ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วย งานสารบรรณ พ. ศ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
พัฒนาระบบบริหารจัดการน้ำเพื่อการเกษตร(บูรณาการกระทรวง)
Advertisements

ประกาศกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน เรื่อง หลักเกณฑ์และวิธีการเลือกตั้งคณะกรรมการสวัสดิการในสถานประกอบกิจการ ประกาศราชกิจจานุเบกษา วันที่ 22 พฤษภาคม.
ปทุมธานี นางปลื้มจิตต์ เนี้ยวคงศักดิ์ นายอารัต เมืองจร
แนวทางการบริหารงบประมาณ
ตราด สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด นางสาวอุสิมา สิงห์โตทอง
การจัดการองค์ความรู้ ( KM )
อำนาจเจริญ - ว่าง- - ว่าง- - ว่าง - -ว่าง -
นางพจนีย์ ขจร ปรีดานนท์ โยธาธิการและผังเมือง จังหวัด นายทวีศักดิ์ สุริยะสิงห์ หัวหน้ากลุ่มงานวิชาการ โยธาธิการ ( ว่าง ) หัวหน้าฝ่ายบริหารงาน ทั่วไป นายปรีชา.
เอกสารการบรรยายเรื่อง
วิเคราะห์ พ.ร.บ.การทวงถามหนี้ พ.ศ.2558 วิเคราะห์ พ.ร.บ.การทวงถามหนี้ พ.ศ.2558.
สำนักความรับผิดทางแพ่ง
กลุ่มออกแบบและก่อสร้าง สำนัก อำนวยการ สพฐ.
นางหทัยรัตน์ หงษ์ทอง ตำแหน่ง หัวหน้าฝ่ายบริหาร และพิธีการบิน.
การจัดซื้อจัดจ้างตามระเบียบ พัสดุ ประกาศคณะรักษาความรักษา ความสงบแห่งชาติ การซื้อและ การจัดจ้างด้วยระบบ อิเล็กทรอนิกส์ (e – GP) และการบริหาร งบประมาณ ขององค์กรปกครองส่วน.
มอบนโยบายการบริหารราชการให้กับหัวหน้าสถานีตำรวจ วันอังคารที่ 2 ๑ มิ. ย.59 เวลา น. สำนักงานตำรวจแห่งชาติ
หนังสือ เข้า 1. หน่วยสาร บรรณ หรือ งานธุรการ ระบบสารบรรณกระดาษ - บันทึกรายละเอียดผ่านระบบ - สแกนเอกสารลงระบบ ( กรณีเร่งด่วน ) 2. หน่วยงาน ภายใน - ลงทะเบียนรับผ่านระบบ.
ขั้นตอนการจัดซื้อจัดจ้าง ตามระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการพัสดุ พ
ระเบียบคณะกรรมการพลังงานปรมาณูเพื่อสันติว่าด้วยวิธีการรักษาความมั่นคงปลอดภัยของวัสดุนิวเคลียร์และสถานประกอบการทางนิวเคลียร์พ.ศ วันที่ประกาศในราชกิจจานุเบกษา.
๕ เรื่องเด่นในร่างรัฐธรรมนูญ
บทที่ 3 องค์ประกอบของการสัมมนา
วิชากฎหมายอาคาร รหัสวิชา ท-ป-น (2-0-2) หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ ปวช.2556 ประเภทวิชาช่างอุตสาหกรรม สาขาวิชาช่างก่อสร้าง สาขาวิชาช่างโยธา.
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
วาระที่ สรุปผลการปฏิบัติงาน ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2559
การพัฒนาคุณภาพชีวิตในการทำงาน (Quality of Work Life)
การปกครองระบอบประชาธิปไตย
เรื่องที่ประธานแจ้งให้ที่ประชุมทราบ
โดย นายทรงเกียรติ ตาตะยานนท์ ผู้อำนวยการส่วนจัดการงบประมาณ
กรณีศึกษา : นักเรียน ระดับ ปวช.2 สาขาวิชาการบัญชี
กรอบอัตรากำลังของบุคลากรทางการศึกษาอื่นตามมาตรา 38 ค. (2)
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
การอบรม ระบบหนังสือบันทึกอิเล็กทรอนิกส์ eMemo ปี 2560 สำหรับ
งานสารบรรณและ สารบรรณอิเล็กทรอนิกส์ กรมอนามัย
กิจกรรมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ งานบริหารและธุรการ คณะบริหารธุรกิจ
ประพนธ์ อางตระกูล สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา
การบริหารงานประชาสัมพันธ์ของจังหวัด : การประชาสัมพันธ์และการจัดการสื่อ
ประกาศกระทรวงแรงงาน เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขในการขออนุญาตทำงาน และการอนุญาตให้ทำงานตามพระราชกำหนดการบริหารจัดการการทำงานของคนต่างด้าว พ.ศ.
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูลเพื่อการพัฒนาชุมชน ปี 2561
(มีผลใช้บังคับวันที่ ๑ พ.ย. ๒๕๕๗)
กลุ่มเกษตรกร.
การให้เงินช่วยเหลือหรืออุดหนุน เพื่อส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงาน
พ.ร.บ. ระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ.2546
ประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
ระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยการพัสดุของหน่วยการบริหารราชการส่วนท้องถิ่น พ.ศ แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ (ฉบับที่ 3 - 5) พ.ศ (ฉบับที่
องค์กรตรวจสอบการทำงานภาครัฐ (สตง. / ปปช. / ปปท. )
ชั้น G ปารีส ศูนย์การค้าเทอร์มินอล 21 โคราช
เรื่อง การใช้งานระบบ Survey license
อำนาจอธิปไตย 1.
ความคืบหน้าการจ้างลูกจ้างชั่วคราว เป็นพนักงานกระทรวงสาธารณสุข (พกส.)
ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี
ประกาศสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์การสนับสนุนและส่งเสริมศูนย์พัฒนาและฟื้นฟูคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุและคนพิการ พ.ศ นายอัษฎาวุธ.
แนวปฏิบัติ การจัดสวัสดิการภายในส่วนราชการ
ศูนย์ทันตสาธารณสุขระหว่างประเทศ ตัวชี้วัดกรม ตัวชี้วัดตามภารกิจหน่วยงาน แบบวิเคราะห์การถ่ายทอดตัวชี้วัด ความเชื่อมโยงการถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับหน่วยงานลงสู่ระดับกลุ่มงาน.
ผู้ประกอบการโลจิสติกส์ในเขตปลอดอากร นักตรวจสอบภาษีชำนาญการพิเศษ
การจัดองค์กรของรัฐในประเทศไทย ********************
ทะเบียนสมาคมฌาปนกิจสงเคราะห์
การประกาศเขตการให้ความช่วยเหลือผู้ประสบ ภัยพิบัติกรณีฉุกเฉิน ตามระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยเงินทดรองราชการเพื่อช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติกรณีฉุกเฉิน พ.ศ.
กลุ่มส่งเสริมอาชีพการเกษตร
ประกาศในราชกิจจานุเบกษา วันที่ 8 สิงหาคม พ.ศ. 2560
การปกครองท้องถิ่น ในปัจจุบัน
การขับเคลื่อน การจัดทำแผนการพัฒนากำลังคน รายจังหวัด
ขั้นตอนการประเมินลูกจ้างชั่วคราวเงินบำรุง
การจัดการความรู้ สำนักชลประทานที่ 15
ขอบเขตของงานการจัดซื้อ
ตอนที่ 4.3 กรณีศึกษา : การสร้างเสริมประสิทธิภาพ งานส่งเสริมการเกษตร สำนักงานอำเภอน้ำปาด จังหวัดอุตรดิตถ์ ตอนที่ กรณีศึกษา : การจัดการความรู้
การจัดการความรู้ด้านงานสนับสนุน
การจัดทำแผนการจัดซื้อจัดจ้าง
การจัดการภาครัฐ และภาคเอกชน Public and private management
MTRD 427 Radiation rotection - RSO
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
พระราชกฤษฎีกาค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการ (ฉบับที่ 9) พ.ศ. 2560
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วย งานสารบรรณ พ. ศ ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วย งานสารบรรณ พ.ศ. 2526 แก้ไขเพิ่มเติมถึง (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2548

ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยงานสารบรรณ พ.ศ. ๒๔๙๗ ว่าด้วยงานสารบรรณ พ.ศ. ๒๕๐๖ ว่าด้วยงานสารบรรณ พ.ศ. ๒๕๒๖

ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยงานสารบรรณ (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๔๘ ว่าด้วยงานสารบรรณ พ.ศ. ๒๕๒๖ ว่าด้วยงานสารบรรณ (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๔๘ ระบบสารบรรณ อิเล็กทรอนิกส์

ใช้บังคับกับส่วนราชการ ส่วนราชการ หมายความว่า - กระทรวง ทบวง กรม - หรือหน่วยงานอื่นใดของรัฐทั้งในราชการบริหาร- ส่วนกลาง ราชการบริหารส่วนภูมิภาค ราชการ บริหารส่วนท้องถิ่น หรือในต่างประเทศ - และให้หมายความรวมถึงคณะกรรมการด้วย

ความหมายของงานสารบรรณ “งานสารบรรณ” คือ งานที่เกี่ยวกับการบริหารงานเอกสาร เริ่มตั้งแต่การจัดทำ การรับ การส่ง การเก็บรักษา การยืม และการทำลาย

ประโยชน์ของงานสารบรรณ ทำให้การปฏิบัติงานเป็นระบบ มีความเป็นระเบียบ เกิดความประหยัด การทำงานมีประสิทธิภาพ สะดวกต่อการอ้างอิงและค้นหา เกิดความต่อเนื่องในการทำงาน

