โครงการประชุมชี้แจงคณะกรรมการตรวจเยี่ยม การจัดการศึกษาระดับปริญญาเอกเชิงบูรณาการ ระบบพิชญพิจารณ์แบบมีส่วนร่วม ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2561.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
กองก่อสร้างโครงการย่อย กองก่อสร้างโครงการกลาง กองก่อสร้างโครงการใหญ่
Advertisements

การประชุมสัมมนาเครือข่ายการจัดการความรู้
การจัดทำแผนปฏิทินการจัดการความรู้ และแผนในการติดตามประเมินผลการจัดการความรู้ E:\ประกันคุณภาพ\ppt\ดูงาน\12-PPT_เสนอ_ครุศาสตร์_จุฬา_19_11_50.ppt.
ชุมชนนักปฏิบัติ CoP “ การปฏิบัติงานพัสดุไม่ ยากอย่างที่คิด ” เริ่มก่อตั้งแต่ปี
การออกแบบหน่วยการเรียนรู้แบบย้อนกลับ (Backward Design)
ชื่อเรื่อง : ศึกษาผลการจัดการเรียนรู้ ในรายวิชาการบัญชีบริหาร ด้วยวิธีการเรียนรู้แบบกลุ่มคละผลสัมฤทธิ์ STAD ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโดยใช้สถานการณ์จำลองการวางแผนงบประมาณในธุรกิจการผลิตเฟอร์นิเจอร์
KKU : แผนระยะยาว พ. ศ ( ) : แผนระยะกลาง ( พ. ศ ) ครึ่งแผนหลัง ( พ. ศ ) : แผนระยะกลาง 2020 ( พ. ศ.
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
วิธีการและเทคนิค การตรวจสอบ และการรายงาน ผลการตรวจสอบ ( Auditing )
การขัดเกลาทางสังคมซ้ำเพื่อสร้างพฤติกรรมการป้องกันการติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์ ของเยาวชนในศูนย์ฝึกและอบรมเด็กและเยาวชน ผู้วิจัย นภัสวรรณ บุญประเสริฐ หลักสูตรปริญญาศิลปศาสตรดุษฎี
กระบวนการถ่ายทอดความรู้
พยาบาลวิชาชีพชำนาญการพิเศษ
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
กลุ่ม 6 ผลการประชุมระดมความ คิดเห็น เพื่อกำหนดทิศทางก้าวใหม่ ในการให้บริการ : ฝึกอบรมนักวิทยาศาสตร์ ห้องปฏิบัติการ.
สำนักงานเลขานุการ สำนักวิทยบริการ. ยุทธศาสตร์ที่ 1 โครงการจัดหาวัสดุ ตำรา วารสาร ฐานข้อมูล เพื่อ ให้บริการในสำนักวิทยบริการ การพัฒนานำระบบ RFID มาใช้ในการจัดชั้น.
๑ ทศวรรษของ สถาบัน. ๑ ) ด้านการศึกษาวิจัยเพื่อพัฒนา บุคลากรด้านการพัฒนามนุษย์ ๒ ) ผลิตและเผยแพร่ความรู้ด้านการ พัฒนามนุษย์ ๓ ) บริการสาธิตและวิจัยโดยศูนย์พัฒนา.
ยินดีต้อนรับ คณะกรรมการประเมินคุณภาพ ภายใน หลักสูตร คณะ มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา.
ความคืบหน้า การจัดทำฐานข้อมูลด้าน ความมั่นคง ระเบียบวาระ ที่ ๓. ๑.
การขอมีหรือขอเลื่อนวิทยฐานะโดยใช้รางวัล สูงสุดระดับชาติ ตามหลักเกณฑ์ ว 13 / 2556 ดร. ชูชาติ ทรัพย์มาก ที่ปรึกษาด้านการบริหารงานบุคคลและนิติ การ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้น.
ข้อที่เกณฑ์การประเมินการดำเนินงาน ข้อ 1 พัฒนาแผนกลยุทธ์จากผลการวิเคราะห์ SWOT โดยเชื่อมโยงกับวิสัยทัศน์ของคณะและ สอดคล้องกับวิสัยทัศน์ของคณะ สถาบัน.
รายงานการ ดำเนินงาน ศูนย์แนะแนวต้นแบบประจำสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษามัธยมศึกษา รายงานการ ดำเนินงาน ศูนย์แนะแนวต้นแบบประจำสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษามัธยมศึกษา.
มาตรฐานที่ ๓ ผลการบริหารและ การจัดการศึกษาของ สำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษา ผลการบริหารและ การจัดการศึกษาของ สำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษา.
กรอบมาตรฐานคุณวุฒิ ระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ Thai Qualifications Framework for Higher Education for Higher Education TQF : HEd TQF : HEd Thai Qualifications.
