เครือข่ายการเรียนรู้ ระบบการศึกษา ปัจจุบัน เป็นการเรียนรู้ตลอดชีวิต กระบวนทัศน์ ให้คิดเป็น ทำเป็น เรียนรู้อย่างต่อเนื่อง โดยใช้แหล่งความรู้
ระบบเครือข่ายการเรียนรู้ ใช้ระบบเครือข่าย(Network)การสื่อสารและเทคโนโลยีสารสนเทศ แนวคิดเครือข่าย จัดความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล องค์กร ชุมชนเชื่อมโยงกัน มีอิสระ ทำงานร่วมกัน ช่วยเหลือกัน
สัมพันธภาพในเครือข่าย ความเป็นเครือญาติกัน ภูมิลำเนาเดียวกัน ความเชื่อ ศรัทธาเหมือนกัน มีปัญหาร่วมกัน มีความสนใจกิจกรรมเดียวกัน
ความหมายเครือข่ายการเรียนรู้ การเรียนรู้ในระบบคอมพิวเตอร์ โดยมีองค์ประกอบ คือ อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ โปรแกรม เครือข่ายการสื่อสาร Internet Intranet
การศึกษาในเครือข่ายการเรียนรู้ เป็นการศึกษาแบบอะซิงโครนัส (Asynchronous Learning) เป็นการเรียนการสอนที่ไม่จำกัดเวลา สถานที่ ผู้เรียนสามารถเรียนเวลาใด สถานที่ใด กับบุคคลใดก็ได้
การศึกษาในเครือข่ายการเรียนรู้ ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ เชื่อมโยงเข้าสู่ระบบเครือข่ายภายในสถานศึกษา เชื่อมต่อไปสู่ระบบอินเทอร์เน็ตจึงเป็นการเพิ่มประสิทธิภาพ ในการเรียนรู้ของผู้เรียน
การเรียนในเครือข่ายการเรียนรู้ เชื่อมโยงการเรียนการสอนตลอดเวลา ด้วย บทเรียนออนไลน์ เว็บบอร์ด Multimedia and Applications ทำให้เกิดการเรียนการสอนทางไกล และการเรียนการสอนออนดีมานด์
เครือข่ายการเรียนรู้ในสถานศึกษา เครือข่ายภายในโรงเรียน เครือข่ายภายในมหาวิทยาลัย และเชื่อมโยงกันระหว่าง วิทยาเขตจัดเป็นแคมปัสเน็ตเวิร์ค การสื่อสารระหว่างอาจารย์ ผู้เรียน ผ่าน network
ประวัติเครือข่ายการเรียนรู้ คอมพิวเตอร์เครื่องแรกกำเนิดขึ้นที่มหาวิทยาลัยเพนซิลวาเนีย Licklider แห่งมหาวิทยาลัย MIT มีแนวคิดจินตนาการเกี่ยวกับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ชื่อ Galactic Network
ประวัติเครือข่ายการเรียนรู้ Galactic Network เป็นแนวคิด จินตนาการ ถึงหลักการเครือข่ายทางวิชาการ ผ่านเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ในการสื่อสาร พูดคุย อภิปราย ส่งข่าวสารระหว่างกัน และเชื่อมโยงกันทั่วโลก
ประวัติเครือข่ายการเรียนรู้ โครงการ DARPA กระทรวงกลาโหมอเมริกัน โดย Licklider และผู้เชี่ยวชาญทางด้านคอมพิวเตอร์และเครือข่าย คิดการเชื่อมโยงเครือข่ายคอมพิวเตอร์โดยใช้วงจรระหว่างจุดไปจุด จึงเรียกว่า "การสวิตช์วงจร" (Circuit Switching)
ประวัติเครือข่ายการเรียนรู้ Circuit Switching ประสิทธิภาพยังจำกัด มีข้อยุ่งยาก Leonard Kleinrock แห่ง MIT ได้เสนอแนวคิดในการสร้างเครือข่ายให้มีการรับส่งข้อมูลเป็นแพ็กเก็ต (Packet) และใช้จนถึงปัจจุบัน