หนังสือราชการ คือ เอกสารที่เป็นหลักฐานในราชการ ได้แก่ หนังสือราชการ คือ เอกสารที่เป็นหลักฐานในราชการ ได้แก่ ๑. หนังสือที่มีไปมาระหว่างหน่วยงาน ๒. หนังสือที่ส่วนราชการมีไปถึงหน่วยงานอื่นใด ซึ่งมิใช่ส่วนราชการหรือที่มีไปถึงบุคคลภายนอก ๓. หนังสือที่หน่วยงานอื่นใด ซึ่งมิใช่ส่วนราชการหรือ ที่บุคคลภายนอก มีมาถึงส่วนราชการ ๔. เอกสารที่ทางราชการจัดทำขึ้นเพื่อใช้เป็นหลักฐานในราชการ ๕. เอกสารที่ทางราชการจัดทำขึ้นตามกฎหมาย ระเบียบ หรือข้อบังคับ **๖. ข้อมูลข่าวสารหรือหนังสือที่ได้รับจากระบบสารบรรณ อิเล็กทรอนิกส์

ชนิดของหนังสือราชการ ๑. หนังสือภายนอก ใช้ในการติดต่อราชการทั่วไป เป็นแบบพิธีการ ใช้กระดาษตราครุฑ เป็นหนังสือติดต่อระหว่าง ส่วนราชการ หรือส่วนราชการมีถึงหน่วยงาน อื่นใดซึ่งมิใช่ส่วนราชการ หรือมีถึงบุคคลภายนอก ๒. หนังสือภายใน คือหนังสือติดต่อราชการที่เป็นแบบพิธี น้อยกว่าหนังสือภายนอก เป็นหนังสือติดต่อ ภายในกระทรวง ทบวง กรม หรือจังหวัด เดียวกัน ใช้กระดาษบันทึกข้อความ

๓. หนังสือประทับตรา เป็นหนังสือที่ใช้ติดต่อราชการภายนอก เพื่อเป็นการแบ่งเบาภาระของหัวหน้าส่วน ราชการ ที่ไม่ต้องลงนามในหนังสือติดต่อ ราชการภายนอกทุกฉบับ โดยมอบหมายให้ ผู้ดำรงตำแหน่งที่ต่ำกว่าเป็นผู้ลงชื่อย่อกำกับ

4. หนังสือสั่งการ (1) คำสั่ง: บรรดาข้อความที่ผู้บังคับบัญชาสั่งการให้ปฏิบัติ โดยชอบด้วยกฎหมาย (2) ระเบียบ: บรรดาข้อความที่ผู้มีอำนาจหน้าที่ได้วางไว้ โดยอาศัยอำนาจของกฎหมายหรือไม่ก็ได้ เพื่อถือเป็น หลักปฏิบัติงานเป็นการประจำ (3) ข้อบังคับ: บรรดาข้อความที่ผู้มีอำนาจหน้าที่กำหนดให้ใช้ โดยอาศัยอำนาจของกฎหมายที่บัญญัติให้กระทำได้

5. หนังสือประชาสัมพันธ์ 1. ประกาศ : บรรดาข้อความที่ทางราชการประกาศ หรือชี้แจง ให้ทราบหรือแนะแนวทางปฏิบัติ 2. แถลงการณ์ : บรรดาข้อความที่ทางราชการแถลง เพื่อทำความเข้าใจ ในกิจการของทางราชการ หรือเหตุการณ์หรือกรณีใดๆ ให้ทราบชัดเจนโดยทั่วกัน 3. ข่าว : บรรดาข้อความที่ทางราชการเห็นสมควรเผยแพร่ให้ทราบ

6.หนังสือที่เจ้าหน้าที่ทำขึ้นหรือรับไว้เพื่อเป็นหลักฐานในราชการ 1. หนังสือรับรอง: หนังสือที่ส่วนราชการออกให้เพื่อรับรองแก่บุคคล นิติบุคคลหรือหน่วยงาน เพื่อวัตถุประสงค์อย่างหนึ่งอย่างใด ให้ปรากฏแก่บุคคลโดยทั่วไป ไม่จำเพาะเจาะจง 2. รายงานการประชุม: การบันทึกความคิดเห็นของผู้มาประชุม ผู้เข้าร่วมประชุม และมติของที่ประชุมไว้เป็นหลักฐาน 3. บันทึก : ข้อความซึ่งผู้ใต้บังคับบัญชาเสนอต่อผู้บังคับบัญชาหรือ ผู้บังคับบัญชาสั่งการแก่ผู้ใต้บังคับบัญชา หรือข้อความที่ เจ้าหน้าที่หรือหน่วยงานระดับต่ำกว่าส่วนราชการระดับกรม ติดต่อกันในการปฏิบัติราชการ 4. หนังสืออื่น: หนังสือหรือเอกสารอื่นใดที่เกิดขึ้นเนื่องจากการปฏิบัติงาน ของเจ้าหน้าที่เพื่อเป็นหลักฐานในราชการ โฉนด หลักฐานการ สืบสวนสอบสวนและคำร้อง เป็นต้น