เกณฑ์การประเมินเพื่อ เลื่อนระดับสูงขึ้น
แผนยุทธศาสตร์การคุ้มครองผู้บริโภคแห่งชาติ ฉบับที่ 1 (พ.ศ )
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
ระบบ ISO 9001:2015 สำหรับธุรกิจบริหารจัดการเรือ
มาตรฐานระบบการบริหารงานคุณภาพ
Strategy Map สำนักงานสรรพากรพื้นที่กรุงเทพมหานคร12
100 ตำบลต้นแบบในการบูรณาการ ด้านส่งเสริมสุขภาพ 5 กลุ่มวัย และอนามัยสิ่งแวดล้อม โดย กรมอนามัย.
เรื่องที่ประธานแจ้งให้ที่ประชุมทราบ
แนวทางการปฏิบัติงานตามข้อสั่งการ ของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
งาน Road Map ศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตรปี 2560
กรณีศึกษา : นักเรียน ระดับ ปวช.2 สาขาวิชาการบัญชี
กรอบอัตรากำลังของบุคลากรทางการศึกษาอื่นตามมาตรา 38 ค. (2)
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
การประเมินผลสัมฤทธิ์ของโครงการ
ระเบียบวาระที่ 3 เรื่องเพื่อทราบ
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา
วาระที่ 3.4 แนวทางการปฏิบัติงานโครงการตามนโยบาย กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
วิทยาลัยเทคโนโลยี ดอนบอสโกสุราษฎร์
แนวทางปฏิบัติ กรมป่าไม้
การบริหารงานประชาสัมพันธ์ของจังหวัด : การประชาสัมพันธ์และการจัดการสื่อ
ปัญหาอุปสรรค และข้อเสนอแนะ และแนวทางแก้ไข ของกองวิจัยและพัฒนาข้าว
เกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา และแนวทางการบริหารเกณฑ์ฯ
ผลงานทางวิชาการ ความหมาย ลักษณะ ประเภท
การพัฒนาระบบการประเมิน และการประกันคุณภาพการศึกษา
สุภารัตน์ วังศรีคูณ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
KMA หมวด 6 การจัดการกระบวนการ.
วาระการประชุมคณะกรรมการกำกับดูแลองค์การที่ดี สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์สาธารณสุข ครั้งที่ ๑/๒๕๖๐ วันพฤหัสบดีที่ ๓ พฤศจิกายน ๒๕๕๙ เวลา ๐๙.๓๐ – ๑๒.๐๐ ณ.
โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการใช้จ่ายงบประมาณและการดำเนินงานของสถาบันอุดมศึกษา ประจำปีงบประมาณ พ.ศ มีนาคม 2560.
โครงการจัดทำระบบฐานข้อมูล วัตถุเสพติดของกลาง (ระยะที่1)
ณ ห้องประชุมกำธร สุวรรณกิจ
ปี 2560 ปฏิทินการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส
สัมมนาเชิงปฏิบัติการหลักสูตรการฝึกยกระดับฝีมือแรงงาน
ความหมาย ความสำคัญ และจุดมุ่งหมายของการศึกษา
งานแนะแนว กับระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน
ประวัติวิทยากร ปริญญาเอก ศึกษาศาสตร์ดุษฎีบัณฑิต ดร.วัชรศักดิ์ สงค์ปาน
มุ่งเน้น การประเมินระดับการดำเนินงาน “หน่วยงานคุณธรรม”
เราคือ ‘One PPG’ We protect and beautify the world วัตถุประสงค์ของเรา
การทำวิทยฐานะ แนวทางใหม่
การเข้าสู่ตำแหน่งที่สูงขึ้น
สำนักวิชาสหเวชศาสตร์และสาธารณสุขศาสตร์
โครงการยกระดับคุณภาพผู้เรียน ในการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ (NT/O-NET)
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา Self – Assessment Report
โครงการพัฒนาคุณภาพการศึกษาและการพัฒนาท้องถิ่นโดยมีสถาบันอุดมศึกษาเป็นพี่เลี้ยง (TOR) คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม . . ฝ่ายวิชาการ . .
นพ.อภิศักดิ์ วิทยานุกูลลักษณ์ รพ.ธัญญารักษ์เชียงใหม่ กรมการแพทย์
การจัดการภาครัฐ และภาคเอกชน Public and private management
เอกสาร/หลักฐาน/ ร่องรอย เพื่อ จัดเก็บใน 13 แฟ้ม
ใบสำเนางานนำเสนอ:

โครงการประชุมชี้แจงคณะกรรมการตรวจเยี่ยม การจัดการศึกษาระดับปริญญาเอกเชิงบูรณาการ ระบบพิชญพิจารณ์แบบมีส่วนร่วม ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2561

โดย ศาสตราจารย์กิตติคุณสมหวัง พิธิยานุวัฒน์ การตรวจเยี่ยมการจัดการศึกษาระดับปริญญาเอกเชิงบูรณาการ ระบบพิชญพิจารณ์แบบมีส่วนร่วม โดย ศาสตราจารย์กิตติคุณสมหวัง พิธิยานุวัฒน์ (ประธานคณะอนุกรรมการทำงานติดตามและประเมินผลการจัดการศึกษาระดับปริญญาเอก)

ระบบพิชญพิจารณ์แบบมีส่วนร่วม (Participatory Peer Review : PPR) กรรมการ (ผู้แทนจากสถาบันอุดมศึกษา) ประธานกรรมการ แต่งตั้งจากผู้แทนคณะกรรมการการอุดมศึกษาและอนุกรรมการที่เกี่ยวข้อง ผู้แทนจากสถาบันอุดมศึกษาหรือคณบดีบัณฑิตวิทยาลัยหรือผู้แทนสาขาวิชาที่เกี่ยวข้อง P P R R LOREM IPSUM กรรมการ (ผู้ประเมิน IQA) กรรมการ (ผู้ทรงคุณวุฒิสาขาวิชา) เป็นบุคคลภายนอกสถาบันอุดมศึกษาที่มีคุณวุฒิปริญญาเอกหรือเทียบเท่าที่ตรงกับสาขาวิชา และมีประสบการณ์ เป็นผู้ที่ขึ้นทะเบียนผู้ประเมินคุณภาพการศึกษาภายในระดับหลักสูตรของสกอ.ซึ่งเป็นบุคคลภายนอกสถาบัน บูรณาการการตรวจเยี่ยมกับ การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน

ระบบการติดตามตรวจสอบและประเมินผลการจัดการศึกษาระดับปริญญาเอก ระบบที่ 1 การตรวจสอบ ระบบที่ 2 การติดตาม ตรวจสอบความสอดคล้องของหลักสูตรตามเกณฑ์มาตรฐานฯ โดยกลไกการตรวจเยี่ยม 2 กลไก คือ 1. กลไกการรายงานการประเมินตนเอง 2. กลไกการตรวจเยี่ยม เพื่อให้ข้อเสนอแนะเชิงพัฒนา ไม่มีผลการตัดสินว่า “ผ่าน” หรือ “ไม่ผ่าน” ระบบการติดตาม ตรวจสอบและ ประเมินผล 1 2 ระบบที่ 3 การประเมินผล ระบบที่ 4 การวิจัยเพื่อพัฒนา การรายงานผลการจัดการศึกษาในภาพรวม/สาขา จ้างเหมาบริการในหัวข้อที่กำหนดเพื่อเป็นการประเมินประสิทธิผลการจัดการศึกษาระดับปริญญาเอก เปิดกว้างในการทำการวิจัย โดยการจ้างเหมาบริการ หรือ การจัดจ้างที่ปรึกษา ใช้ประโยชน์จากผลการวิจัยเพื่อกำหนดนโยบายและปรับทิศทางในการจัดการศึกษาระดับปริญญาเอก 3 4 กกอ.พิจารณาผลของทุกระบบเพื่อเป็นแนวทางในการกำหนดนโยบาย/ ทิศทางการจัดการศึกษาระดับปริญญาเอก