ประวัติเครือข่ายการเรียนรู้ ต่อมามีการสร้างมาตรฐานให้ระบบการเชื่อมโยงมีลักษณะเปิดมากขึ้น เพื่อให้ผลิตภัณฑ์หลายๆยี่ห้อเชื่อมต่อกันได้ โดยแบ่งระดับการสื่อสารเป็นชั้นๆ(Layer) การเชื่อมต่อเครือข่ายที่แตกต่างกัน ก็เชื่อมโยงกันได้
ระบบเครือข่าย (Network) ระบบที่เชื่อมโยงคอมพิวเตอร์เข้าด้วยกัน ติดต่อสื่อสารกันได้ทั่วโลก ทั้งสารที่เป็นข้อความ เสียง ภาพ กราฟิก การส่งข้อมูลวิธีนี้เรียกว่าโทรคมนาคม (Telecommunication)
ประเภทเครือข่าย (Network) เครือข่ายท้องถิ่น (Local Area Network – LAN) คอมพิวเตอร์อยู่ใกล้กัน เครือข่ายระยะไกล (Wide Area Network -WAN) เครือข่ายขนาดใหญ่มาก (Internet)
Internet เครือข่ายคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่มากกัน เกิดจากการเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์จำนวนมากมายในโลกเข้าด้วยกัน ทั้ง LAN WAN แต่ละเครือข่ายมีเครื่องแม่ข่าย (Host)
คุณลักษณะพิเศษของเครือข่ายการเรียนรู้ คุณลักษณะพิเศษของเครือข่ายการเรียนรู้ ผู้เรียนเข้าถึงได้อย่างกว้างขวาง ง่าย สะดวก เชื่อมโยงกับคนอื่นได้รวดเร็ว เรียกใช้ข้อมูลได้ทุกแห่ง ทุกเวลาที่มีเครือข่าย
คุณลักษณะพิเศษของเครือข่ายการเรียนรู้ คุณลักษณะพิเศษของเครือข่ายการเรียนรู้ กิจกรรมการเรียนรู้แบบผู้เรียนนำตนเอง มีบทบาทเป็นผู้กระทำ ผู้เรียนเป็นศูนย์กลางการเรียนการสอน
คุณลักษณะพิเศษของเครือข่ายการเรียนรู้ คุณลักษณะพิเศษของเครือข่ายการเรียนรู้ เรียนแบบร่วมมือ ทำงานเป็นกลุ่ม แบ่งปันความรู้ ข้อมูล สารสนเทศซึ่งกันและกัน
คุณลักษณะพิเศษของเครือข่ายการเรียนรู้ คุณลักษณะพิเศษของเครือข่ายการเรียนรู้ จัดระบบเครือข่ายการเรียนรู้ ให้เสมือนเป็นชุมชนของการเรียนรู้แบบออนไลน์
วิธีการสร้างเครือข่ายการเรียนรู้ วิธีการสร้างเครือข่ายการเรียนรู้ พิจารณาความจำเป็นในการสร้างเครือข่าย พิจารณาเลือกองค์กรที่ร่วมมือเป็นเครือข่าย ในการทำงานร่วมกัน เตรียมกลุ่มเครือข่าย สร้างความร่วมมือกับองค์กรที่ร่วมเป็นเครือข่าย
วิธีการสร้างเครือข่ายการเรียนรู้ วิธีการสร้างเครือข่ายการเรียนรู้ ศึกษา ทำความตกลงในการทำกิจกรรมที่ตอบสนองความต้องการ แก้ปัญหา สร้างเครือข่ายให้เป็นรูปธรรม วางระบบบริหารจัดการ กำหนดวัตถุประสงค์ กิจกรรม บทบาทหน้าที่ของสมาชิก
วิธีการสร้างเครือข่ายการเรียนรู้ วิธีการสร้างเครือข่ายการเรียนรู้ ดำเนินงานกิจกรรมร่วมกันตามวัตถุประสงค์ ให้เกิดผล เกิดประโยชน์ ขยายกลุ่มเครือข่าย จัดตั้งองค์ใหม่ เพื่อขยายงาน รับสมาชิกเพิ่มขึ้น
บทบาทผู้สอน ผู้เรียน ระบบเครือข่ายการเรียนรู้ ทำให้เกิดความเปลี่ยนแปลงรูปแบบการเรียนรู้ บทบาทผู้สอน ผู้เรียน เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ เป็นผู้กระทำในการค้นคว้าข้อมูลสารสนเทศด้วยตนเอง จากแหล่งสารสนเทศทั่วโลก
