แนวทางการดำเนินงานตามตัวชี้วัด 1

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ประเด็นในการพัฒนา DHS-PCA
Advertisements

นักวิชาการสาธารณสุข ๙ ชช ศูนย์อนามัยที่ ๑๐ ชึชียงใหม่
ยุทธศาสตร์ การจัดสรร งบประมาณ ยุทธศาสตร์การพัฒนาคนและสังคมที่มีคุณภาพ
ความก้าวหน้าในการจัดทำแผนการกระจายอำนาจ ให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และแผนปฏิบัติการกำหนดขั้นตอนการกระจายอำนาจ ให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (ฉบับที่
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
ประชุมติดตามผลการดำเนินงานเกณฑ์มาตรฐานระบบงานเยี่ยมบ้าน
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
แผนการดำเนินงานปี 2558 กลุ่มโรคติดต่อระหว่างสัตว์และคน
ยุทธศาสตร์ลดปัจจัยเสี่ยง ในเด็กวัยเรียนและวัยรุ่น ปี 2551
ผลการปฏิบัติราชการ ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ กรมอนามัย ปีงบประมาณ พ
สกลนครโมเดล.
การบูรณาการยุทธศาสตร์สุขภาพฯ กลุ่มเด็กวัยเรียน มาตรการ เป้าหมาย วิธีการวัด เป้าหมาย/KPI 1.นโยบายร่วมระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง แผนพัฒนาสุขภาพเด็กวัยเรียนแห่งชาติ/วาระสุขภาพแห่งชาติ
ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบบริหารจัดการเพื่อสนับสนุนการจัดบริการสุขภาพ
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
ปลัดกระทรวงสาธารณสุข
๒ ปี...ก้าวย่างของการพัฒนา
1 2 ผลผลิต 2 โครงการพัฒนาความรู้ สารสนเทศ ด้านการบัญชี (PC1) หน่วย วัด แผนง าน ไตร มาส 3 แผนง าน ทั้งสิ้น ผลงา น ไตร มาส 3 ร้อยละ ไตร มาส 3 ร้อย ละ.
ศูนย์พัฒนา เด็กเล็ก เทศบาล ตำบลปัว ยินดี ต้อนรับ ยินดี ต้อนรับ.
สำนักโรคติดต่อทั่วไป กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข.
รายงานการ ดำเนินงาน ศูนย์แนะแนวต้นแบบประจำสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษามัธยมศึกษา รายงานการ ดำเนินงาน ศูนย์แนะแนวต้นแบบประจำสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษามัธยมศึกษา.
1 จุดเน้นและแนวทางการสร้าง ภูมิคุ้มกันและป้องกันยาเสพ ติดในสถานศึกษา ปี 2557.
แผนงานยุทธศาสตร์กระทรวงสาธารณสุขด้านพัฒนาสุขภาพ กลุ่มผู้สูงอายุ กระทรวงสาธารณสุข สถานการณ์ปัญหา : ด้าน โครงสร้างประชากร ปัจจุบันประเทศไทย : ( ข้อมูล ณ.
โครงการ ส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิม พระเกียรติ “ ส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิม พระเกียรติ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารี เนื่องในโอกาสฉลองพระชนมายุ
การขับเคลื่อนงานสุขภาพจิต วัยทำงาน ประจำปี 2559 โดย โรงพยาบาลจิตเวชนครสวรรค์ราช นครินทร์
แผนยุทธศาสตร์การคุ้มครองผู้บริโภคแห่งชาติ ฉบับที่ 1 (พ.ศ )
การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ(PMQA)
การเพิ่มประสิทธิภาพ ระบบบริหารจัดการความเสี่ยง
กลุ่มงานบริหารทรัพยากรบุคลากร
คลินิกวัยรุ่น YFHS : แนวทางการดำเนินงานและมาตรฐาน
โครงการ เรื่องเพศคุยได้ในครอบครัว
กำหนดการ Work shop การประเมินตนเอง
สายส่งเสริมตามกลุ่มวัยและประเด็น
สรุปผลการนิเทศงานศูนย์อนามัยที่ ๖ ระหว่างวันที่ ๒-๓ พฤษภาคม ๒๕๖๐
ข้อมูลทั่วไปอำเภอเมืองระยอง
ก้าวต่อไปในการดำเนินงานโครงการสำคัญ
สรุปแนวทางการดำเนินงานตามกลุ่มวัย
ส้วมสะอาดในร้านอาหาร
ตัวชี้วัดที่ 1 : อัตราส่วนการตายมารดาไทย ค่าเป้าหมายไม่เกิน 20 ต่อการเกิดมีชีพแสนราย เปรียบเทียบอัตราส่วนการตายมารดารายเขต ปี 2560 กับ 2561ในช่วงเวลาเดียวกัน.
ยุทธศาสตร์ ที่ 1 Promotion, Prevention & Protection Excellence
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
การประเมินผลสัมฤทธิ์ของโครงการ
“การดูแลหญิงหลังคลอด และ ครอบครัวที่ติดเชื้อ เอช ไอ วี”
โดย ศรีปัญญา ม่วงเพ็ชร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
(ปัจจุบันไม่มียอดค้างชำระ)
เป้าหมายจังหวัด TO BE NUMBER ONE
เพื่อการขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์ทศวรรษ
EB9 หน่วยงานของท่านมีการดำเนินการเพื่อป้องกันผลประโยชน์ทับซ้อนในหน่วยงานอย่างไร (1) มีการวิเคราะห์ความเสี่ยงเกี่ยวกับการปฏิบัติงานที่อาจเกิดผลประโยชน์ทับซ้อน.
ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จขององค์กรปกครอง
รพ.สต.สายใยรัก อำเภอสัตหีบ
ข้อเสนอต่อการพัฒนา ระบบการสร้างเสริมสุขภาพ ของประเทศไทย
การพัฒนาระบบการดูแลผู้รับบริการเพื่อตรวจรักษาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
พัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย (9 ตัว) กลุ่มเด็กปฐมวัย (๐-๕ ปี)/สตรี 1.อัตราส่วนการตายของมารดาไม่เกิน15ต่อการเกิดมีชีพแสนคน 2.ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัย.
การประเมินศักยภาพชุมชน ด้วย... ค่ากลางที่คาดหวัง
กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ
แผนงานการพัฒนาองค์กรคุณภาพ
ความก้าวหน้าในการดำเนินงาน Product Champion Cluster วัยรุ่น
ทพญ.อัมพร เดชพิทักษ์ กลุ่มงานทันตสาธารณสุข
สรุปผลการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข เขตสุขภาพที่ 6 จังหวัดตราด
ความปลอดภัยด้านอาหารและน้ำ
อัตราส่วนการตายมารดาไทย
สรุปผลการดำเนินงานตาม PA
งานแนะแนว กับระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน
แผนยุทธศาสตร์เครือข่ายสุขภาพอำเภอเทพา ปี 2562
FA Interview.
หัวหน้ากลุ่มพัฒนาการส่งเสริมสุขภาพวัยรุ่น ศูนย์อนามัยที่1 เชียงใหม่
สรุปภาพรวมผลการดำเนินงาน
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
ศูนย์อนามัยที่ 8 อุดรธานี
จุฑารัตน์ สะธรรมกิจ ศูนย์อนามัยที่ 5 ราชบุรี
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
ใบสำเนางานนำเสนอ:

