ความรู้เบื้องต้นระบบระบายอากาศ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
นิติบุคคลอาคารชุดวันพลัส คอนโด นายน์ทีน 1
Advertisements

การผลิตบ่อพัก ทำเอง ใช้เอง หจก. มภัสกาญ คอนสตรัคชั่น
ประเด็นในการพัฒนา DHS-PCA
แนวทางการจัดทำบัญชีสมดุลยางพารา
การพัฒนาสุขภาพกลุ่มวัยทำงาน
สภาพปัญหา / สาเหตุของปัญหา กระบวนการวางแผน/แนวทางการพัฒนา
เครื่องชี้วัดคุณภาพ วัตถุประสงค์: เพื่อให้ผู้เรียน
ภาวะ โลก ร้อน.  ภาวะโลกร้อน (Global Warming) หรือ ภาวะ ภูมิอากาศเปลี่ยนแปลง (Climate Change) เป็น ปัญหาใหญ่ของโลกเราในปัจจุบัน สังเกตได้จาก อุณหภูมิ
ผู้รับผิดชอบ ผลผลิต ฝ่ายบริหารทั่วไป
บทที่2 การวางแผนการผลิตและกำลังการผลิต
ชี้แจงเกณฑ์การประเมินผล ตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิภาพ 1.
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
การปรับโครงสร้างการผลิตเป็นแปลงใหญ่
การประเมินผลโครงการ คปสอ.คลองใหญ่.
วันที่ 25 มกราคม 2559 เวลา – น. ณ โรงแรมพลูแมน ขอนแก่น นายแพทย์อัษฎางค์ รวยอาจิณ รองอธิบดี กรมควบคุมโรค.
เรื่อง หลักการเขียนโปรแกรม เบื้องต้น จัดทำโดย นางสาวชาดา ศักดิ์บุญญารัตน์
วิธีการใ ช้ โปรแกรมคำนวณคะแนน กลุ่มเกษตรกรดีเด่น กองพัฒนาสหกรณ์ด้าน การเงินและร้านค้า กรมส่งเสริม สหกรณ์
การคำนวณอัตรากำลัง (Work Load). เป็นโครงการพัฒนาคุณภาพ จัดทำโดย : คณะกรรมการ TQA หมวด 5 และ คณะกรรมการ HRD.
สาธิตการใช้โปรแกรมฐานข้อมูล
หลักเกณฑ์วิธีที่ดีในการผลิตอาหาร
ไฟฟ้า.
วิชากฎหมายอาคาร รหัสวิชา ท-ป-น (2-0-2) หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ ปวช.2556 ประเภทวิชาช่างอุตสาหกรรม สาขาวิชาช่างก่อสร้าง สาขาวิชาช่างโยธา.
การเพิ่มประสิทธิภาพ ระบบบริหารจัดการความเสี่ยง
การนำเสนอผลงาน QCC กลุ่มไดอารี่ตุ้ดซี่
Piyadanai Pachanapan, Power System Design, EE&CPE, NU
การประชุม เรื่อง การจัดทำแผนยุทธศาสตร์ 4 ปี (พ. ศ
จำนวนเตียงจำนวนผู้รับบริการ
100 ตำบลต้นแบบในการบูรณาการ ด้านส่งเสริมสุขภาพ 5 กลุ่มวัย และอนามัยสิ่งแวดล้อม โดย กรมอนามัย.
โครงการส่งเสริมป้องกันโรคในช่องปากผู้สูงอายุ
บทที่ 4 การอินทิเกรต (Integration)
รายวิชา งานไฟฟ้าเบื้องต้นสำหรับครูอุตสาหกรรมศิลป์
งาน Road Map ศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตรปี 2560
กรอบอัตรากำลังของบุคลากรทางการศึกษาอื่นตามมาตรา 38 ค. (2)
สำนักเทคโนโลยีน้ำและสิ่งแวดล้อมโรงงาน
บัตรยิ้ม สร้างเสริมกำลังใจ
โดย ศรีปัญญา ม่วงเพ็ชร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
ยินดีต้อนรับ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงาน (พลเอก สุรศักดิ์ กาญจนรัตน์) และคณะ ในโอกาสตรวจเยี่ยมจังหวัดตาก วันที่ กรกฎาคม 2558.
รายงานผลการดำเนินงาน ตามแผน Planfin
การพัฒนางานทางห้องปฏิบัติการ เครือข่ายเทคนิคการแพทย์ เขต ๑ เสาวรินทร์ มีชูทรัพย์ กลุ่มงานพยาธิวิทยาคลินิค.
ประกาศกรมควบคุมมลพิษ เรื่องหลักเกณฑ์ในการพิจารณาความเหมาะสมของพื้นที่ การออกแบบก่อสร้างและการจัดการสถานที่หมักปุ๋ยจากมูลฝอย ประกาศในกรมควบคุมมลพิษ.
ปัญหาอุปสรรค และข้อเสนอแนะ และแนวทางแก้ไข ของกองวิจัยและพัฒนาข้าว
เพื่อการขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์ทศวรรษ
กลุ่มเกษตรกร.
KMA หมวด 6 การจัดการกระบวนการ.
รพ.สต.สายใยรัก อำเภอสัตหีบ
การเปลี่ยนแปลงการบริหารจัดการน้ำดื่ม คณะแพทยศาสตร์
การพัฒนาระบบการดูแลผู้รับบริการเพื่อตรวจรักษาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
การประเมินศักยภาพชุมชน ด้วย... ค่ากลางที่คาดหวัง
ระบบทำความเย็น.
ปฏิสัมพันธ์ระหว่างเทคโนโลยีกับสิ่งแวดล้อม
การตรวจสอบคุณภาพเมล็ดพันธุ์พืชไร่ตระกูลถั่ว
การสนับสนุน การบูรณาการ ค่ากลาง จังหวัดเชียงใหม่
วัฏจักรหิน วัฏจักรหิน : วัดวาอาราม หินงามบ้านเรา
กฎกระทรวง ความปลอดภัยทางรังสี พ.ศ.2561
หมวดที่ 4 การป้องกันและควบคุมการติดเชื้อ
อสม.ดีเด่น สาขาทันตสุขภาพ
ศูนย์ปฏิบัติการยุติวัณโรค NOC TB อำเภอบรบือ จังหวัดมหาสารคาม
ทิศทางการดำเนินงานลดโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD)
มะเร็งปากมดลูก โดย นางจุฑารัตน์ กองธรรม พยาบาลวิชาชีพ รพ.สต.บ้านโนนแต้
การติดตาม (Monitoring)
Supply Chain Management
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
นวัตกรรม ขวดเก็บ Sputum culture
งานวิสัญญี รพร.เดชอุดม
โครงการถ่ายทอดเทคโนโลยีถนนรีไซเคิลเพื่อลดขยะพลาสติกใน 4 ภูมิภาค
บัญชีเงินเดือนขั้นต่ำขั้นสูงของข้าราชการพลเรือนสามัญ
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
คุณต้องรู้ว่าคุณกำลังมีปัญหาอะไร?
อำเภอวังทอง อ.วัดโบสถ์ อ.นครไทย อ.เมือง อ.เนินมะปราง อ.เมืองพิจิตร
วัฏจักรของน้ำ + พายุหมุนเขตร้อน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ความรู้เบื้องต้นระบบระบายอากาศ