หนังสือที่ต้องปฏิบัติให้เร็วกว่าปกติ แบ่งเป็น 3 ประเภท 1. หนังสือด่วนที่สุด: ให้เจ้าหน้าที่ปฏิบัติทันทีที่ได้รับหนังสือนั้น 2. หนังสือด่วนมาก: ให้เจ้าหน้าที่ปฏิบัติโดยเร็ว 3. หนังสือด่วน: ให้เจ้าหน้าที่ปฏิบัติเร็วกว่าปกติเท่าที่จะทำได้

ชั้นความลับของหนังสือ หนังสือราชการลับ ชั้นความลับของหนังสือ (๑) ลับที่สุด (T0P SECRET) (๒) ลับมาก (SECRET) (๓) ลับ (CONFIDENTIAL) (๔) ปกปิด (RESTRICTED)

การแสดงชั้นความลับ ให้ใช้ตัวอักษรที่มีขนาดใหญ่กว่าตัวอักษรธรรมดา โดยใช้สีแดงหรือสีอื่นที่สามารถมองเห็นได้เด่นและชัดเจน

พิมพ์ ว หน้าเลขทะเบียนหนังสือส่ง หนังสือเวียน มีใจความ อย่างเดียวกัน มีผู้รับจำนวนมาก พิมพ์ ว หน้าเลขทะเบียนหนังสือส่ง

การจัดทำหนังสือ ต้นฉบับ สำเนา สำเนาคู่ฉบับ ส่งไปยังผู้รับ สารบรรณกลาง เก็บไว้กับต้นเรื่อง

การรับรองสำเนา ให้ใช้คำว่า “สำเนาถูกต้อง” โดยเจ้าหน้าที่ตั้งแต่ระดับสองหรือเทียบเท่าขึ้นไปซึ่งเป็นเจ้าของเรื่อง ลงลายมือชื่อรับรอง พร้อมทั้งลงชื่อตัวบรรจงและตำแหน่ง และลงวันที่ เดือน พ.ศ. ที่ขอบล่างของหนังสือ ตัวอย่าง สำเนาถูกต้อง (ลงชื่อ) สุริยุ ปราคา (นายสุริยุ ปราคา) นักดาราศาสตร์ ๕ ๒ มกราคม ๒๕๕๑

การรับและการส่งหนังสือ การรับหนังสือ ส่วนตัว เจ้าของ หนังสือจาก ภายนอก แยกประเภท หนังสือรับ ตรวจสอบหนังสือ ที่รับเข้ามา หน่วยงาน ที่เกี่ยวข้อง ราชการ ลงทะเบียนรับ จัดลำดับความสำคัญ และเร่งด่วน ผ่านหรือไม่ผ่าน ผู้บังคับบัญชา เปิดซอง ตรวจเอกสาร ประทับตรา ไม่ลงทะเบียนรับ

แบบทะเบียนหนังสือรับ เอ ๔ ทะเบียนหนังสือรับ วันที่.....เดือน.........พ.ศ....... เลขทะเบียนรับ ที่ วันที่ จาก ถึง เรื่อง การปฏิบัติ หมายเหตุ ลำดับที่ ๔ แบบทะเบียนหนังสือส่ง ตามระเบียบข้อ ๔๓ (แบบที่ ๑๔) 23

ประทับตรารับหนังสือ เลขรับ มุมบนด้านขวา ของหนังสือ วันที่ เวลา แบบตรารับหนังสือ เวลา (ชื่อส่วนราชการ) เลขรับ.......................................... วันที่........................................... เวลา...........................................

ลงวันที่ เดือน ปี และเลขที่ การส่งหนังสือ บรรจุซอง หน่วยเจ้าของ เรื่องตรวจสอบ หน่วย สารบรรณกลาง ลงทะเบียนส่ง ลงวันที่ เดือน ปี และเลขที่ ทางไปรษณีย์ ตรวจสอบ ความเรียบร้อย ส่ง ผู้รับ พับยึดด้วย แถบกาว เย็บลวด สำเนาคู่ฉบับ และต้นเรื่อง เจ้าหน้าที่

แบบทะเบียนหนังสือส่ง เอ ๔ ทะเบียนหนังสือส่ง วันที่.....เดือน.........พ.ศ....... เลขทะเบียนส่ง ที่ วันที่ จาก ถึง เรื่อง การปฏิบัติ หมายเหตุ ลำดับที่ ๔ แบบทะเบียนหนังสือส่ง ตามระเบียบข้อ ๔๓ (แบบที่ ๑๔) 26

