งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

Flexible Budgeting and

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "Flexible Budgeting and"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 Flexible Budgeting and
ประมาณงบยืดหยุ่น และ การวิเคราะห์ผลต่าง Flexible Budgeting and Variance Analysis

2 แนวคิดงบประมาณยืดหยุ่น และการวิเคราะห์ผลต่าง

3 งบประมาณยืดหยุ่น (Flexible Budgets)
คือ งบประมาณที่จัดทำขึ้น ณ ระดับผลการปฏิบัติหลายระดับ เช่น ระดับแผนก ระดับสายการผลิต ระดับบริษัท ฯลฯ

4 การวิเคราะห์ผลต่าง แนวคิดการวิเคราะห์ผลต่างนั้นมีวัตถุประสงค์ ก็เพื่อที่จะทราบสาเหตุที่ทำให้ผลกำไรสุทธิแตกต่างไปจากแผนงบประมาณหลักที่วางไว้

5

6 ตัวอย่างการประเมินผลโดยงบประมาณยืดหยุ่น ในระดับแผนก

7

8 จะเห็นได้ว่า ปริมาณการผลิตไม่เท่ากัน การเปรียบเทียบที่เห็นดังกล่าวจึงไม่สามารถนำมาใช้ในการตัดสินใจแก้ไขปัญหาต่างๆได้ เหมือนเอานักมวยต่างรุ่นกันมาชกกัน การแพ้ชนะที่เกิดขึ้นไม่มาสารถบอกได้ว่า ใครเก่งกว่า เราจึงต้องจัดทำงบประมาณยืดหยุ่นขึ้น

9 ขั้นตอนการจัดทำงบประมาณยืดหยุ่น (Preparing a Flexible Budget)
คำนวณต้นทุนผันแปรต่อหน่วยตามงบประมาณเดิม จัดทำงบประมาณยืดหยุ่นใหม่โดยต้นทุนผันแปรคำนวณ คัดลอกงบประมาณชนิดคงที่ลงงบประมาณยืดหยุ่นใหม่ในจำนวนเท่าเดิม วิเคราะห์ผลต่างใหม่ Fixed Variable

10 Advantages of Flexible Budgets
Show revenues and expenses that should have occurred at the actual level of activity. May be prepared for any activity level in the relevant range. Reveal variances due to good cost control or lack of cost control. Improve performance evaluation.

11

12 การคำนวณต้นทุนผันแปรต่อหน่วยตามงบประมาณเดิม

13

14

15

16

17

18

19 ตัวอย่างการประเมินผลโดยงบประมาณยืดหยุ่น ในระดับบริษัท

20 WEBB COMPANY

21 ต่อไปนี้เป็นตัวอย่าง บริษัท เว็บ จำกัด เป็นบริษัทผู้ผลิตเสื้อผ้าเด็กออกจำหน่าย เพื่อให้ง่ายในการทำความเข้าใจขอสมมุติว่าในเดือนมกราคม ปีงบประมาณ 25+7 บริษัทได้วางแผนที่จะผลิตและจำหน่ายเสื้อแจ็กเก็ตเด็กจำนวน 12,000 ตัว แต่จากผลการปฏิบัติงานจริงพบว่าบริษัทสามารถผลิตและจำหน่ายเพียง 10,000 ตัวเท่านั้น โดยบริษัทกำหนดบัตรต้นทุนมาตรฐานแจ็กเก็ต 1 ตัว ไว้ดังต่อไปนี้

22 ในหนึ่งปีมีงบประมาณค่าใช้จ่ายการผลิตคงที่ปีละ 3,312,000 บาท และมีกำลังการผลิตเท่ากับ 57,600 ชั่วโมงเครื่องจักร

23

24

25

26

27

28

29

30

31

32

33

34

35

36

37 ผลต่างปริมาณขาย (Sales Volume Variance)

38 สาเหตุที่ปริมาณขายน้อยกว่าแผนที่วางไว้ซึ่งสาเหตุอาจจะมาจากเหตุผลดังต่อไปนี้
ความต้องการสินค้าประเภทนี้ไม่เติบโตตามที่คาดไว้เหมือนตอนวางแผนงบประมาณหลัก คู่แข่งสามารถแย่งส่วนแบ่งตลาดไปจากบริษัท บริษัทไม่สามารถปรับปรุงสินค้าให้มีรูปแบบให้เปลี่ยนไปตามความต้องการของตลาดได้ทัน งบประมาณขายได้ประมาณการณ์ไว้ไม่ถูกต้องตั้งแต่ แรกทำให้ไม่สามารถปฏิบัติงานได้จริง อื่นๆ