ขอบเขตการติดตามตรวจเยี่ยมการจัดการศึกษาระดับปริญญาเอก ระยะที่ 1 (ปีงบประมาณ พ.ศ.2559-2560) ระยะที่ 2 (ปีงบประมาณ พ.ศ. 2561) ระยะที่ 3 (ปีงบประมาณ พ.ศ. 2562) เป็นหลักสูตรที่มีประเด็นเรื่องคุณภาพมาตรฐาน หรือ มีข้อร้องเรียนเกี่ยวกับการจัดการศึกษาที่ไม่มีคุณภาพ ปี พ.ศ.2559 เป็นหลักสูตรในสาขาวิชาบริหารการศึกษาและสาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ ที่มีผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายในระดับหลักสูตร องค์ประกอบที่ 2 และ 4 “ต้องปรับปรุง”และ “พอใช้” ปี พ.ศ.2559 เป็นหลักสูตรในสาขาวิชาบริหารการศึกษาและสาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ ที่มีผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายในระดับหลักสูตร องค์ประกอบที่ 1 การกำกับมาตรฐาน “ไม่ผ่าน” เป็นหลักสูตรในสาขาวิชาบริหารการศึกษาและสาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ต่อเนื่องจากระยะที่ 1 ที่มีผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายในระดับหลักสูตร องค์ประกอบที่ 1 การกำกับมาตรฐาน “ไม่ผ่าน” เป็นหลักสูตรในสายสังคมศาสตร์ อาทิ สาขาวิชารัฐศาสตร์ สาขาวิชานิติศาสตร์ และสาขาวิชาบริหารธุรกิจที่มีผลการประเมินIQA ระดับหลักสูตร องค์ประกอบที่ 1 การกำกับมาตรฐาน “ไม่ผ่าน” เป็นหลักสูตรสาขาวิชาอื่นๆ ที่มีผลการประเมิน IQA ระดับหลักสูตร องค์ประกอบที่ 1 การกำกับมาตรฐาน “ไม่ผ่าน” หลักสูตรที่มีผลการประเมินในภาพรวมต่ำกว่าระดับคะแนน 3.01 เป็นหลักสูตรที่มีผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายในระดับหลักสูตร องค์ประกอบที่ 1 การกำกับมาตรฐาน “ไม่ผ่าน” หรือ “ผ่าน” 3 1 2

15 สถาบัน 2 วิทยาเขต 37 หลักสูตร จัดการศึกษาไม่สอดคล้องตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรฯ จำนวน 29 หลักสูตร ผลการตรวจเยี่ยม ระยะที่ 1 54% 46% i ปี 2559 6 สถาบัน 17 หลักสูตร ii ปี 2560 15 สถาบัน 2 วิทยาเขต 37 หลักสูตร iii รวมทั้งหมด 22 สถาบัน 2 วิทยาเขต 54 หลักสูตร จัดการศึกษาสอดคล้องตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรฯ จำนวน 25 หลักสูตร

จำแนกตามสาขาวิชา ผลการตรวจเยี่ยม ระยะที่ 1 หลักสูตรปริญญาเอก สาขา สาขาบริหารการศึกษา สาขา รัฐประศาสนศาสตร์ สาขาอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง หลักสูตรปริญญาเอก โครงการตรวจเยี่ยมการจัดการศึกษาระดับปริญญาเอกเชิงบูรณาการระบบพิชญพิจารณ์แบบมีส่วนร่วมของสถาบันอุดมศึกษา ระยะที่ 1 ปีงบประมาณ พ.ศ.2559-2560