แนวทางการดำเนินงานตามตัวชี้วัด 1 แนวทางการดำเนินงานตามตัวชี้วัด 1.6 : ระดับความสำเร็จของการดำเนินงานเพื่อบรรลุเป้าหมายตัวชี้วัด “ร้อยละของโรงพยาบาลสังกัดสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุขที่ผ่านเกณฑ์การประเมิน และรับรองโรงพยาบาลตามมาตรฐานบริการสุขภาพที่เป็นมิตรสำหรับวัยรุ่นและเยาวชนฉบับบูรณาการ”

สถานการณ์ที่สำคัญ รายจังหวัด รายเขตสุขภาพ อัตราการคลอดในวัยรุ่นอายุ 15-19 ปี ต่อประชากรหญิงอายุ 15-19 ปีพันคน : ปี 2557 รายจังหวัด รายเขตสุขภาพ โดย : สำนักอนามัยการเจริญพันธุ์

This lead to our increasing trend in adolescent birth rate, one of the MDGs indicators. The rapidly increase in adolescent birth rate about 60% in the last decade raises concern from many parts of our society.

วัยรุ่นสดใส ไม่ท้องก่อนวัย ทักษะชีวิตดี มีอนาคต สถานศึกษา โรงเรียน อพ. (ใน รร.ส่งเสริมสุขภาพระดับเพชร) สอนเพศศึกษารอบด้าน มุมเพื่อนใจวัยรุ่น ชมรม อพ. สถานบริการสาธารณสุข คลินิกวัยรุ่น - ให้ความรู้ - ให้คำปรึกษา - ให้บริการสุขภาพ เชิงรุก / ส่งต่อ เฝ้าระวังแท้ง จังหวัด / ชุมชน / ครอบครัว แผนยุทธศาสตร์บูรณาการอนามัยการเจริญพันธุ์ คณะอนุกรรมการอนามัยการเจริญพันธุ์จังหวัด เสริมสร้างครอบครัวเข้มแข็ง สภาเด็กและเยาวชน/เด็กไทยทำได้/To be # 1/GO/NGO/อสม. ชะลอเพศสัมพันธ์ เพศสัมพันธ์ปลอดภัย การวางแผนตั้งครรภ์ อายุเฉลี่ยเมื่อมีเพศสัมพันธ์ครั้งแรก อัตราการใช้ถุงยางอนามัยในวัยรุ่น สัดส่วนแม่อายุน้อยกว่า 20 ปี ที่คลอดบุตร อัตราการคลอดของหญิงอายุ 15 - 19 ปี ต่อประชากรหญิง 15 - 19 ปี 1,000 คน