แบบใบรับหนังสือ แบบที่ ๑๗ (ตามระเบียบข้อ ๔๙) ชื่อผู้รับเขียนให้อ่านออก เอ ๘ ที่.............................ถึง......................... เรื่อง..................................................... รับวันที่...........................เวลา..............น. ผู้รับ..................................................... สมศักดิ์ สมศรี ชื่อผู้รับเขียนให้อ่านออก

การเก็บหนังสือแบ่งเป็น ๓ ประเภท เก็บระหว่างปฏิบัติ เก็บเมื่อปฏิบัติเสร็จแล้ว เก็บไว้เพื่อใช้ในการตรวจสอบ

เก็บระหว่างปฏิบัติ คือ การเก็บหนังสือที่ปฏิบัติยังไม่เสร็จให้อยู่ในความรับผิดชอบของเจ้าของเรื่องโดยให้กำหนดวิธีการเก็บให้เหมาะสมตามขั้นตอนของการปฏิบัติงาน

การเก็บเมื่อปฏิบัติเสร็จแล้ว คือ การเก็บเมื่อปฏิบัติเสร็จแล้ว คือ การเก็บหนังสือที่ปฏิบัติเสร็จเรียบร้อยแล้ว และไม่มีอะไรที่จะต้องปฏิบัติต่อไปอีก ให้เจ้าหน้าที่ของเจ้าของเรื่องปฏิบัติ ดังนี้ ๑. จัดทำบัญชีหนังสือส่งเก็บ (แบบที่ ๑๙) ๒. ส่งหนังสือและเรื่องปฏิบัติทั้งปวงที่เกี่ยวข้องกับหนังสือพร้อมบัญชีหนังสือส่งเก็บไปให้หน่วยเก็บกลางที่ส่วนราชการกำหนด

เก็บไว้เพื่อใช้ในการตรวจสอบ คือ การเก็บหนังสือที่ปฏิบัติเสร็จเรียบร้อยแล้ว แต่จำเป็นจะต้องใช้ในการตรวจสอบเป็นประจำ ไม่สะดวกในการส่งไปเก็บยังหน่วยเก็บของส่วนราชการ ให้เจ้าของเรื่องเก็บเป็นเอกเทศ โดยแต่งตั้งเจ้าหน้าที่ขึ้นรับผิดชอบก็ได้ เมื่อหมดความจำเป็นที่จะต้องใช้ในการตรวจสอบแล้ว ให้จัดส่งหนังสือนั้นไปยังหน่วยเก็บของส่วนราชการ

ข้อ ๕๗ วรรคสอง หนังสือเกี่ยวกับการเงิน ซึ่งเห็นว่าไม่มีความจำเป็นต้องเก็บไว้ถึง ๑๐ ปีหรือ ๕ ปี แล้วแต่กรณี ให้ทำความ- ตกลงกับกระทรวงการคลัง

เก็บไว้ไม่น้อยกว่า ๕ ปี เช่น สำเนาคู่ฉบับรับรองผลการศึกษา สำเนาหนังสือที่สารบรรณกลาง หน่วยงานเจ้าของเรื่องจัดทำหนังสือเผยแพร่ ประชาสัมพันธ์งานกุศล ใบลาพักผ่อนประจำปี สำเนาคู่ฉบับหนังสือรับรองข้าราชการ สำเนาหนังสือรับรองผลการศึกษา รายงานการอยู่เวร

เก็บไว้ไม่น้อยกว่า ๑๐ ปี เช่น ใบเสนอราคาที่ดำเนินการเสร็จสิ้นแล้ว ใบเบิกน้ำมันเชื้อเพลิง ใบสั่งของ ใบลากิจ ลาป่วย ใบลงเวลามาปฏิบัติราชการ ก.พ. ๗ และเอกสารเกี่ยวกับประวัติบุคคล (ปกติเก็บไว้ไม่น้อยกว่า ๑๐ ปี แต่กระทรวงการคลังขอความร่วมมือเก็บไว้จนกว่าผู้เกษียณอายุจะเสียชีวิต)

เก็บไว้ตลอดไป (เพื่อใช้อ้างอิงหรือเป็นหลักฐานประกอบสัญญา) เช่น เอกสารเกี่ยวกับการลาไปศึกษา ฝึกอบรม ดูงาน ปฏิบัติการวิจัยทั้งในประเทศและต่างประเทศ ผลการงานทางวิชาการเพื่อเลื่อนระดับ มาตรฐานการกำหนดตำแหน่ง