39 ผลต่างราคาขาย (Selling Price Variance)

40 สาเหตุที่ผลต่างราคาขายน่าพึงพอใจเช่นนี้ อาจจะมาจาก
สาเหตุที่ผลต่างราคาขายน่าพึงพอใจเช่นนี้ อาจจะมาจาก แผนการตลาดประสบความสำเร็จทำให้ภาพลักษณ์สินค้าของบริษัทอยู่ในระดับสูงจึงทำให้สามารถตั้งราคาขายได้สูง หรือ อัตราเงินเฟ้อที่สูงขึ้นของประเทศ ทำให้ราคาสินค้าโดยทั่วไปในท้องตลาดสูงขึ้น รวมทั้งราคาขายผลิตภัณฑ์ของบริษัทด้วย เป็นต้น

41 การวิเคราะห์ผลต่างต้นทุนมาตรฐาน วัตถุดิบทางตรง

42 ในหนึ่งปีมีงบประมาณค่าใช้จ่ายการผลิตคงที่ปีละ 3,312,000 บาท และมีกำลังการผลิตเท่ากับ 57,600 ชั่วโมงเครื่องจักร

43 ข้อมูลผลการดำเนินงานจริง ประกอบการวิเคราะห์ผลต่างต้นทุนมาตรฐาน
การซื้อและใช้วัตถุดิบทางตรง ปริมาณผ้าที่ถูกใช้ในการผลิตทั้งหมด 22,200 หลา2 ต้นทุนผ้าที่ใช้ในการผลิตทั้งหมด 621,600 บาท ค่าแรงทางตรง ชั่วโมงการทำงานจริง ,000 ชั่วโมง ต้นทุนค่าแรงทางตรง 198,000 บาท ค่าใช้จ่ายการผลิต ชั่วโมงเครื่องจักรใช้ในการผลิต ,500 MH ต้นทุนค่าใช้จ่ายการผลิตผันแปร 135,000 บาท ต้นทุนค่าใช้จ่ายการผลิตคงที่ 285,000 บาท

44 Material Price Variance Material Quantity Variance
MATERIAL VARIANCE AQ X AP AQ X SP SQ X SP Material Price Variance Material Quantity Variance Total Material Variance

45 Material Price Variance Material Quantity Variance 44,400 F 66,000 U
MATERIAL VARIANCE AQ X AP AQ X SP SQ X SP =22,200 x 28 =22,200 x 30 =(10,000x2)x30 =621,600 =666,000 =20,000 x 30 =600,000 Material Price Variance Material Quantity Variance 44,400 F 66,000 U Total Material Variance 21,600 U

46

47 สาเหตุที่ผลต่างวัตถุดิบมีราคาถูกกว่ามาตรฐานที่วางไว้อาจจะมาจากสาเหตุดังต่อไปนี้
พนักงานฝ่ายจัดซื้อมีทักษะในการต่อรองสูง ทำให้สามารถจัดซื้อผ้าในราคาที่ต่ำกว่า ราคามาตรฐาน ฝ่ายจัดซื้อเปลี่ยนไปซื้อวัตถุดิบจากผู้จัดจำหน่ายเจ้าอื่นที่มีราคาขายถูกกว่า การจัดซื้อในปริมาณมากทำให้ได้รับส่วนลดปริมาณ ส่งผลให้ราคาเฉลี่ยต่อหน่วยราคาถูกลง ราคาวัตถุดิบโดยรวมในภาคอุตสาหกรรมมีราคาลดลงกว่าครั้งที่ บริษัทกำหนดราคามาตรฐาน การกำหนดราคาวัตถุดิบตั้งแต่ตอนต้นไม่รอบคอบทำให้ตั้งราคาสูงไปหรือ ฝ่ายจัดซื้อ จงใจกำหนดราคาวัตถุดิบให้สูงตั้งแต่ต้นเพื่อว่าผลการปฏิบัติงาน จริงจะได้มีผลต่างน่าพอใจ เพื่อจะได้ผลการประเมินการปฏิบัติงานในระดับที่ดี และได้รับผลตอบแทนที่ดี ฝ่ายจัดซื้อเปลี่ยนไปซื้อวัตถุดิบอีกชั้นคุณภาพทำให้มีราคาถูกลง และเพื่อให้แผนกตนมีผลต่างน่าพอใจ