มาตรฐานการระบายอากาศ เพื่อให้มีการผลัดเปลี่ยนอากาศ ลดปริมาณคาร์บอนไดออกไซด์และก๊าซ ลดความเข้มของกลิ่นหรือขจัดให้หมดไป ทำให้ความชื้นที่พื้นผิวระเหยง่ายขึ้น ในหลายกรณี กิจกรรมบางอย่างในอาคารอาจจะก่อให้เกิดสิ่งปะปนหรือสิ่งปนเปื้อนขึ้น จำเป็นจะต้องใช้ลมระบายออกโดยตรงและจะไม่ให้ปะปนกับลมส่วนอื่นในห้อง ให้ออกสู่บริเวณภายนอกอาคารอย่างเหมาะสม

การระบายอากาศในกรณีที่ไม่มีการปรับสภาวะอากาศ ทำได้ 2 วิธีคือ 1. การระบายอากาศโดยวิธีธรรมชาติ เงื่อนไข ห้องหรือบริเวณมีผนังด้านนอกอย่างน้อยหนึ่งด้านโดยมีช่องเปิดสู่ภายนอกได้ ซึ่งจะต้องเปิดให้อากาศผ่านในขณะใช้สอยพื้นที่นั้น ๆ ต้องมีพื้นที่ลมผ่านสุทธิไม่น้อยกว่าร้อยละ 10 เมื่อเทียบกับพื้นที่ 2. การระบายอากาศโดยวิธีกล ใช้กับพื้นที่ใดก็ได้ โดยให้มีอุปกรณ์ขับเคลื่อนอากาศเพื่อให้เกิดการนำอากาศภายนอกเข้าสู่ห้องหรือบริเวณ โดยมีอัตราไม่น้อยกว่า ที่ระบุไว้ ในกฎกระทรวงฯ ที่ออกตามความในพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร

การระบายแบบธรรมชาติ การระบายแบบวิธีกล

มาตรฐานระบบปรับอากาศและระบายอากาศ

อัตราการระบายอากาศในสถานพยาบาล

การคำนวณปริมาตรห้อง และอัตราการระบายอากาศ ปริมาณการระบายอากาศต่อชั่วโมง อัตราการระบายอากาศต่อชั่วโมง

กำลังไฟฟ้าเข้าสูงสุด อัตราการระบายอากาศและค่ากำลังไฟฟ้าเข้า ตามมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมของพัดลมดูดอากาศ (จาก มอก.710-2535) ขนาดใบพัด (นิ้ว) 6 8 10 12 16 20 อัตราการระบายอากาศ (ลบ.เมตร/ชั่วโมง) 270 (216) 360 (336) 600 900 1680 2700 กำลังไฟฟ้าเข้าสูงสุด (วัตต์) 22 33 40 46 80 120 หมายเหตุ 1. ค่าในวงเล็บใช้กับพัดลมติดกระจก 2. สำหรับพัดลมที่มี 2 ทิศทาง ค่าที่กำหนดในตารางเป็นค่าที่ดูดออก