ห้ามทำลาย

เก็บถึง พ.ศ.๒๕๕๓

การรักษาหนังสือ หากชำรุดเสียหาย ให้อยู่ในสภาพใช้งาน ต้องรีบซ่อม ได้ทุกโอกาส การรักษาหนังสือ ชำรุดจนไม่สามารถซ่อมแซมได้ ให้รายงานผู้บังคับบัญชาทราบ และหมายเหตุไว้ในทะเบียน หากสูญหายต้องหา สำเนามาแทน ถ้าเป็นเอกสารสิทธิหรือหนังสือสำคัญ ที่เป็นการแสดงเอกสารสิทธิให้แจ้งความ ต่อพนักงานสอบสวน

การยืม การยืมหนังสือที่ส่งเก็บแล้ว 1. ผู้ยืมจะต้องแจ้งให้ทราบว่าเรื่องที่ยืมนั้น จะนำไปใช้ในราชการใด 2. ผู้ยืมจะต้องมอบหลักฐานการยืมให้เจ้าหน้าที่เก็บแล้วลงชื่อรับเรื่อง ที่ยืมไว้ในบัตรยืมหนังสือ 3. ให้เจ้าหน้าที่เก็บรวบรวมหลักฐานการยืม เรียงลำดับวัน เดือน ปี ไว้ เพื่อติดตามทวงถาม ส่วนบัตรยืมหนังสือนั้นให้เก็บไว้แทนที่หนังสือ ที่ถูกยืมไป 4. การยืมหนังสือระหว่างส่วนราชการ ผู้ยืมและผู้อนุญาตให้ยืม ต้องเป็นหัวหน้าส่วนราชการระดับกองขึ้นไป หรือผู้ที่ได้รับมอบหมาย 5. การยืมหนังสือภายในส่วนราชการเดียวกัน ผู้ยืมและผู้อนุญาตให้ยืม ต้องเป็นหัวหน้าส่วนราชการระดับแผนกขึ้นไป หรือผู้ได้รับมอบหมาย

การยืมหนังสือ ผู้ให้ยืม ผู้ยืม การยืมหนังสือ ผู้ให้ยืม ผู้ยืม ภายในส่วนราชการเดียวกัน หัวหน้าส่วนราชการระดับฝ่าย/ส่วน หัวหน้าส่วนราชการระดับฝ่าย/ส่วน หรือผู้ที่ได้รับมอบหมาย หรือผู้ที่ได้รับมอบหมาย ระหว่างส่วนราชการ หัวหน้าส่วนราชการระดับกอง หัวหน้าส่วนราชการระดับกอง การให้บุคคลภายนอกยืมหนังสือราชการจะกระทำไม่ได้เว้นแต่จะให้ดูหรือคัดลอกหนังสือ ทั้งนี้จะต้องได้รับอนุญาตจากหัวหน้าส่วนราชการระดับกอง

ขั้นตอนการทำลายหนังสือราชการ ๑ หน่วยเก็บสำรวจและจัดทำ บัญชีหนังสือของทำลาย ๑ เสนอแต่งตั้งคณะกรรมการทำลายหนังสือจากหัวหน้าส่วนราชการ

คณะกรรมการทำลายหนังสือพิจารณาหนังสือตามบัญชีหนังสือขอทำลาย ๒ คณะกรรมการทำลายหนังสือพิจารณาหนังสือตามบัญชีหนังสือขอทำลาย

หัวหน้าส่วน-ราชการระดับกรมพิจารณาหนังสือตามรายงานของคณะกรรมการ ๓ หนังสือที่ควร ทำลาย ทำลายหนังสือ โดย คณะกรรมการ รายงานผลการ ทำลายต่อหัวหน้า ส่วนราชระดับกรม หนังสือไม่ควร ทำลายให้ส่งไป เก็บไว้ที่.- ๑. หน่วยเก็บ ๒. ฝากเก็บไว้ที่ หอจดหมาย เหตุแห่งชาติ กรมศิลปากร หัวหน้าส่วน-ราชการระดับกรมพิจารณาหนังสือตามรายงานของคณะกรรมการ ๘ ๔,๗ ๙ ๕ ๖ หอจดหมายเหตุแห่งชาติพิจารณาให้ความเห็น ตามรายงานของหัวหน้าส่วนราชการระดับกรม

การตั้งคณะกรรมการทำลายหนังสือ หัวหน้าส่วนราชการระดับกรมหรือจังหวัดตั้งคณะกรรมการทำลายหนังสือประกอบด้วย.- ประธานกรรมการและกรรมการอีกอย่างน้อย ๒ คน โดยปกติให้ตั้งจากข้าราชการตั้งแต่ระดับ ๓ หรือเทียบเท่าขึ้นไป

ถ้าประธานกรรมการไม่สามารถปฏิบัติหน้าที่ได้ให้กรรมการที่มาประชุมเลือกกรรมการคนหนึ่งทำหน้าที่ประธาน มติของคณะกรรมการให้ถือเสียงข้างมาก กรรมการผู้ใดไม่เห็นด้วยให้ทำบันทึกความเห็นแย้งไว้