48 สาเหตุที่วัตถุดิบมีผลต่างปริมาณไม่น่าพอใจอาจจะมาจากสาเหตุ ดังต่อไปนี้
สาเหตุที่วัตถุดิบมีผลต่างปริมาณไม่น่าพอใจอาจจะมาจากสาเหตุ ดังต่อไปนี้ ฝ่ายจัดซื้อเปลี่ยนไปซื้อสินค้าคุณภาพต่ำ ซึ่งผลิตยากกว่าคุณภาพปกติที่ได้กำหนดไว้ตามมาตรฐาน ทำให้เกิดของเสียในกระบวนการผลิตมาก ผู้จัดการและหัวหน้าฝ่ายผลิต ไม่ติดตามและควบคุมงานให้ดีพอจึงทำให้พนักงาน ฝ่ายผลิตไม่ใส่ใจต่อกรรมวิธีการผลิตใช้วัตถุดิบสิ้นเปลือง พนักงานผลิตมีทักษะต่ำ ก่อให้เกิดของเสียจากกระบวนการผลิตสูง ปัญหาจากเครื่องจักรการผลิต ที่ด้อยประสิทธิภาพหรือขัดข้อง ก่อให้เกิดความเสียหายแก่วัตถุดิบ การควบคุมวัตถุดิบคงคลังด้อยประสิทธิภาพ อาจมีของเสียหาย หรือการขโมยวัตถุดิบจากคลัง หรือแม้แต่ในกระบวนการผลิต

49 การวิเคราะห์ผลต่างต้นทุนมาตรฐาน ค่าแรงทางตรง

50 ในหนึ่งปีมีงบประมาณค่าใช้จ่ายการผลิตคงที่ปีละ 3,312,000 บาท และมีกำลังการผลิตเท่ากับ 57,600 ชั่วโมงเครื่องจักร

51 ข้อมูลผลการดำเนินงานจริง ประกอบการวิเคราะห์ผลต่างต้นทุนมาตรฐาน
การซื้อและใช้วัตถุดิบทางตรง ปริมาณผ้าที่ถูกใช้ในการผลิตทั้งหมด 22,200 หลา2 ต้นทุนผ้าที่ใช้ในการผลิตทั้งหมด 621,600 บาท ค่าแรงทางตรง ชั่วโมงการทำงานจริง ,000 ชั่วโมง ต้นทุนค่าแรงทางตรง 198,000 บาท ค่าใช้จ่ายการผลิต ชั่วโมงเครื่องจักรใช้ในการผลิต ,500 MH ต้นทุนค่าใช้จ่ายการผลิตผันแปร 135,000 บาท ต้นทุนค่าใช้จ่ายการผลิตคงที่ 285,000 บาท

52 Labor Rate Variance Labor Efficiency Variance
LABOR VARIANCE AH X AR AH X SR SH X SR Labor Rate Variance Labor Efficiency Variance Total Labor Variance

53 Labor Rate Variance Labor Efficiency Variance
LABOR VARIANCE AH X AR AH X SR SH X SR =9,000 x =9,000 x 20 =(10,000x0.8)x20 =198,000 =180,000 =8,000 x 20 =160,000 Labor Rate Variance Labor Efficiency Variance 18,000 U ,000 U Total Labor Variance 38,000 U

