคราะห์ ซึ่งนักวิเคราะห์แต่ละคนอาจจะให้คำตอบแตกต่างกันไป ไม่มีคำตอบที่แน่นอน

ข้อดี-ข้อเสียของวิธีกำลังสองน้อยที่สุด ให้ค่าที่ได้แม่นยำกว่าวิธีอื่นๆ เพราะนำข้อมูลทั้งหมดที่ได้จากการรวบรวมมาใช้ในการคำนวณ ข้อเสีย มีความยุ่งยากในการคำนวณมากกว่าวิธีอื่นๆ

การจำแนกตาม ระดับการถัวเฉลี่ยต้นทุน

ต้นทุนต่อหน่วย (Unit Costs) ต้นทุนรวม (Total Costs) แบ่งออกเป็น 2 ชนิด ต้นทุนต่อหน่วย (Unit Costs) ต้นทุนรวม (Total Costs) โดยต้นทุนต่อหน่วยถูกแบ่งออกมาจากต้นทุนรวม ซึ่งต้นทุนรวมนั้นประกอบด้วยต้นทุนที่จำแนกตามพฤติกรรมสองส่วนคือ ต้นทุนคงที่และต้นทุนรวม ดังนั้นปริมาณการผลิตจะส่งผลโดยตรงต่อต้นทุนต่อหน่วย

การจำแนกตามความ เกี่ยวข้องในการตัดสินใจ ของผู้บริหาร

ต้นทุนที่ควบคุมได้ คือต้นทุนที่ผู้บริหารสามารถควบคุมการเกิดขึ้นของต้นทุนรายการนั้นได้ และต้นทุนที่ควบคุมไม่ได้ ต้นทุนมาตรฐาน คือการกำหนดต้นทุนการผลิตไว้ล่วงหน้า ต้นทุนที่เกี่ยวข้อง คือต้นทุนที่คาดว่าจะเกิดขึ้นในอนาคต โดยจะเกี่ยวข้องกับทางเลือกในการตัดสินใจของผู้บริหาร ต้นทุนส่วนเพิ่มหรือต้นทุนส่วนต่าง คือส่วนต่างระหว่างสองทางเลือก เพื่อใช้ตัดสินใจเลือกทางเลือกที่ดีที่สุด ต้นทุนจม คือต้นทุนที่เกิดขึ้นไปในอดีต ไม่สามารถเปลี่ยนแปลงได้ด้วยการตัดสินใจในปัจจุบัน

หมายเหตุ วัตถุดิบสามารถแบ่งออกเป็น 2 ชนิด คือ วัตถุดิบทางตรง (Direct Material) (Variable Cost) วัตถุดิบ วัตถุดิบทางอ้อม (Indirect Material) (ถือเป็นค่าใช้จ่ายการผลิตอย่างหนึ่ง)

หมายเหตุ ค่าแรงสามารถแบ่งออกเป็น 2 ชนิด คือ ค่าแรงทางตรง (Direct labor) (Variable Cost) ค่าแรง ค่าแรงทางอ้อม (Indirect labor) (ถือเป็นค่าใช้จ่ายการผลิตอย่างหนึ่ง)

Manufacturing Overhead Manufacturing costs that cannot be traced directly to specific units produced. ค่าใช้จ่ายการผลิต คือ ค่าใช้จ่ายในการผลิตสินค้าทุกชนิด แต่ ไม่สามารถระบุได้อย่าง ชัดเจนว่าสินค้าหน่วยใดใช้เท่าใด ดังนั้นในการคิดต้นทุนให้กับสินค้าจึงใช้วิธีจัดสรรให้กับสินค้าแต่ละหน่วย หน่วยละเท่าๆ กัน Manufacturing Overhead costs consist of : indirect materials + Indirect labor + Others