จำแนกตามสาขาวิชา ผลการตรวจเยี่ยม ระยะที่ 1 หลักสูตรปริญญาโท สาขา สาขาบริหารการศึกษา สาขา รัฐประศาสนศาสตร์ สาขาอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง หลักสูตรปริญญาโท โครงการตรวจเยี่ยมการจัดการศึกษาระดับปริญญาเอกเชิงบูรณาการระบบพิชญพิจารณ์แบบมีส่วนร่วมของสถาบันอุดมศึกษา ระยะที่ 1 ปีงบประมาณ พ.ศ.2559-2560

ประเด็นการตรวจเยี่ยม 17.สิ่งอำนวยความสะดวกและสนับสนุนงานวิจัยของผู้เรียน 15.การประเมินคุณภาพการจัดการศึกษาของหลักสูตร 5.อาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์หลัก 16.การดำเนินการให้เป็นไป ตามตัวบ่งชี้ตามกรอบ TQF 6.อาจารย์ที่ปรึกษา วิทยานิพน์ร่วม ประเด็นการตรวจเยี่ยม 8.ผลงานวิจัยของอาจารย์ 2.อาจารย์ประจำหลักสูตร 18.การประกันคุณภาพระดับหลักสูตร 3.อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร 14.คุณภาพวิทยานิพนธ์ของนักศึกษา 4.อาจาย์ผู้สอน/อาจารย์พิเศษ 7.อาจารย์ผู้สอบวิทยานิพนธ์ 12.การสำเร็จการศึกษา 9.การจัดการเรียนการสอน 11.การวัดและการประเมินผล 1.การรับนักศึกษา 13.กระบวนการจัดทำวิทยานิพนธ์ 10.การเทียบโอนผลการเรียน

ประเด็นที่พบปัญหา อาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์หลัก ประสบการณ์ด้านการสอน และการวิจัย คุณวุฒิการศึกษา สัดส่วนไม่เป็นไปตามเกณฑ์ อาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์หลัก ไม่มีตำแหน่งทางวิชาการ สำเร็จการศึกษาตรี/โท ไม่ตรงหรือสัมพันธ์กับปริญญาเอก นับสัดสวนต่อเมื่อนักศึกษาลงทะเบียนเรียนแล้ว (ทั้งปริญญาเอกและโท) อาจารย์ซ้ำซ้อนกับสาขาวิชาอื่นหรือ ระดับปริญญาโท ผลงานวิจัยไม่สร้างองค์ความรู้ใหม่ / ไม่ได้ตีพิมพ์เผยแพร่ระดับชาติ/นานาชาติ รับนักศึกษา เกินแผน

ประเด็นที่พบปัญหา อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรและ อาจารย์ประจำหลักสูตร ประสบการณ์ด้านการสอนและการวิจัย คุณวุฒิการศึกษา จำนวนอาจารย์ไม่ครบถ้วน อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรและ อาจารย์ประจำหลักสูตร inbreeding ไม่มีตำแหน่งทางวิชาการ สำเร็จการศึกษาตรี/โท ไม่ตรงหรือสัมพันธ์กับปริญญาเอก สัญญาจ้างแบบปีต่อปี อาจารย์ซ้ำซ้อนกับสาขาวิชาอื่นหรือ ระดับปริญญาโท ผลงานวิจัยไม่สร้างองค์ความรู้ใหม่ / ไม่ได้ตีพิมพ์เผยแพร่ระดับชาติ/นานาชาติ/ ไม่สัมพันธ์กับสาขาวิชา มีรายชื่อเป็นอาจารย์ประจำหลักสูตร แต่ไม่ได้ทำหน้าที่

ประเด็นที่พบปัญหา อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร อาจารย์ประจำหลักสูตร ประสบการณ์ด้านการสอนและการวิจัย คุณวุฒิการศึกษา จำนวนอาจารย์ไม่ครบถ้วน อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร อาจารย์ประจำหลักสูตร และอาจารย์ผู้สอน inbreeding ไม่มีตำแหน่งทางวิชาการ สำเร็จการศึกษาตรี/โท ไม่ตรงหรือสัมพันธ์กับปริญญาเอก สัญญาจ้างแบบปีต่อปี ผลงานวิจัยไม่สร้างองค์ความรู้ใหม่ / ไม่ได้ตีพิมพ์เผยแพร่ระดับชาติ/นานาชาติ มีรายชื่อเป็นอาจารย์ประจำหลักสูตร แต่ไม่ได้ทำหน้าที่