54

55 สาเหตุที่อัตราค่าแรงสูงกว่าอัตรามาตรฐานที่วางไว้อาจจะมาจาก
อัตราค่าแรงในท้องตลาดหรือกฎหมายกำหนดอัตราสูงขึ้น ทำให้บริษัทต้องจ่ายค่าแรงตามราคาตลาดหรือตามกฎหมายกำหนด การเรียกร้องของสหภาพแรงงาน และบริษัทยินยอมตามคำร้องขอของสหภาพแรงงาน ผู้จัดการฝ่ายบุคคลไม่ได้ดูแลเรื่องการจัดหาพนักงานในระดับทักษะและอัตราค่าแรงตามมาตรฐานที่วางไว้ สาเหตุการเกิดประสิทธิภาพแรงงานต่ำ หรือมีชั่วโมงการปฏิบัติงานจริงสูงกว่ามาตรฐานอาจจะมาจาก คนงานเป็นชนิดด้อยทักษะ และใช้เวลาในการปฏิบัติงานต่อชิ้นสูงกว่ามาตรฐานที่วางไว้ หรือยิ่งไปกว่านั้นอาจทำให้เกิดของเสียให้กระบวนการผลิตสูง คุณภาพวัตถุดิบต่ำ ทำให้พนักงานต้องการใช้เวลามากขึ้นในการผลิต การบำรุงรักษาเครื่องจักรไม่ดีพอ ทำเครื่องจักรเสียต้องหยุดซ่อมบ่อยทำให้เกิดเวลาสูญเปล่าในการรอคอย การตั้งเวลามาตรฐานน้อยไป ไม่สามารถปฏิบัติได้จริง ผู้จัดการหรือหัวหน้าฝ่ายการผลิต ไม่ได้เอาใจใส่ในการควบคุมดูแลการปฏิบัติงานของพนักงานระดับปฏิบัติการให้ทำงานให้ได้มาตรฐานที่วางไว้

56 Labor Efficiency Variance – A Closer Look
Poorly trained workers Poor quality materials Unfavorable Efficiency Variance Poor supervision of workers Poorly maintained equipment

57 การวิเคราะห์ผลต่างต้นทุนมาตรฐาน ค่าใช้จ่ายการผลิตผันแปร

58 ในหนึ่งปีมีงบประมาณค่าใช้จ่ายการผลิตคงที่ปีละ 3,312,000 บาท และมีกำลังการผลิตเท่ากับ 57,600 ชั่วโมงเครื่องจักร

59 ข้อมูลผลการดำเนินงานจริง ประกอบการวิเคราะห์ผลต่างต้นทุนมาตรฐาน
การซื้อและใช้วัตถุดิบทางตรง ปริมาณผ้าที่ถูกใช้ในการผลิตทั้งหมด 22,200 หลา2 ต้นทุนผ้าที่ใช้ในการผลิตทั้งหมด 621,600 บาท ค่าแรงทางตรง ชั่วโมงการทำงานจริง ,000 ชั่วโมง ต้นทุนค่าแรงทางตรง 198,000 บาท ค่าใช้จ่ายการผลิต ชั่วโมงเครื่องจักรใช้ในการผลิต ,500 MH ต้นทุนค่าใช้จ่ายการผลิตผันแปร 135,000 บาท ต้นทุนค่าใช้จ่ายการผลิตคงที่ 285,000 บาท

60 VARIABLE OVERHEAD COST VARIANCE
AMH X AR AMH X SR SMH X SR Spending Variance Efficiency Variance Total Variable Overhead Cost Variance Flexible budget variance

61 VARIABLE OVERHEAD COST VARIANCE
AMH X AR AMH X SR SMH X SR =4,500 x =4,500 x 30 =(10,000x0.4)x30 =130,500 =135,000 =4,000 x 30 =120,000 Spending Variance Efficiency Variance 4,500 F 15,000 U Total Variable Overhead Cost Variance 10,500 U Flexible budget variance

62

63 สาเหตุที่อัตราค่าใช้จ่ายการผลิตผันแปรจริงต่ำกว่ามาตรฐาน
ราคาจริงของบางรายการซึ่งรวมอยู่ในงบประมาณค่าใช้จ่ายการผลิตต่ำกว่างบประมาณที่วางไว้ ค่าใช้จ่ายการผลิตจริงแต่ละรายการไม่เพิ่มขึ้นตามอัตราส่วนการเพิ่มขึ้นของชั่วโมงเครื่องจักรทั้งหมด เนื่องจากต้นทุนค่าใช้จ่ายการผลิตตามมาตรฐานคิดจากงบประมาณค่าใช้จ่ายการผลิตทั้งหมดหารด้วยงบประมาณปริมาณกิจกรรมตัวผลักดันต้นทุน สาเหตุที่ประสิทธิภาพค่าใช้จ่ายการผลิตไม่น่าพอใจ พนักงานเป็นชนิดด้อยทักษะ ใช้เวลาในการผลิตสูงกว่ามาตรฐาน การจัดตารางเวลาการผลิตไม่มีประสิทธิภาพ ไม่ได้คำนวณถึงประสิทธิภาพการทำงานของเครื่องจักร เช่น เครื่องจักรบางชนิดควรใช้เพื่อการผลิตติดต่อกันไม่เกิน 10 ชั่วโมง และจะต้องพักเครื่องจักรอย่างน้อย 5 ชั่วโมงจึงผลิตต่อได้ ไม่มีการบำรุงรักษาเครื่องจักรให้อยู่ในสภาพที่ดี ทำให้เสียบ่อยครั้ง มีงานเร่ง ต้องรีบส่งสินค้าทำให้ใช้เวลาในการผลิตมาก การกำหนดเวลามาตรฐานเครื่องจักรเพื่อการผลิต ไม่สามารถทำได้จริง

