การพัฒนาระบบการดูแลผู้รับบริการเพื่อตรวจรักษาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ประเด็นในการพัฒนา DHS-PCA
Advertisements

แผนการควบคุมวัณโรค จังหวัดนราธิวาส
อัตราบรรจุ ข้าราชการ 2625 พนักงานราชการ 99 ลูกจ้างประจำ 77 รวม 4241 อัตราว่าง จำนวน 1 อัตรา ตำแหน่งนักทรัพยากรบุคคลชำนาญการ มาช่วย ราชการ น. ส. สุริยา.
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
การดูแลผู้ติดเชื้อเอชไอวีและผู้ป่วยวัณโรค โรงพยาบาลเจริญกรุงประชารักษ์
โรงพยาบาลอ่างทอง ชื่อผู้ติดต่อ นางรัตนา งิ้ววิจิตร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ กลุ่มงาน เวชกรรมสังคม โทรศัพท์ อีเมล์
รายงานผลการดำเนินงาน
โรงพยาบาลเขาชัยสน ขนาด 30 เตียง จังหวัดพัทลุง
ชื่อโรงพยาบาล ขนาด... เตียง จังหวัด ชื่อผู้ติดต่อ กลุ่มงาน โทรศัพท์ อีเมล์
และองค์การบริหารส่วนจังหวัดกาญจนบุรีสาขาระดับอำเภอ 6 สาขา
ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบบริหารจัดการเพื่อสนับสนุนการจัดบริการสุขภาพ
ทีมคลินิกเบาหวาน/ความดัน
การประเมินผู้ป่วยบาดเจ็บศีรษะ
พยาบาลวิชาชีพชำนาญการพิเศษ
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
สำนักงานพัฒนาระบบสาธารณสุข
ปลัดกระทรวงสาธารณสุข
นโยบายด้านโรคติดต่อ ศ. คลินิกเกียรติคุณ นพ. ปิยะสกล สกลสัตยาทร รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข.
แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ระบบบัญชี สุขภาพ (1-8) กุมภาพันธ์ 2558 สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดบุรีรัมย์
โครงการ ส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิม พระเกียรติ “ ส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิม พระเกียรติ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารี เนื่องในโอกาสฉลองพระชนมายุ
กลุ่มวัยผู้สูงอายุ
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
วาระที่ สรุปผลการปฏิบัติงาน ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2559
โครงการพัฒนารูปแบบ การคัดกรองวัณโรคและการรักษาวัณโรค
การเพิ่มประสิทธิภาพ ระบบบริหารจัดการความเสี่ยง
กลุ่มงานบริหารทรัพยากรบุคลากร
ปัจจัยที่มีผลต่อการรักษาวัณโรคดื้อยาหลายขนานไม่สำเร็จ
การศึกษาอุบัติการณ์และปัจจัยเสี่ยงการเกิดพิษต่อตับ ในผู้ติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์ที่ได้รับยาต้านไวรัสเอชไอวี โรงพยาบาลวารินชำราบ.
การประชุม เรื่อง การจัดทำแผนยุทธศาสตร์ 4 ปี (พ. ศ
คลินิกบริการดูแลผู้ติดเชื้อHIV/AIDS โรงพยาบาลเขาสมิง จังหวัดตราด
การประเมินมาตรฐาน งานระบาดวิทยา ปี 2549
ประสบการณ์การ การใช้ระบบติดตามผลการดำเนินงานในกลุ่มผู้ใช้ยา/สารเสพติด
แพทย์หญิงวันทนีย์ วัฒนะ ผู้อำนวยการสำนักอนามัย
กลุ่มเป้าหมาย สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด 76 จังหวัด ค่าเป้าหมาย