ประเด็นที่พบปัญหา อาจารย์ผู้สอบและ อาจารย์ที่ปรึกษาร่วม ประสบการณ์ด้านการวิจัย ตำแหน่งทางวิชาการ คุณวุฒิการศึกษา อาจารย์ผู้สอบและ อาจารย์ที่ปรึกษาร่วม ผลงานวิจัยไม่สร้างองค์ความรู้ใหม่ / ไม่ได้ตีพิมพ์เผยแพร่ระดับชาติ/นานาชาติ มีตำแหนงทางวิชาการ ไม่สัมพันธ์กับสาขาวิชา/ ไม่มีตำแหน่งทางวิชาการ คุณวุฒิไม่ตรงหรือสัมพันธ์กับสาขาวิชา

ประเด็นที่พบปัญหา การรับนักศึกษา ไม่ได้เข้มงวดกับการกำหนดเกณฑ์ภาษาอังกฤษ จำนวนรับนักศึกษาไม่เป็นตามแผน การกำหนดคุณสมบัติในการรับนักศึกษา การรับนักศึกษา ส่วนใหญ่สถาบันออกข้อสอบภาษาอังกฤษเอง รับนักศึกษาเกินกว่าแผน รับผู้สำเร็จการศึกษาจากทุกสาขาวิชา กำหนดเกณฑ์ในการคัดเลือกนักศึกษาแบบ 1 ไม่ชัดเจน ไม่มีประสบการณ์ในสาขาวิชาที่สมัคร เทียบโอนนักศึกษาที่ครบกำหนดระยะเวลาเรียน 6 ปีเข้ามาเป็นนักศึกษาใหม่ ไม่มีผลงานวิจัยที่เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาระดับปริญญาตรีหรือโท

ประเด็นที่พบปัญหา คุณภาพวิทยานิพนธ์ของนักศึกษา ดุษฎีนิพนธ์ขาดความลุ่มลึก /ไม่สะท้อนองค์ความรู้ ไม่มีความแตกต่างระหว่าง ดุษฎีนิพนธ์เชิงวิชาการ และ เชิงวิชาชีพ ไม่ได้รับการตีพิมพ์เผยแพร่ในวารสารระดับชาติและนานาชาติที่เป็นที่ยอมรับ ส่วนใหญ่เป็นงานวิจัยเชิงสำรวจ คุณภาพวิทยานิพนธ์ของนักศึกษา กำหนดปรัชญาและวัตถุประสงค์ การออกแบบหลักสูตร การจัดการเรียนการสอน และสมรรถนะนักศึกษาไม่ชัดเจน เป็นผลงานในรูปแบบ proceedings ที่นำเสนอในที่ประชุมวิชาการ ขาดความสามารถในการปริทัศน์งานวรรณกรรมต่างประเทศ ตีพิมพ์ในวารสารมหาวิทยาลัยตนเอง/กลุ่มเครือข่ายสถาบันตนเอง ไม่ได้กำหนดระดับความแคบกว้างของงานวิจัย