64 การวิเคราะห์ผลต่างต้นทุนมาตรฐาน ค่าใช้จ่ายการผลิตคงที่

65 ในหนึ่งปีมีงบประมาณค่าใช้จ่ายการผลิตคงที่ปีละ 3,312,000 บาท และมีกำลังการผลิตเท่ากับ 57,600 ชั่วโมงเครื่องจักร

66 ข้อมูลผลการดำเนินงานจริง ประกอบการวิเคราะห์ผลต่างต้นทุนมาตรฐาน
การซื้อและใช้วัตถุดิบทางตรง ปริมาณผ้าที่ถูกใช้ในการผลิตทั้งหมด 22,200 หลา2 ต้นทุนผ้าที่ใช้ในการผลิตทั้งหมด 621,600 บาท ค่าแรงทางตรง ชั่วโมงการทำงานจริง ,000 ชั่วโมง ต้นทุนค่าแรงทางตรง 198,000 บาท ค่าใช้จ่ายการผลิต ชั่วโมงเครื่องจักรใช้ในการผลิต ,500 MH ต้นทุนค่าใช้จ่ายการผลิตผันแปร 135,000 บาท ต้นทุนค่าใช้จ่ายการผลิตคงที่ 285,000 บาท

67 FIXED OVERHEAD COST VARIANCE
Actual Static Budget Standard AMH X AR (57,600/12=4,800MH) SMH X SR Budget Variance Volume Variance Total Fixed Overhead Cost Variance

68 VARIABLE OVERHEAD COST VARIANCE
Actual Static Budget Standard AMH X AR (57,600/12=4,800MH) SMH X SR =4,500 x =3,312,000/12month =(10,000x0.4)x57.50 =285, =276,000 =4,000 x 57.50 =230,000 Budget Variance Volume Variance 9,000 U 46,000 U Total Fixed Overhead Cost Variance 55,000 U Flexible budget variance

69

70 สาเหตุอาจเกิดขึ้นได้หลายสาเหตุ เช่น
เนื่องจากฝ่ายการตลาดแสวงหาคำสั่งซื้อได้น้อย ทำให้ฝ่ายผลิตผลิตสินค้าในจำนวนเพียงเล็กน้อยตามเพื่อป้องกันการเกิดปัญหา เงินจมในสินค้าคงคลังสูง และอาจเกิดปัญหาสินค้าเสียหายหรือล้าสมัยหากไม่สามารถนำออกจำหน่ายได้เป็นเวลานาน ปัญหาจากเครื่องจักรเสียบ่อยทำให้ต้องหยุดซ่อมบำรุง ทำให้ผลิตได้น้อยกว่ากำลังการผลิตที่มีทั้งหมด พนักงานผลิตไม่มีความชำนาญในการใช้เครื่องจักรเพื่อการตัดเย็บ ทำให้ต้องใช้เวลามากในการตัดเย็บเสื้อผ้า เป็นต้น

71 การวิเคราะห์ผลต่างเกี่ยวเนื่อง
ในการดำเนินงานการผลิต บางครั้งสาเหตุการเกิดผลต่างชนิดหนึ่ง อาจจะส่งผลกระทบต่อการเกิดผลต่างชนิดอื่นๆ ด้วย ดั้งนั้นในการวิเคราะห์สาเหตุการเกิดขึ้นของผลต่าง บริษัทนอกจากจะดูสาเหตุการเกิดขึ้นของผลต่างแต่ละชนิดแล้ว ควรจะพิจารณาการผลกระทบจากการเกิดขึ้นของผลต่างชนิดนั้น