กรอบอัตรากำลังของบุคลากรทางการศึกษาอื่นตามมาตรา 38 ค. (2)
สรุปแนวทางการดำเนินงานตามกลุ่มวัย
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
การติดตามผลการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๐
บัตรยิ้ม สร้างเสริมกำลังใจ
“การดูแลหญิงหลังคลอด และ ครอบครัวที่ติดเชื้อ เอช ไอ วี”
โดย ศรีปัญญา ม่วงเพ็ชร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
วันที่ ๒๔-๒๕ สิงหาคม ๒๕๕๙ ณ โรงแรมพูลแมน จังหวัดขอนแก่น
แนวทางการดำเนินงานเพื่อผู้สูงอายุ
โครงการกำจัดปัญหาโรคพยาธิใบไม้ตับและมะเร็งท่อน้ำดี ถวายเป็นพระราชกุศลฯ
มีระบบการตรวจสอบภายใน ควบคุมภายใน และการบริหารความเสี่ยงระดับจังหวัด
กรมตรวจบัญชีสหกรณ์.
ผลการดำเนินงาน การบริหารจัดการประเมิน และดูแลผู้ป่วยก่อนกลับเข้าทำงาน
EB9 หน่วยงานของท่านมีการดำเนินการเพื่อป้องกันผลประโยชน์ทับซ้อนในหน่วยงานอย่างไร (1) มีการวิเคราะห์ความเสี่ยงเกี่ยวกับการปฏิบัติงานที่อาจเกิดผลประโยชน์ทับซ้อน.
แผนพัฒนาการจัดบริการอาชีวอนามัย และเวชกรรมสิ่งแวดล้อม
รพ.สต.สายใยรัก อำเภอสัตหีบ
ปี 2560 ปฏิทินการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส
รายงานความก้าวหน้าการดำเนินงาน แพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ
ชาลิณี ปิยะประสิทธิ์ สปสช.เขต 10 อุบลราชธานี 21 กันยายน 2560
ขั้นตอนการให้บริการ ด้านโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
ความก้าวหน้าในการดำเนินงาน Product Champion Cluster วัยรุ่น
ประชุม คปสจ.ประจำเดือนมิถุนายน ๒๕๕๙ MOTTO – กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ
องค์กรต้นสังกัด: โรงพยาบาล ระแงะ จังหวัด นราธิวาส
การประชุมกรมอนามัย ครั้งที่ 10/2557 วันเสาร์ที่ 11 ตุลาคม 2557
กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข โรงแรมเดอะรอยัลเจมส์ กอล์ฟ รีสอร์ท
การดำเนินงานเชิงรุก โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์และเอดส์
มีระบบการตรวจสอบภายใน ควบคุมภายใน และการบริหารความเสี่ยงระดับจังหวัด
โครงการพัฒนารูปแบบการดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน : ชุมชนลดเสี่ยง ลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง.
องค์กรต้นแบบอนามัยไร้พุง ปี 2552
ปัญหาและสาเหตุโดยย่อ
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
การพัฒนาคุณภาพการดูแลโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
มารู้จักและมีส่วนร่วมในกิจกรรม CSR ของ สศช. กันเถอะ
โรงพยาบาลยางตลาด 87 ม.20 ต.ยางตลาด อ.ยางตลาด จ.กาฬสินธุ์
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การพัฒนาระบบการดูแลผู้รับบริการเพื่อตรวจรักษาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ โรงพยาบาลท่าศาลา จังหวัด นครศรีธรรมราช