ข้อเสนอแนะจากการตรวจเยี่ยมฯ ระยะที่ 1 ความสอดคล้องกันระหว่างระบบมาตรฐานการประกันคุณภาพการศึกษาภายในและกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษา มุ่งเน้นคุณภาพมาตรฐานในระดับหลักสูตรเป็นสำคัญ การควบคุมคุณภาพอาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์และอาจารย์ผู้สอบวิทยานิพนธ์ มีกลไกในการควบคุมคุณภาพมาตรฐานของอาจารย์ ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์และอาจารย์ผู้สอบวิทยานิพนธ์ให้มี ฐานการวิจัยที่เข้มแข็ง 03 01 04 02 05 06 การจัดการเรียนการสอน ต้องสอดคล้องตามปรัชญา พันธกิจ และวัตถุประสงค์ของสถาบัน หลักสูตร ปริญญาที่ได้รับ และาประเภทกลุ่มสถาบันเพื่อกำหนดทิศทางกำกับคุณภาพผลผลิต การเชื่อมโยงระบบการตรวจเยี่ยมกับ การลงพื้นที่เพื่อตรวจสอบข้อเท็จจริง เชื่อมโยงของระบบการตรวจเยี่ยมกับการลงพื้นที่เพื่อตรวจสอบข้อเท็จจริงของสถาบันอุดมศึกษาที่มีกรณีร้องเรียนเพื่อให้การดำเนินงานรวดเร็วและมีประสิทธิภาพมากขึ้น © Copyright PresentationGo.com – The free PowerPoint template library การเปิดหลักสูตร ควรคำนึงถึงความจำเป็นและความพร้อมในการเปิดหลักสูตร ที่สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติ การสร้างเครือข่ายแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ส่งเสริมและสนับสนุนให้มีการประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้แนวคิดและแนวปฏิบัติของสถาบันอุดมศึกษาที่เป็นแบบอย่าง ที่ดี และเผยแพร่การเรียนรู้ให้กับสถาบันอุดมศึกษาทั่วประเทศ

ข้อเสนอแนะจากโครงการวิจัย ที่ดำเนินการจ้างที่ปรึกษาฯ จำนวน 3 เรื่อง 7 กำหนดให้มีกรรมการสอบวิทยานิพนธ์ภายนอกจากบัญชีรายชื่อของ สกอ. 6 ควรแยกให้ชัดเจนระหว่างหลักสูตร Professional Doctorate กับ Ph.D. 5 เน้นตรวจสอบผลผลิต (Output) โดยผู้เชี่ยวชาญที่เป็นที่ยอมรับในสาขาวิชานั้น และพิจารณาคุณภาพของการจัดการศึกษาปริญญาเอกจาก output/outcome ของดุษฎีนิพนธ์ 4 ให้การสนับสนุนงบประมาณพิเศษและ/หรือความช่วยเหลืออื่น ๆ แก่สถาบันการศึกษาที่จัดหลักสูตรระดับปริญญาเอกในสาขาที่มีความพร้อมและไม่มุ่งหวังผลเชิงพาณิชย์ 3 ส่งเสริม สนับสนุนการจัดให้มีการรวมกลุ่มเพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องอย่างทั่วถึง 2 กำหนดนโยบายในการส่งเสริมสนับสนุนหลักสูตรที่มีคุณภาพสูง และกำหนดมาตรการ/แนวทางในการปิดหรือพัฒนาหลักสูตรที่ยังมีคุณภาพไม่ดีพอ 1 กำหนดทิศทางการจัดการศึกษาระดับปริญญาเอกของประเทศที่ตอบสนองความต้องการเฉพาะด้านตามนโยบายของรัฐบาลและแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ

ข้อเสนอแนะที่ได้จากการประชุมสัมมนาฯ ควบคุมภาพจากส่วนกลาง (centralization) เพื่อให้เกิดความชัดเจนในการกำหนดทิศทางความต้องการกำลังคนของประเทศควรบริหารจัดการควบคุมภาพจากส่วนกลาง การคัดเลือกนักศึกษา คัดเลือกนักศึกษาที่มีความพร้อมโดยรัฐบาลต้องให้ทุนสนับสนุนการศึกษาต่อในระดับปริญญาเอก 08 01 จัดทำกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับปริญญาเอก ควรกำหนดสมรรถนะของนักศึกษาระดับปริญญาเอกให้มีความชัดเจนเป็นรูปธรรมมากยิ่งขึ้น พร้อมทั้งส่งเสริม/สนับสนุนให้สถาบันอุดมศึกษาที่มีบริบทที่แตกต่างกันพัฒนาไปพร้อม ๆ กัน การสอบวิทยานิพนธ์ระบบเปิด ควรกำหนดแนวทางในการตรวจสอบกระบวนการสอบวิทยานิพนธ์ระบบเปิดให้ผู้สนใจเข้ารับฟัง และตรวจสอบความซ้ำซ้อนกันของผลงานดุษฎีนิพนธ์นักศึกษา 07 02 06 03 การพัฒนานักศึกษา ควรเปิดโอกาสให้นักศึกษาได้มีโอกาสร่วมทำงานวิจัยกับอาจารย์ที่ปรึกษาเพ่าอพัฒนาให้นักศึกษามี องค์ความรู้ในการวิจัยที่เข้มแข็ง ทบทวนการจัดกลุ่มสถาบันอุดมศึกษา ควรทบทวนการจัดกลุ่มสถาบันอุดมศึกษาให้ตรงตามบริบทและศักยภาพของแต่ละสถาบัน © Copyright PresentationGO.com – The free PowerPoint template library 05 04 คุณภาพอาจารย์ ควรพิจารณาคุณวุฒิที่อาจารย์สำเร็จการศึกษาในระดับปริญญาตรีถึงระดับปริญญาเอก ความสามารถ ประสบการณ์ ผลงานวิจัย และการตีพิมพ์เผยแพร่ผลงานวิจัย สำหรับอาจารย์ที่เพิ่งสำเร็จการศึกษา ควรได้ทำงานวิจัยร่วมกับอาจารย์ที่มีประสบการณ์ ก่อนการทำหน้าที่เป็นอาจารย์ที่ปรึกษา การเชื่อมโยงระบบการติดตามมาตรฐานหลักสูตร และระบบ IQA เชื่อมโยงระบบการติดตามมาตรฐานหลักสูตร และระบบ IQA ให้สอดคล้องและเป็นทิศทางเดียวกัน อุดมศึกษา

3 ประเด็นที่ควรให้ความสำคัญ คุณภาพอาจารย์ ทั้งในเชิงปริมาณ (จำนวนอาจารย์) และเชิงคุณภาพ (คุณวุฒิ ประสบการณ์สอน การวิจัย และผลงานวิจัย)ของอาจารย์ประจำหลักสูตร อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร อาจารย์ผู้สอน อาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ และอาจารย์ผู้สอบวิทยานิพนธ์ คุณภาพดุษฎีบัณฑิต เริ่มต้นตั้งแต่กระบวนการรับนักศึกษา การกำหนดเกณฑ์การทดสอบภาษาอังกฤษที่ไม่ได้เข้มงวดเป็นปัจจัยหนึ่งที่ส่งผลต่อคุณภาพของดุษฎีนิพนธ์และการตีพิมพ์เผยแพร่ผลงานวิทยานิพนธ์ในระดับนานาชาติ รวมทั้ง จำนวนรับนักศึกษาที่ไม่สอดคล้องตามแผน ซึ่งส่งผลกระทบต่อสัดส่วนของอาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ คุณภาพดุษฎีนิพนธ์ ดุษฎีนิพนธ์ส่วนใหญ่เป็นงานวิจัยเชิงสำรวจ การปริทัศน์งานวรรณกรรมยังไม่เชื่อมโยงไปสู่กรอบคิดวิธีวิทยาการวิจัย หรือ ทฤษฎีใหม่ จึงส่งผลให้ดุษฎีนิพนธ์ขาดความลุ่มลึกไม่สะท้อนให้เห็นถึงองค์ความรู้ใหม่ที่ค้นพบ หรือ องค์ความรู้ที่แตกต่างจากเดิม หรือ ไม่สามารถต่อยอดจากองค์ความรู้เดิมที่มีอยู่ หรือ นำไปสู่การเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้น หรือ นำไปสู่ความเข้าใจในปรากฎการณ์ต่าง ๆ ในระดับที่ลึกซึ้งยิ่งขึ้น ตลอดจนผลงานวิจัยของนักศึกษา ส่วนใหญ่มักจะตีพิมพ์เผยแพร่ในวารสารของมหาวิทยาลัยตนเอง ไม่ได้เผยแพร่ในฐานข้อมูลระดับนานาชาติ © Copyright PresentationGo.com – The free PowerPoint template library

QR CODE เอกสารประกอบการประชุม