วิธีการทำลาย การทำลายหนังสือที่มีชั้นความลับ วิธีการเผา วิธีอื่นใดที่จะให้ไม่สามารถอ่านเป็นเรื่องได้ การทำลายหนังสือที่มีชั้นความลับ เผาแล้วขยี้ขี้เถ้าให้เป็นผง วิธีแปรรูปอย่างอื่น จนไม่สามารถทราบความลับในซากเอกสารนั้น

การเสนอหนังสือ

ยกเว้นกรณีดังต่อไปนี้ การเสนอหนังสือ ให้เสนอตามสายการปฏิบัติงาน ตามลำดับชั้นผู้บังคับบัญชา ยกเว้นกรณีดังต่อไปนี้ เรื่องที่มีกฎหมาย กฎ ข้อบังคับ ระเบียบ กำหนดไว้โดยเฉพาะ เช่น เรื่องร้องเรียน การกล่าวหา การอุทธรณ์คำสั่งต่อผู้บังคับบัญชาชั้นเหนือขึ้นไป เรื่องที่มีชั้นความเร็ว หรือเฉพาะเจาะจงถึงบุคคล ให้เสนอโดยตรงได้ แต่ต้องรายงานให้ผู้บังคับทราบ

เรื่องต้องพิจารณาก่อน - การจัดเรียง ให้เรียงลำดับขึ้นมา โดยเมื่อมีการบันทึกขึ้นมาใหม่ ให้เรียงซ้อนไว้ข้างหน้าเป็นลำดับ เมื่อเรื่องไปถึงผู้บังคับบัญชา ผู้บังคับบัญชาจะเห็นบันทึกของผู้บันทึกหลังสุดมาก่อน ส่วนผู้บันทึกคนแรกจะอยู่ล่างสุด(เพื่อผู้บังคับบัญชาจะได้เห็นบันทึกหลังสุดที่เป็นปัจจุบันสุดก่อน) เรื่องต้องพิจารณาก่อน เป็นฉบับสุดท้าย อยู่ด้านบน ๑

ถ้ามีผู้บันทึกหลายคน อาจกำกับเลข ๑ - ๒ - ๓ อยู่ภายในวงกลม เพื่อความสะดวกแก่ผู้บังคับบัญชาในการพิจารณาความเห็น ๑ ๓ เรียน...... ลงชื่อ..... เรียน...... ลงชื่อ..... ๒ ๔ เรียน...... ลงชื่อ..... เรียน...... ลงชื่อ.....

การขายกระดาษ มติคณะรัฐมนตรี ที่ สร ๐๒๐๓/ว๑๖๒ ลงวันที่ ๑๑ สิงหาคม ๒๕๒๔ เศษกระดาษที่ผ่านขั้นตอนการทำลายตามระเบียบ ยกเว้นเอกสารลับให้ขายเพื่อนำเงินส่งคลัง ส่วนกลาง ให้ขายโรงงานกระดาษ ส่วนภูมิภาค ให้ขายผู้ต้องการซื้อทั่วไป ไม่เกิน ๑๐,๐๐๐ กิโลกรัม โดยวิธีตกลงราคา เกิน ๑๐,๐๐๐ กิโลกรัม โดยวิธีประกวดราคา

กฎหมายว่าด้วยระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน การรักษาราชการแทน หมายถึง การปฏิบัติหน้าที่แทนผู้ดำรงตำแหน่งในกรณีที่ไม่มีผู้ดำรงตำแหน่ง หรือมีแต่ไม่สามารถปฏิบัติหน้าที่ได้ - การปฏิบัติราชการแทน หมายถึง การปฏิบัติหน้าที่แทนผู้ดำรงตำแหน่งตามที่ผู้ดำรงตำแหน่งมอบหมาย หรือมอบอำนาจ โดยผู้ดำรงตำแหน่งยังคงอยู่ปฏิบัติหน้าที่ของตนในเรื่องที่มิได้มอบหมายผู้ใด

พ.ร.บ. อบจ. พ.ศ. ๒๕๔๐ มาตรา ๓๕/๕ ในระหว่างที่ไม่มีนายก............................. ให้ปลัด...............................ปฏิบัติหน้าที่ของนายก................เท่าที่จำเป็นได้เป็นการชั่วคราว จนถึงวันประกาศผลการเลือกตั้งนายก................................. พ.ร.บ. สภาตำบลและองค์การบริหารส่วนตำบล พ.ศ. ๒๕๓๗ มาตรา ๖๔ วรรคท้าย พ.ร.บ. เทศบาล พ.ศ. ๒๔๙๖ มาตรา ๔๘ ปัญจทศ วรรคสอง