การคำนวณอัตราระบายอากาศจากสเปกของพัดลม Air changes/hr = CFMx60 min/volume of room 0.26 m3 x 60 min x 26 w = 405.6 ลูกบาศก์เมตรต่อชั่วโมง 1 ลูกบาศก์ฟุตต่อนาที(CFM) = 1.69 ลูกบาศก์เมตรต่อชั่วโมง(CMH)

การเลือกขนาดและชนิดของพัดลมฯ พัดลม ฯ ชนิดติดกระจกและผนัง พัดลมฯ ชนิดติดเพดาน พัดลม ฯ ชนิด Centrifugal

พัดลมระบายอากาศชนิดติดเพดาน ระบายอากาศตั้งแต่ 90 ลบ.ม/ชม. ขึ้นไป สามารถต่อท่อระบายอากาศได้ ส่วนมากใช้ระบายอากาศ ที่อับไม่สามารถระบายอากาศออกผนังข้าง ๆ ได้ เช่น ติดพัดลมไว้กับเพดาน แล้วต่อท่อส่งลมไปทิ้งนอกอาคาร

พัดลมระบายอากาศชนิดเพดาน ระบายอากาศตั้งแต่ 400 ลบ.ม/ชม. ไม่ควรต่อท่อระบายอากาศ ส่วนมากใช้ระบายอากาศ ห้องทั่วไป โดยติดพัดลมฯ ไว้กับเพดาน เช่น ห้องผู้ป่วยใน ผู้ป่วยนอก อาคารชั้นบน

พัดลมระบายอากาศชนิดติดผนัง ระบายอากาศตั้งแต่ 300 ลบ.ม/ชม. ขึ้นไป ไม่ควรต่อท่อระบายอากาศ ส่วนมากใช้ระบายอากาศ ห้องทั่วไป โดยติดพัดลมฯ ไว้กับผนัง เช่น ห้องผ่าตัด ห้องผู้ป่วยพิเศษ สำนักงาน

พัดลมระบายอากาศชนิดติดกระจก ระบายอากาศตั้งแต่ 200 ลบ.ม/ชม. ไม่ควรต่อท่อระบายอากาศ ส่วนมากใช้ระบายอากาศ ห้องทั่วไป โดยติดพัดลมฯ ไว้กับกระจก เช่น ห้องผู้ป่วยพิเศษ สำนักงาน

พัดลมระบายอากาศชนิดเหวี่ยงหนีศูนย์ ระบายอากาศตั้งแต่ 200 ลบ.ม/ชม. สามารถต่อท่อระบายอากาศได้ ส่วนมากใช้ระบายอากาศ ห้องทั่วไปต้องต่อท่อ โดยติดพัดลมฯ ไว้กับเพดาน เช่น ห้องผู้ป่วยใน ผู้ป่วยนอก อาคารชั้นล่าง

ตัวอย่าง ปัญหา มีกลิ่นตลอดเวลา สาเหตุ สารเคมีตกลงด้านล่าง พัดลมฯแรงดูดน้อย แก้ไข ระบายอากาศระดับต่ำ

ห้องล้างฟิล์ม

เทคนิค/แนวทางการแก้ปัญหาการระบายอากาศ

เทคนิค/แนวทางการแก้ปัญหาการระบายอากาศ -หาสาเหตุ(แก้ที่ต้นเหตุ) -แลกเปลี่ยนข้อมูลกับเจ้าของสถานที่ -กำหนดอัตราระบายอากาศ -กำหนดทิศทางเข้า-ออกอากาศ -ประเมินผลและข้อมูลหลังดำเนินการ

T.B. Viruses Bacterias 3 Feet

(ไม่มีระบบกรองอากาศ) ห้องตรวจคัดกรองฯ (ไม่มีระบบกรองอากาศ) มุมมองด้านข้าง มุมมองด้านบน

(ไม่มีระบบกรองอากาศ) ห้องตรวจคัดกรองฯ (ไม่มีระบบกรองอากาศ)

ห้องตรวจคัดกรองฯ (มีระบบกรองอากาศ)

อาคารผู้ป่วยนอก ติดตั้งระบบปรับอากาศ ขาดระบบระบายอากาศ วัดค่า CO2 1,391 PPM อาคารผู้ป่วยนอก ติดตั้งระบบปรับอากาศ ขาดระบบระบายอากาศ

การใช้งานเครื่องฟอกอากาศ

Filter อุดตัน Filter สะอาด

ห้องทันตกรรม

ระบายอากาศจากกลางห้อง

ห้องตรวจโรคทั่วไป มุมมองด้านข้าง มุมมองด้านบน

กำหนดทิศทางเข้า-ออกอากาศ OPD