คำสำคัญ โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ หมายถึงโรคที่ วินิจฉัย รหัส ICD 10 ในระบบรายงาน 506 A50-A53และ A54-A63 ระบบ หมายถึง ระบบการดูแล ในโรงพยาบาล จากทุกแผนกที่เกี่ยวข้อง มาตรฐาน หมายถึง แนวทางการดูแลรักษาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ พ.ศ 2553และ 2558 การส่งตรวจทางห้องปฏิบัติการ ได้ติดตามในกลุ่มโรค ซิฟิลิส และหนองใน

สรุปผลงานโดยย่อ มีการนำปัญหาจากการทบทวนกระบวนการดูแลผู้ป่วยไปชี้แจงในทีมนำการดูแลผู้ป่วย ของโรงพยาบาลมีการประชุมเจ้าหน้าที่ในโรงพยาบาลและร.พ.สต. มีโครงการจัดตั้งคลินิกให้บริการปรึกษาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ (คลินิกนิรนาม) เพื่อบริการ ในโรงพยาบาล และมีแนวทางในการคัดกรองและส่งต่อจาก พยาบาลคัดกรอง แผนกผู้ป่วยนอก

ป้ายประชาสัมพันธ์

หน่วยงาน กลุ่มงานเวชปฏิบัติครอบครัวและชุมชน โรงพยาบาลท่าศาลา จังหวัดนครศรีธรรมราช

สมาชิกทีม นายสากล คมขำ สาธารณสุขศาสตรบัณฑิต ตำแหน่ง นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ นางอุดมรัตน์ อมรจรรยาพันธ์ พยาบาลศาสตรบัณฑิต ตำแหน่งพยาบาลวิชาชีพชำนาญการ นางสายพิณ จันทวี พยาบาลศาสตรบัณฑิต ตำแหน่งพยาบาลวิชาชีพชำนาญการ

เป้าหมาย(30 กัยายน 2559) ผู้ป่วยนอกที่มีความเสี่ยงจากการมีเพศสัมพันธ์ที่ไม่ปลอดภัย พร้อมคู่ ได้รับการดูแลตามมาตรฐานแนวทางการดูแลรักษาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์พ.ศ. 2558 ผู้ป่วยที่มารับบริการด้วยอาการที่เข้าได้กับโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ได้รับการคัดกรองเพื่อส่งต่อคลินิกให้คำปรึกษาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ (คลินิกนิรนาม) ผู้ป่วยที่มารับบริการด้วยอาการที่เข้าได้กับโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ ได้รับความรู้เรื่องโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ ร้อยละ 90

เป้าหมาย(ต่อ) 3.ผู้ป่วยที่มารับบริการด้วยอาการที่เข้าได้กับโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ และมีความเสี่ยง ได้รับถุงยางอนามัย ร้อยละ 90 4.ผู้ป่วยที่มารับบริการด้วยอาการที่เข้าได้กับโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ ได้รับการเชิญชวนให้ตรวจหาการติดเชื้อ เอช ไอ วีและ ร้อยละ 90

เป้หมาย(ต่อ) 5.การบันทึกเวชระเบียน สมบูรณ์ ร้อยละ 90 -ครอบคลุมความเสี่ยง เรื่องคู่ -การตรวจทางห้องปฏิบัติการ -การรักษา( ยา ) -การให้ความรู้/จ่ายถุงยางอนามัย -การฝากยาให้คู่ กรณีที่ไม่พาคู่มาด้วย/การติดตาม 6.ได้รับคำแนะนำให้คู่ประจำของผู้ที่มีความเสี่ยงจากการมีเพศสัมพันธ์ที่ไม่ปลอดภัย มารับ บริการตรวจรักษา ร้อยละ 90

ปัญหาและสาเหตุ โดยย่อ 1.จากการทบทวนเวชระเบียน ปี 2557 -ผู้ป่วยที่ได้รับการวินิจฉัยและรักษาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ ไม่ได้รับการดูแลตามมาตรฐาน ตามแนวทางการดูแลรักษาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ พ.ศ. 2553 ดังนี้

จำนวนที่สอดคล้องกับมาตรฐาน( 2553) จำนวนร้อยละสอดคล้องกับมาตรฐาน(2553) รายงานการทบทวน รายงานการทบทวน ปี 2557 จำนวนที่ทบทวนเวชระเบียน จำนวนที่สอดคล้องกับมาตรฐาน( 2553)   จำนวนร้อยละสอดคล้องกับมาตรฐาน(2553) หมายเหตุ การซักประวัติครอบคลุม 37 30 81 ได้ตรวจทางห้องปฏิบัติการ 17 7 41 การรักษาตามมาตรฐาน(ยา) 32 86 การให้ความรู้ 25 67 จ่ายถุงยางอนามัย 16 43 การฝากยากรณีคู่ไม่มาตรวจ 11 การติดตาม 18 นัดติดตามตรวจVDRL.TPHA

พบปัญหาผู้ติดเชื้อ เอช ไอ วี รายใหม่ เคยผ่านการรักษา ซิฟิลิส และเป็นซ้ำ มาก่อนโดยมีการทบทวนการให้บริการจากคลินิกผู้ติดเชื้อและผู้ป่วยเอดส์ และนำปัญหาเข้าสู่ ทีมนำ ระบบการดูแลผู้ป่วยของโรงพยาบาลเกี่ยวกับมาตรฐานการดูและผู้ป่วยโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ และ มีการประชุมเพื่อหาแนวทางพัฒนาระบบการดูแล และได้รับการประเมินการดำเนินงานโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ ตามมาตรฐานกรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข เมื่อ 17 เมษายน 2558 และได้วิเคราะห์จุดแข็ง จุดอ่อน รวมถึงได้นำคำเสนอแนะจากการประเมินมาพัฒนา ระบบการดูแลเพื่อพัฒนา