๒ ๑ ๓ ๔ ขอแสดงความนับถือ ขอแสดงความนับถือ (นาย............................) รองปลัดกระทรวงศึกษาธิการ ปฏิบัติราชการแทน ปลัดกระทรวงศึกษาธิการ ขอแสดงความนับถือ ๑ (นาย............................) ปลัดกระทรวงศึกษาธิการ ขอแสดงความนับถือ ๓ (นาย............................) รองปลัดกระทรวงศึกษาธิการ ปฏิบัติราชการแทน ปลัดกระทรวงศึกษาธิการ ขอแสดงความนับถือ ๔ (นาย............................) รองปลัดกระทรวงศึกษาธิการ ปฏิบัติราชการแทน ปลัดกระทรวงศึกษาธิการ

มาตรฐานตรา แบบพิมพ์ และซอง ตราครุฑสำหรับแบบพิมพ์ให้ใช้ตามแบบที่ ๒๖ ท้ายระเบียบ มี ๒ ขนาด คือ ๑. ขนาดตัวครุฑสูง ๓ เซนติเมตร ๒. ขนาดตัวครุฑสูง ๑.๕ เซนติเมตร

ตราชื่อส่วนราชการตามแบบที่ 27 1. มีวงกลมสองวงซ้อนกัน 2. เส้นผ่าศูนย์กลางวงนอก 4.5 เซนติเมตร วงใน 3.5 เซนติเมตร 3. ระหว่างวงมีอักษรไทยชื่อส่วนราชการ 4. ให้ภาษาไทยอยู่ขอบบนและโรมันอยู่ขอบล่าง

๔.๕ เซนติเมตร เส้นผ่าศูนย์กลาง ๓.๕ เซนติเมตร สำนักนายกรัฐมนตรี

มาตรฐานกระดาษ 1. มาตรฐานกระดาษ โดยปกติให้ใช้กระดาษปอนด์ขาว น้ำหนัก ๖๐ กรัม ต่อตารางเมตร มี ๓ ขนาด คือ - ขนาดเอ ๔ - ขนาดเอ ๕ - ขนาดเอ ๘

มาตรฐานซอง โดยปกติให้ใช้กระดาษสีขาวหรือสีน้ำตาล มี ๔ ขนาด คือ ๑. ขนาดซี ๔ (ไม่ต้องพับ) ๒. ขนาดซี ๕ (พับ 2) ๓. ขนาดซี ๖ (พับ 4) ๔. ขนาดดีแอล (พับ 3)

ซองมี ๔ ขนาด คือ ซี ๔ ซี ๕ ซี ๖ และดีแอล   คือ ซี ๔ ซี ๕ ซี ๖ และดีแอล - ให้พิมพ์ครุฑด้วยหมึกสีดำขนาด ๑.๕ ซม. ที่มุมบนด้านซ้ายของซอง - โดยปกติให้ใช้กระดาษสีขาว หรือสีน้ำตาล - น้ำหนัก ๘๐ กรัมต่อตารางเมตร - เว้นแต่ซองซี ๔ ให้ใช้กระดาษน้ำหนัก ๑๒๐ กรัมต่อตารางเมตร

ด่วนมาก เว้นว่างตลอดแนว ซองขนาด ซี ๖ ๔๐ มม. ๘๕ มม. ซองขนาด ซี ๖   ด่วนมาก ๔๐ มม. บริเวณสำหรับผนึกตราไปรษณียากร ตราชำระค่าฝากส่งเป็นรายเดือน หรือ ตราชำระค่าฝากส่งอื่น ๆ สำนักนายกรัฐมนตรี ทำเนียบรัฐบาล กรุงเทพมหานคร ๑๐๓๐๐ เรียน ปลัดกระทรวงมหาดไทย สำนักงานปลัดกระทรวงมหาดไทย กระทรวงมหาดไทย ถนนอัษฎางค์ กรุงเทพฯ ๑ ๐ ๒ ๐ ๐ ๑๑๐ มม. เว้นว่างตลอดแนว ๒๐ มม.

เว้นว่างตลอดแนว ๒๐ มม.

ด่วนมาก ลับมาก สำนักนายกรัฐมนตรี ทำเนียบรัฐบาล กรุงเทพมหานคร ๑๐๓๐๐   ด่วนมาก ลับมาก สำนักนายกรัฐมนตรี ทำเนียบรัฐบาล กรุงเทพมหานคร ๑๐๓๐๐ ที่ นร ๐๑๐๕/ เรียน ปลัดกระทรวงมหาดไทย สำนักงานปลัดกระทรวงมหาดไทย กระทรวงมหาดไทย ถนนอัษฎางค์ กรุงเทพฯ ๑ ๐ ๒ ๐ ๐

นิรันดร์ นิรันดร์ ลับมาก

สรุป ผู้ที่จะทำงานสารบรรณได้ดีจำเป็นต้องรู้งานธุรการด้วย เช่น การติดต่อ โต้ตอบและประสานงาน รู้จักความควรหรือไม่ควร มีความคล่องแคล่วว่องไว และต้องมีความรู้ ด้านภาษาไทยเป็นอย่างดี สามารถพิมพ์หนังสือได้