โครงการส่งเสริมการจัดบริการสุขภาพ ที่เป็นมิตรสำหรับวัยรุ่นและเยาวชน

การเข้าถึงและใช้บริการสุขภาพ Accessibility and utilization of Health services Youth Friendly Health Services เพื่อตอบสนองความต้องการของวัยรุ่น ขจัดอุปสรรคการเข้าถึงและใช้บริการ วัยรุ่นเข้าไม่ถึงบริการ พ่อแม่ ชุมชน โรงเรียน รพ.สต. โรงพยาบาล ร้านยา ฯลฯ

การจัดทำมาตรฐาน YFHS มาตรฐาน YFHS ประชุมปฏิบัติการ ผู้เชี่ยวชาญ/ ประสบการณ์ องค์กร ระหว่าง ประเทศ ผู้บริหารและ ผู้ให้บริการ ผู้ทรงคุณวุฒิ HA และ HPH นักวิชาการจาก GO&NGO วัยรุ่น จัดทำร่าง มาตรฐานฯ ทดลองใช้ มาตรฐานฯ ข้อเสนอแนะจาก Solution Exchange ของ UNFPA มาตรฐานต่างประเทศ ข้อมูลWHO งานวิจัย ประชุมผู้เชี่ยวชาญ นวก. ผู้มีประสบการณ์ และวัยรุ่น 10

มาตรฐาน บริการสุขภาพ ที่เป็นมิตรสำหรับ วัยรุ่นและเยาวชน 2.1 เครือข่าย 2.2 การประชาสัมพันธ์ 2.3 การเข้าถึงกลุ่มเป้าหมาย องค์ประกอบที่ 2 การเข้าถึงกลุ่มเป้าหมาย และการสร้างความต้องการ ในการใช้บริการ องค์ประกอบที่ 3 บริการที่ครอบคลุม ความต้องการ ของกลุ่มเป้าหมาย มาตรฐาน บริการสุขภาพ ที่เป็นมิตรสำหรับ วัยรุ่นและเยาวชน องค์ประกอบที่ 1 การบริหารจัดการ 1.1 วิสัยทัศน์ พันธกิจ และนโยบาย 1.2 คณะทำงาน/ คณะกรรมการ 1.3 แผนปฏิบัติงาน หรือโครงการ/กิจกรรม 1.4 ระบบข้อมูล สารสนเทศ และการจัดการความรู้ 1.5 การสื่อสารภายใน 1.6 การสนับสนุนทรัพยากร 1.7 การกำกับ ติดตาม และประเมินผล 3.1 บริการให้ข้อมูล 3.2 บริการให้การปรึกษา 3.3 บริการครอบคลุมการส่งเสริมสุขภาพ ป้องกัน รักษา และฟื้นฟู 3.4 การดูแลต่อเนื่องและการส่งต่อ องค์ประกอบที่ 4 ระบบบริการที่มีประสิทธิภาพ และเป็นมิตรต่อวัยรุ่น 4.1 ระบบบริการ 4.2 สถานที่ให้บริการ 4.3 บุคลาการผู้ให้บริการ วัตถุประสงค์ แนวทางการทำงาน ประเมินตนเอง ปรับปรุงคุณภาพบริการ ประเมินและรับรองมาตรฐาน 11 11 11 11

การเชื่อมโยงของ YFHS System โรงพยาบาล บริการ (ความรู้ ปรึกษา ดูแล ส่งต่อ) Outreach/mobile เชื่อมโยงและต่อยอดกับYFHS อื่นๆ รพ.สต. Outreach เปิดคลินิก อบรมแกนนำ/กลุ่มเสี่ยง ชุมชน แกนนำ/อสม ศูนย์เยาวชน ศูนย์YFS/NGO ร้านยา สถานประกอบการ แกนนำ Mobile โรงเรียน ชุมนุม/ชมรม Friend Corner ระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน/คัดกรองด้วยคอมพิวเตอร์ คลินิกเอกชน ให้บริการ สถานบริการ สาธารณสุข สถานบริการตติยภูมิ Tertiary Care