บทบาทผู้สอน ผู้เรียน ผู้เรียนเลือกเวลา สถานที่เรียนได้เอง (ต่างจากระบบเดิมที่เรียนตามตารางสอน และสถานที่เรียนที่กำหนดไว้แน่นอน) ผู้เรียนเลือกผู้รู้ ผู้เชี่ยวชาญในการขอคำปรึกษาแนะนำ โดยผ่านเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทบาทผู้สอน ผู้เรียน ผู้เรียนต้องกระตือรือร้น ตื่นตัว แสวงหาความรู้ด้วยตนเอง ให้ทันความก้าวหน้าของวิทยาการ ตอบสนองความต้องการในการศึกษา
บทบาทผู้สอน ผู้เรียน ผู้สอนเปลี่ยนบทบาทเป็นผู้ชี้แนะ ที่ปรึกษา โดยผ่านทางเครือข่าย ผู้สอนต้องค้นหาข้อมูล ค้นหาวิธีการ สิ่งช่วยเหลือการเรียน เพื่อกระตุ้นให้ผู้เรียนมีความกระตือรือร้นในการค้นหาแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง
สิ่งอำนวยความสะดวก วิธีการเรียนการสอนเปลี่ยนเป็นการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ระบบเครือข่าย อินเทอร์เน็ต เพื่อเป็นช่องทางไปสู่แหล่งความรู้ทั่วโลก
สิ่งอำนวยความสะดวก ห้องเรียนสำหรับผู้สอน ใช้คอมพิวเตอร์ โปรแกรม อุปกรณ์แสดงภาพ วิดีโอโปรเจคเตอร์ การเชื่อมโยงเข้าระบบเครือข่าย ระบบอินเทอร์เน็ต
สิ่งอำนวยความสะดวก ศูนย์คอมพิวเตอร์ เชื่อมต่อกับระบบเครือข่าย เป็นสถานที่เรียนในสถาบัน การศึกษา เพื่อให้ผู้เรียนแสวงหาความรู้ รวมทั้งให้ผู้เรียนต่อเข้าเครือข่ายจากที่บ้านได้ตลอดเวลา
สิ่งอำนวยความสะดวก ฐานข้อมูล เป็นแหล่งข้อมูล และความรู้ ผู้เรียนเรียกใช้ได้ตลอดเวลา ได้แก่ ฐานข้อมูลตำรา วิชาการ ฐานบริการสถานีวิทยุเพื่อการศึกษา สถานีบริการทีวีออนดีมานด์ ฐานบริการกระดานข่าว (web board)
สิ่งอำนวยความสะดวก ห้องสมุดดิจิตอล (Digital library / Virtual library) โฮมเพจของผู้เรียน (Student homepage) ที่เก็บข้อมูล ข่าวสาร และการบ้านของผู้เรียน
ตัวอย่างเครือข่ายการเรียนรู้ เครือข่ายไทยสาร เชื่อมโยงมหาวิทยาลัย 50 แห่ง เครือข่ายยูนิเน็ต (UNINET) เครือข่ายเพื่อการเรียนการสอน ทบวงมหาวิทยาลัย
ตัวอย่างเครือข่ายการเรียนรู้ เครือข่ายโรงเรียนไทย (SchoolNet) ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ เชื่อมโยงกว่า 100 โรงเรียน พร้อมเปิดโอกาสให้โรงเรียนอื่นๆ และผู้สนใจใช้เครือข่ายได้
ตัวอย่างเครือข่ายการเรียนรู้ เครือข่ายนนทรี ม.เกษตรศาสตร์ สำหรือนิสิต อาจารย์ ข้าราชการ เครือข่ายกระจายเสียงวิทยุ อสมท. รวมผังรายการวิทยุ พร้อมมีไฟล์เสียงรับฟังทางอินเทอร์เน็ตได้
ตัวอย่างเครือข่ายการเรียนรู้ เครือข่ายนนทรี ม.เกษตรศาสตร์ สำหรือนิสิต อาจารย์ ข้าราชการ เครือข่ายกระจายเสียงวิทยุ อสมท. รวมผังรายการวิทยุ พร้อมมีไฟล์เสียงรับฟังทางอินเทอร์เน็ตได้