องค์กรรอบรู้สุขภาพ (Health Literate Organization)
เป้าหมายของการเป็นหน่วยงาน HLO คือ การสร้างความตระหนักในการให้ความสำคัญของสุขภาพให้กับ คนในหน่วยงาน และ ผู้มารับบริการจากหน่วยงาน การทำให้คนในหน่วยงาน รอบรู้ว่า 1.วิธีการทำงานของตน หรือ หน่วยงานของตน ส่งผลต่อสุขภาพของ ตนเอง ในด้านใดบ้าง 2.วิธีการทำงานของตน หรือ หน่วยงานของตน ช่วยให้ผู้รับบริการ หรือ สังคมโดยรวม มีสุขภาพดีอย่างไรบ้าง
ความรอบรู้ด้านสุขภาพ (Health Literacy) ความรอบรู้ด้านสุขภาพ หมายถึง ความสามารถของบุคคลในเข้าถึง การทำความเข้าใจข้อมูลสุขภาพ กลั่นกรอง ประเมิน และตัดสินใจ เพื่อการนำข้อมูลไปใช้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เลือกใช้บริการและผลิตภัณฑ์สุขภาพได้อย่างเหมาะสม
กระบวนการความสำเร็จ ต้องสนับสนุนให้ประชาชน เข้าถึง เข้าใจข้อมูล ความรู้ และการจัดบริการสุขภาพ ระดับพื้นฐานที่จำเป็นได้ง่าย สามารถโต้ตอบซักถาม ตัดสินใจเลือกรับ ปรับใช้ และสามารถบอกต่อได้
องค์ประกอบขององค์กรรอบรู้ด้านสุขภาพ
ความสัมพันธ์ การพัฒนาคุณภาพการจัดการภาครัฐและองค์กรรอบรู้สุขภาพ ความสัมพันธ์ การพัฒนาคุณภาพการจัดการภาครัฐและองค์กรรอบรู้สุขภาพ
การวางแผนเชิงยุทธศาสตร์ การบริหารจัดการภาครัฐ/PMQA Agent ศูนย์เขต โรงเรียน สถานประกอบการ องค์กรรอบรู้ด้านสุขภาพ / HLO การนำองค์กร การวางแผนเชิงยุทธศาสตร์ การให้ความสำคัญกับผู้รับบริการ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้ การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล การจัดกระบวนการ ผลลัพธ์การดำเนินการ ผู้นำ บุคลากร การสื่อสาร สิ่งแวดล้อม Health Literacy กระบวนการสร้างความรอบรู้ในตัวบุคคล กลุ่มเป้าหมาย ประชาชน
เกณฑ์การประเมิน รอบ 5 เดือนแรก (ตุลาคม 2560 ถึง กุมภาพันธ์ 2561) เกณฑ์การประเมิน รอบ 5 เดือนแรก (ตุลาคม 2560 ถึง กุมภาพันธ์ 2561)
ระดับขั้นความสำเร็จ ขั้นตอนดำเนินงานรอบ 5 เดือนแรก (ต.ค. 60-ก.พ.61) คะแนน ตัวอย่างหลักฐาน 1 แสดงเข็มมุ่งการเป็นองค์กรคุณภาพคู่คุณธรรม ตามโมเดลขับเคลื่อนกรมอนามัย 4.0 - มีการจัดตั้ง 3 ทีมนำตามโมเดลขับเคลื่อนกรมอนามัย 4.0 และมีนโยบายในการพัฒนาเป็น HLO - มีการสื่อสารเป้าหมาย/ เข็มมุ่งการเป็นองค์กรรอบรู้ด้านสุขภาพ ไปยังบุคลากรทุกระดับ รายงานการประชุม การมอบนโยบาย คำประกาศนโยบาย กำหนดให้การส่งเสริมความรอบรู้ด้านสุขภาพ (health literacy) เป็นนโยบายหนึ่งขององค์กร
ระดับขั้นความสำเร็จ ขั้นตอนดำเนินงานรอบ 5 เดือนแรก (ต.ค. 60-ก.พ.61) คะแนน ตัวอย่างหลักฐาน 2 3 ทีมนำ (Executive Engagement Teams) ร่วมขับเคลื่อนองค์กรตาม PMQA Mechanism -วิเคราะห์กลุ่มเป้าหมาย เพื่อวางแผนหน่วยงานสู่องค์กร HLO -มีการจัดทำแผนการพัฒนาหน่วยงานสู่ HLO ที่เหมาะสมกับกลุ่มเป้าหมายได้อย่างชัดเจน 1 - มีหลักฐานการวัด การวิเคราะห์กลุ่มเป้าหมาย - แผนการพัฒนาหน่วยงานสู่ HLO