ผลการดำเนินงานตามตัวชี้วัด ร้อยละโรงพยาบาลสังกัดสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข (รพศ., รพท., รพช.) ที่ผ่านเกณฑ์การประเมินและรับรองโรงพยาบาล ตามมาตรฐาน YFHS ฉบับบูรณาการ เป้าหมายและผลงาน  เป้าหมาย 2556 2557 2558 2559 2560 2561 ร้อยละ รพ.ที่ผ่านเกณฑ์การประเมินและรับรองรพ.ตามมาตรฐาน YFHS 30 40 60 75 100 เป้าหมาย รายปี/สะสม (แห่ง ) 251 334 513 639 852 ผลงาน (แห่ง/ร้อยละ) 216 (25.87) 408 (48.86) 584 (68.54) โรงพยาบาลสังกัดสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ระดับ รพศ. รพท. รพช. จำนวนทั้งสิ้น 835 แห่ง ผ่านเกณฑ์มาตรฐานYFHS 408 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 48.86 (ยอดสะสม) ข้อมูล ณ วันที่ 30 กันยายน 2558 13

ผลงานแยกรายเขตสุขภาพปี 2558 ร้อยละของรพ ผลงานแยกรายเขตสุขภาพปี 2558 ร้อยละของรพ.ผ่านเกณฑ์การประเมินและรับรองมาตรฐานYFHS ข้อมูล ณ วันที่ 30 ก.ย 58

ขั้นตอนการดำเนินงาน : 6 เดือนแรก ทีมเยี่ยมประเมินระดับเขตเข้ารับการพัฒนาศักยภาพผู้ประเมินรพ.ตามมาตรฐาน YFHS ฉบับบูรณาการ ศูนย์อนามัยมีแผนการดำเนินงานและการกำหนดเป้าหมายร่วมกับสำนักงานป้องกันควบคุมโรค ศูนย์สุขภาพจิต และสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดในเขตรับผิดชอบ ศูนย์อนามัยร่วมกับสำนักป้องกันควบคุมโรค ศูนย์สุขภาพจิต ในเขตรับผิดชอบกระตุ้นให้โรงพยาบาลใน จังหวัดที่รับผิดชอบ ส่งแบบประเมินตนเองหรือเข้าเยี่ยมพัฒนาและเสริมพลังก่อนขอรับการประเมิน โรงพยาบาลตามมาตรฐาน YFHS ฉบับบูรณาการ เยี่ยมประเมินรพ.ตามมาตรฐาน YFHSฉบับบูรณาการร่วมกับสำนักงานป้องกันควบคุมโรค และศูนย์ สุขภาพจิต รายงานผลการเยี่ยมประเมินเป็นรายโรงพยาบาล ตามแบบฟอร์มในมาตรฐานYFHS ฉบับบูรณาการ และ นำเสนอรายงานต่อคณะกรรมการเยี่ยมประเมินและรับรองส่วนกลาง

ขั้นตอนการดำเนินงาน : 6 เดือนหลัง ขั้นตอนการดำเนินงาน : 6 เดือนหลัง นิเทศและเป็นที่ปรึกษางาน ให้ข้อเสนอแนะ ติดตามความก้าวหน้าการดำเนินงานของรพ.ตามมาตรฐาน YFHS ร่วมกับ สสจ. จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้การจัดบริการ YFHS ฉบับบูรณาการ หรือจัดอบรมผู้ให้บริการ/ผู้ประเมินใน ระดับเขต รายงานความก้าวหน้า สรุปและรายงานผลการดำเนินงานในภาพรวมของเขตส่งมายังส่วนกลาง

เกณฑ์การให้คะแนน ขั้นตอนที่ เกณฑ์การให้คะแนน คะแนน 1 ทีมเยี่ยมประเมินระดับเขตเข้ารับการพัฒนาศักยภาพผู้เยี่ยมประเมินรพ.ตามมาตรฐาน YFHS ฉบับบูรณาการ 2 มีแผนการดำเนินงานและการกำหนดเป้าหมายในการพัฒนาและเยี่ยมประเมินโรงพยาบาลตามมาตรฐาน YFHS ฉบับบูรณาการ ร่วมกับสำนักป้องกันควบคุมโรค ศูนย์สุขภาพจิต และสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดในเขตรับผิดชอบ 3 มีการเยี่ยมประเมินรพ.ตามมาตรฐาน YFHS ฉบับบูรณาการร่วมกับร่วมกับสำนักป้องกันควบคุมโรค และศูนย์สุขภาพจิต 4 มีการจัดทำรายงานผลการเยี่ยมประเมินรพ. และนำเสนอรายงานต่อคณะกรรมการเยี่ยมประเมินและรับรองส่วนกลาง 5 ผลของการเยี่ยมประเมินรับรองที่รพ.ที่ผ่านเกณฑ์การประเมินโรงพยาบาลตามมาตรฐาน YFHS ฉบับบูรณาการเพิ่มขึ้นร้อยละ 7 จากฐานข้อมูลเดิม (ปี 2558)   รวม

ขอบคุณครับ