72

73 ผลต่างที่เกิดจากฝ่ายจัดซื้อ
อาจจะเกิดจากฝ่ายจัดซื้อ จัดซื้อวัตถุดิบที่มีคุณภาพต่ำกว่ามาตรฐานที่กำหนดไว้ เพื่อให้ส่วนงานตนมีผลต่างราคาวัตถุดิบน่าพึงพอใจ ซึ่งวัตถุดิบที่มีคุณภาพต่ำนี้อาจทำการตัดเย็บยากอาจทำให้เกิดของเสียในกระบวนการผลิตมากกว่าปกติซึ่งส่งผลให้มีผลต่างปริมาณวัตถุดิบไม่น่าพอใจ และนอกจากนี้นอกจากวัตถุดิบที่ด้อยคุณภาพทำให้พนักงานผลิตต้องใช้เวลาเพิ่มขึ้นในการผลิตต้องทำงานล่วงเวลาและต้องใช้ชั่วโมงเครื่องจักรเพิ่มขึ้น จนส่งผลก่อให้เกิดผลต่างอัตราค่าแรงไม่น่าพอใจ ผลต่างประสิทธิภาพแรงงานไม่น่าพอใจ และผลต่างประสิทธิภาพค่าใช้จ่ายการผลิตไม่น่าพอใจด้วย และเมื่อมีของเสียเกิดขึ้นในกระบวนการผลิตบ่อยก็อาจทำให้ต้องหยุดซ่อมแซมบ่อยและทำให้มีผลต่างปริมาณการผลิตไม่น่าพอใจเพราะผลิตได้น้อยกว่ากำลังการผลิตตามงบประมาณ และการที่จะต้องจ่ายค่าซ่อมแซมบ่อยทำให้มีผลต่างงบประมาณค่าใช้จ่ายการผลิตไม่น่าพอใจด้วย ดังนั้นหากสาเหตุหลักเกิดขึ้นที่ส่วนงานจัดซื้อ หากฝ่ายบริหารจัดการกับปัญหาเพียงเรื่องเดียวก็อาจสามารถแก้ไขปัญหาเรื่องอื่นๆ ได้ในเวลาเดียวกัน

74

75 ผลต่างที่เกิดจากการจ้างพนักงานด้อยทักษะ
พนักงานขาดความชำนาญในการผลิตหรือในการใช้เครื่องจักรเพื่อการผลิต ทำให้ต้องเสียเวลาในการปฏิบัติงานสูงกว่ามาตรฐานที่ตั้งไว้ ซึ่งช่วงเวลาที่สูงกว่ามาตรฐานนี้ทำให้ค่าใช้จ่ายการผลิตเพิ่มขึ้นด้วยเพราะผันแปรตามชั่วโมงการปฏิบัติงาน ผลคือผลต่างประสิทธิภาพค่าใช้จ่ายไม่น่าพอใจ โดยจะส่งผลกระทบเป็นลูกโซ่ไปเลยๆ

76

77 ผลต่างที่เกิดจากเครื่องจักร
อาจจะเกิดจากการดูแลบำรุงรักษาเครื่องจักรไม่ดี ทำให้เครื่องเสียและต้องหยุดซ่อมบ่อย เมื่อเครื่องจักรอยู่ในสภาพที่ไม่ดีทำให้เกิดความเสียหายแก่วัตถุดิบทำให้มีผลต่างปริมาณวัตถุดิบไม่น่าพอใจ และการหยุดซ่อมเครื่องจักรทำให้พนักงานทำงานไม่ได้ ก่อให้เกิดผลต่างประสิทธิภาพแรงงานไม่น่าพอใจ และเนื่องจากเครื่องจักรหย่อนสมรรถภาพทำให้ต้องใช้เวลามากในการผลิตทำให้มีผลต่างประสิทธิภาพค่าใช้จ่ายการผลิตไม่น่าพอใจ และการจ่ายค่าซ่อมมากกว่างบประมาณที่ตั้งไว้ทำให้มีผลต่างงบประมาณไม่น่าพอใจด้วย และปริมาณสินค้าที่ผลิตได้ก็ต่ำกว่างบประมาณที่ตั้งไว้

78

79


ดาวน์โหลด ppt Flexible Budgeting and

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google