ระดับขั้นความสำเร็จ ขั้นตอนดำเนินงานรอบ 5 เดือนแรก (ต.ค. 60-ก.พ.61) คะแนน ตัวอย่างหลักฐาน 3 3 ทีมนำตอบสนองต่อบทบาทที่คาดหวัง - เริ่มแสดงให้เห็นถึงการมีกระบวนการ/วิธีทำงานร่วมกัน (collective Leader) อย่างชัดเจน ทีมนำ -กำหนดทิศทางองค์กร (Strategic Direction) ของการเป็นองค์กรรอบรู้สุขภาพ ทีมยุทธศาสตร์ –กำหนดมาตรการบริหารเชิงยุทธศาสตร์ในการดำเนินงานการเป็นองค์กรรอบรู้สุขภาพ ทีมสื่อสารเพื่อการเรียนรู้ -มีกระบวนการให้ข้อมูลด้านสุขภาพแก่เจ้าหน้าที่ในหน่วยงานและผู้รับบริการ โดยอาจนำประเด็นสื่อสารหลักด้านสุขภาพ (Key Message) มาประกอบการดำเนินงาน 1 - หลักฐานที่แสดงถึงกระบวนการทำงาน/แผนงาน/การให้ข้อมูลด้านสุขภาพในองค์กร แก่เจ้าหน้าที่ในหน่วยงานและผู้รับบริการ หรือการนำประเด็นสื่อสารหลักด้านสุขภาพ (Key Message) มาประกอบการดำเนินงาน
ระดับขั้นความสำเร็จ ขั้นตอนดำเนินงานรอบ 5 เดือนแรก (ต.ค. 60-ก.พ.61) คะแนน ตัวอย่างหลักฐาน 4 แสดงถึงกระบวนงาน/ ตัวชี้วัดสำคัญ (ในขั้นตอนที่ 2-3) ที่นามาปรับปรุงระบบบริหาร/วิธีทำงานของหน่วยงานเพื่อดาเนินการ HLO (1 เรื่อง) - การออกแบบกระบวนงาน/ วิธีทำงาน การเป็นองค์กรรอบรู้สุขภาพ ที่ประกอบด้วย กระบวนการจัดทำสื่อ รูปแบบและช่องทางที่หลากหลายในการเผยแพร่ข้อมูลข่าวสาร การปรับสิ่งแวดล้อม การพัฒนาศักยภาพบุคลากร 1 - เอกสารการสร้าง กระบวนงาน/ วิธีทำงาน การเป็นองค์กรรอบรู้ด้านสุขภาพ - มีหลักฐานการใช้ข้อมูลของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้เสีย
ระดับขั้นความสำเร็จ ขั้นตอนดำเนินงานรอบ 5 เดือนแรก (ต.ค. 60-ก.พ.61) คะแนน ตัวอย่างหลักฐาน 5 - แสดงให้เห็นถึงกระบวนงานใหม่ (ในขั้นตอนที่ 1-4) ตอบสนองต่อแผนพัฒนาบุคลากรขององค์กร (หมวด 5, หมวด 6) และมีการพัฒนาทักษะบุคลากรของหน่วยงานให้มีความรอบรู้ด้านสุขภาพ 1 - แผนพัฒนาทักษะบุคลากรให้มีความรอบรู้ด้านสุขภาพ - การสรุปผลการดำเนินกิจกรรมฝึกอบรมทักษะความรอบรู้ด้านสุขภาพ โดยแสดงหรืออธิบายกระบวนการ ผู้เข้าร่วมกิจกรรม แนวทางการประเมินผลการเข้าร่วม เครื่องมือในการประเมินผล ผลการประเมิน และสรุปปัญหา/อุปสรรค พร้อมแนวทางการจัดการในครั้งต่อไป คะแนนรวม
เกณฑ์การประเมิน รอบ 5 เดือนหลัง (มีนาคม 2561 ถึง กรกฎาคม 2561) เกณฑ์การประเมิน รอบ 5 เดือนหลัง (มีนาคม 2561 ถึง กรกฎาคม 2561)
ระดับขั้นความสำเร็จ ขั้นตอนดำเนินงานรอบ 5 เดือนหลัง (มี.ค. 61-ก.ค.61) คะแนน ตัวอย่างหลักฐาน 1 - มีข้อมูลกลุ่มผู้รับบริการ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียที่สำคัญ - มีการประเมินความพึงพอใจของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียครอบคลุมทุกกลุ่ม และจัดทำเป็นสารสนเทศเพื่อใช้ในการพัฒนาและสร้างความผูกพันองค์กร - มีการประเมินความพึงพอใจของผู้รับบริการ - มีตู้รับความคิดเห็น 2 - มีการเชื่อมโยงฐานข้อมูล สารสนเทศ ความรู้ที่สำคัญและจำเป็นอย่างยิ่งยวด (Critical Knowledge) เข้าสู่ระบบสารสนเทศ (KISS) ของกรมอนามัย - มีสื่อเพื่อสร้างความรอบรู้ด้านสุขภาพ เช่น สื่อสิ่งพิมพ์ สื่อ New Media - แสดงตัวอย่างชุดสื่อข้อมูล (สุขภาพ) ตามกลุ่มเป้าหมาย โดยอธิบาย ที่มา กระบวนการพัฒนา แนวทางการตรวจสอบความถูกต้อง ความง่ายของภาษา และความเหมาะสมของช่องทางการสื่อสารของชุดสื่อข้อมูลสุขภาพนั้นๆ ทั้งนี้ ให้ระบุลักษณะของกลุ่มเป้าหมายด้วย
ระดับขั้นความสำเร็จ ขั้นตอนดำเนินงานรอบ 5 เดือนหลัง (มี.ค. 61-ก.ค.61) คะแนน ตัวอย่างหลักฐาน 3 - มีการเรียนรู้และใช้ประโยชน์จากข้อมูล เพื่อการตัดสินใจเชิงยุทธศาสตร์/ขับเคลื่อนงานเชิงกลยุทธ์/ สร้างนวัตกรรม ฯลฯ - มีการสื่อสารด้านสุขภาพภายในหน่วยงานอย่างชัดเจน และมีช่องทางการสื่อสาธารณะที่เข้าถึง เพื่อสนับสนุนการเป็นองค์กรรอบรู้ด้านสุขภาพ (HLO) 1 - แสดงหรืออธิบายช่องทางการเผยแพร่สื่อข้อมูล (สุขภาพ) ขององค์กร โดยระบุช่องทางในการเผยแพร่ กลุ่มเป้าหมาย เหตุผลที่เผยแพร่ผ่านช่องทางดังกล่าว และจำนวนกลุ่มเป้าหมายที่รับรู้หรือเข้าถึงข้อมูล (สุขภาพ) ดังกล่าว 4 - มีการจัดทำ Work Manual/ Guideline ของกระบวนการ/ ตัวชี้วัดสำคัญ (ใน 5 เดือนแรก) ที่ครอบคลุมขั้นตอนของกระบวนการสร้างคุณค่าและกระบวนงานสนับสนุนทั้งหมด - มีการจัดการสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการพัฒนาสู่องค์กร HLO - แสดงถึงการจัดการสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการพัฒนาสู่องค์กร HLO
ระดับขั้นความสำเร็จ ขั้นตอนดำเนินงานรอบ 5 เดือนหลัง (มี.ค. 61-ก.ค.61) คะแนน ตัวอย่างหลักฐาน 5 แสดงถึงความสำเร็จของการพัฒนาองค์กรในภาพรวม [ผลลัพธ์-หมวด 7] - มีผลลัพธ์/ บทเรียนความสำเร็จในการดำเนินงาน HPO และ HLO - มีผลลัพธ์การพัฒนาองค์กรในระดับที่สูงขึ้นและนาไปสู่การเสนอชื่อผลงานเพื่อสมัครขอรับรางวัล เช่น รางวัลบริการภาครัฐแห่งชาติ (Thailand Public Service Awards), รางวัล United Nations Public Service Awards , การประกวดผลงานวิชาการกระทรวงฯ เป็นต้น 1 - สรุปการดำเนินกิจกรรมถอดบทเรียนในการดำเนินการองค์กรรอบรู้ด้านสุขภาพ ทั้งนี้ สามารถแนบรูปภาพกิจกรรมได้ โดยระบุด้วยว่า กิจกรรม/โครงการใดดำเนินการแล้วบรรลุตามวัตถุประสงค์ ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ ปัจจัยแห่งความสำเร็จ ปัญหา/อุปสรรค และข้อเสนอแนะ - การรายงานผลประสิทธิภาพการดำเนินงาน คะแนนรวม
การรายงานผลประสิทธิภาพของการดำเนินงาน องค์กรรอบรู้ด้านสุขภาพ ปี กิจกรรม ผลการดำเนินงาน ตามกิจกรรม (เช่น จำนวนวันลา การป่วยของผู้รับบริการ ภาวะน้ำหนักเกินของบุคลากร) ค่าใช้จ่าย (บาท) 2560 กิจกรรมส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม 2561 กิจกรรมส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม ควบคู่กับการดำเนินงานรอบรู้สุขภาพ