กิจกรรมการพัฒนา ปี พ.ศ2557 -ตรวจสอบระบบรายงาน 506 /ทบทวนเวชระเบียน รายงานปัญหาในกลุ่มงาน -รายงานข้อไม่สอดคล้องในระบบการดูแลผู้ป่วย(PCT) โรงพยาบาล -ประชุมทีมผู้ป่วยนอก และทีมดูแลกลุ่มโรคติดต่อ

กิจกรรมการพัฒนา ปี พ.ศ. 2558 - ทบทวนเวชระเบียน -จัดทำแนวทางระบบการส่งต่อจากแผนกผู้ป่วยนอกเพื่อให้คำปรึกษา และจ่ายถุงยางอนามัย -รับการประเมิน -ประชุมเจ้าหน้าที่ โรงพยาบาลและเครือข่าย รพ.สต.เพื่อฟังผลสรุป การประเมินมาตรฐานการบริการ จากสคร. 11 -สรุปผลการหารูปแบบพัฒนาระบบบริการตามมาตรฐาน STIs

กิจกรรมการพัฒนา ปี พ.ศ. 2559 -เขียนโครงการเปิดคลินิกบริการปรึกษาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์(นิรนาม) ให้บริการ ทุกวัน บริการ - -พัฒนาระบบคัดกรองผู้ป่วยนอก โดยมีแบบคัดกรองโดยพยาบาลประจำจุดคัดกรอง -มีระบบโทรแจ้งก่อนส่งต่อกรณีพบรายที่สงสัยโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ -มีบริการเชิงรุก โดยใช้ยุทธสาตร์ RRTTR ในกลุ่มพนักงานบริการหญิง(FSW) -ทบทวนเวชระเบียน

การวัดผลและการพัฒนา/การเปลี่ยนแปลง   การวัดผลและการพัฒนา/การเปลี่ยนแปลง กิจกรรมทบทวน จำนวนเวชระเบียนที่ทบทวน2558 จำนวนที่สอด คล้อง ร้อยละ จำนวนเวชระเบียนที่ทบทวน ถึงมิ.ย.2559 หมายเหตุ การซักประวัติครอบคลุม 53 45 84 37  32  86   ได้ตรวจห้องปฏิบัติการ 28 22 78 15  13  86.6 การรักษา(ยา) 46 86.7  35  94.5 การให้ความรู้ 69.8  30  81.0 จ่ายถุงยางอนามัย 52.8  25  67.5 การฝากยาให้คู่ 9 2 22.2 14  4  28.5 ให้คำปรึกษาก่อนตรวจเอช ไอวี  N  12  32.4 การวัดผลและการพัฒนา

การวัดผลการเปลี่ยนแปลง ปี 2559 เป้าหมาย กลุ่มเป้า หมาย จำนวนที่สอดคล้อง ร้อยละ หมายเหตุ กลุ่มเป้าหมาย ได้รับการส่งต่อ เข้าคลินิกให้คำปรึกษานิรนาม100% 37 20 54.0 ความสมบูรณ์เวชระเบียน 90% 30 81

บทเรียนที่ได้รับ ได้รับการตรวจเพื่อหาการติดเชื้อ เอช ไอ วี ต่ำ เนื่องจากแผนกผู้ป่วยนอกไม่ส่งต่อคลินิกนิรนามเนื่องจากมีข้อจำกัด กรณีผู้ป่วยมาพบแพทย์ นอกเวลาราชการ ต้องมีการติดตามกลุ่มที่ได้รับการวินิจฉัย เป็นโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ รายที่แพทย์ไม่นัดติดตามอาการ เพื่อรับบริการปรึกษา และเจาะเลือด หาการติดเชื้อ HIV และVDRL เละเพิ่มช่องทางการเข้าถึงถุงยางอนามัย เพิ่มขึ้น

ขอบคุณทุกกำลังใจ สวัสดี