ปฏิรูปการเรียนรู้ ครูและผู้เรียน ด้วย Active Learning PLC และการนิเทศ S W 3 By Dr.Wittaya and Dr.Jira โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล
การเรียนรู้เชิงรุก Active Learning
Active Learning คืออะไร กระบวนการเรียนรู้ ถือเป็นปัจจัยสำคัญอย่างยิ่งต่อการพัฒนา ผู้เรียนให้มีทักษะชีวิตและสามารถเอาตัวรอดได้ในสังคม Active Learning คือ การจัดการเรียนรู้ที่เปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้ (1) อภิปรายกลุ่ม (ทำงานกลุ่มและมีการอภิปรายลงข้อสรุป) (2) ลงมือปฏิบัติ (ทำชิ้นงานบางอย่าง) (3) นำเสนอผลงาน (สื่อสารให้ผู้อื่นเข้าใจได้) (4) วิจัยค้นคว้าพัฒนาได้เอง (ต่อยอดเป็นโครงงานหรือสร้างนวัตกรรม)
การเรียนรู้ที่ ผู้เรียนได้ลงมือทำและคิด ในสิ่งที่ทำ การเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) การเรียนรู้ที่ ผู้เรียนได้ลงมือทำและคิด ในสิ่งที่ทำ Inquiry Process (5 Es) Cooperative Learning ProbLem-Based Learning Research-Based Learning Visual-Based Learning STEM Education , etc. http://www.oid.ucla.edu/about/units/tatp/old/lounge/pedagogy/downloads/active-learning-eric.pdf
กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ (5 Es) กระตุ้นความสนใจ Engagement ประเมิน Evaluation สำรวจ/ค้นหา Exploration วงจรการสืบเสาะ Inquiry cycle เพิ่มรายละเอียด Elaboration อธิบาย Explanation http://www.growinginthegarden.org/results.html
การเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน Problem-Based Learning (PBL) 1. เสนอปัญหา (Introduce Problem) http://www.vcu.edu/cte/resources/nfrg/11_07_problem_based_learning.htm
การเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน Problem-Based Learning (PBL) 2. อ่านอย่างมีวิจารณญาณ (Critical Reading) http://www.vcu.edu/cte/resources/nfrg/11_07_problem_based_learning.htm
การเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน Problem-Based Learning (PBL) 3. อภิปรายกลุ่ม (Group Discussion) 3.1 คิดค้นคำตอบ 3.2 เสนอเค้าโครง/แนวคิด 3.3 กำหนดบทบาทกลุ่ม http://www.vcu.edu/cte/resources/nfrg/11_07_problem_based_learning.htm
การเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน Problem-Based Learning (PBL) 4. เสนอคำตอบต่อกลุ่ม (Propose Solution) http://www.vcu.edu/cte/resources/nfrg/11_07_problem_based_learning.htm
การเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน Problem-Based Learning (PBL) 5. สร้างชิ้นงานกลุ่ม (Group Product) http://www.vcu.edu/cte/resources/nfrg/11_07_problem_based_learning.htm
การเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน Problem-Based Learning (PBL) 6. เสนอผลงานกลุ่ม (Present solution) http://www.vcu.edu/cte/resources/nfrg/11_07_problem_based_learning.htm
การเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน Problem-Based Learning (PBL) 7. ไตร่ตรองร่วมกันทั้งห้อง (Class Reflection) 7.1 อภิปรายกลั่นกรอง 7.2 สังเคราะห์การเรียนรู้ 7.3 ประเมินเพื่อน/ตนเอง http://www.vcu.edu/cte/resources/nfrg/11_07_problem_based_learning.htm
การเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน Problem-Based Learning (PBL) 8. ประเมินผลการเรียนรู้ (Evaluate Learning) http://www.vcu.edu/cte/resources/nfrg/11_07_problem_based_learning.htm
STAD (Student Teams-Achievement Divisions) การเรียนรู้แบบร่วมมือ (Cooperative Learning) Group Investigation STAD (Student Teams-Achievement Divisions) Think-Pair-Share Jigsaw etc. http://www.worksheetlibrary.com/teachingtips/cooplearning.html
การเรียนรู้โดยใช้การวิจัยเป็นฐาน Research-Based Learning (RBL) โครงการสร้างวัฒนธรรมการวิจัยของ สพฐ. กำหนดขั้นตอนสำคัญของการจัดการเรียนรู้โดยนักเรียนใช้กระบวนการวิจัย ดังนี้ ตั้งคำถาม (Question) เตรียมการค้นหาคำตอบ (Plan) ดำเนินการค้นหาและตรวจสอบคำตอบ (Action, Observation and Reflection) สรุปและนำเสนอผลการค้นหา (Conclusion and presentation) http://www.research-culture.net/
การเรียนรู้จากการทำโครงงาน การเรียนรู้โดยใช้การวิจัยเป็นฐาน Research-Based Learning (RBL) การเรียนรู้จากการทำโครงงาน โครงงาน เป็นกิจกรรมที่เปิดโอกาสให้นักเรียนได้ศึกษาตามความถนัดและความสนใจในเรื่องที่เกี่ยวข้องกับสาระการเรียนรู้ ด้วยวิธีทางวิทยาศาสตร์ โดยได้รับคำแนะนำดูแลจากอาจารย์ที่ปรึกษา และ/หรือผู้ทรงคุณวุฒิ
Visual-Based Learning แผนภาพ (Diagram) ผังมโนทัศน์ (Concept Map) แผนที่ความคิด (Mind Map) ฯลฯ http://www.oid.ucla.edu/about/units/tatp/old/lounge/pedagogy/downloads/active-learning-eric.pdf
ตัวอย่างแผนภาพ วงจรเครื่องส่ง วิทยุ KY-2 วิทยุกระป๋อง 2 ช่อง 2 มอเตอร์ เลี้ยวโดยการดับมอเตอร์ http://www.ifomodel.com/th/index.php?option=com_content&task=view&id=138&Itemid=155
ตัวอย่างผังมโนทัศน์ http://std.kku.ac.th/5140500172/learn_base/learn_base_iden1.html
ตัวอย่างแผนที่ความคิด http://www.gotoknow.org/blogs/posts/196051
ทำให้คุณภาพผู้เรียน ในทุกระดับเป็นจริง ด้วย การเรียนรู้เชิงรุก Active Learning
(Professional Learning Community) “ชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ” PLC (Professional Learning Community) “ชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ”
PLC คืออะไร PLC หมายถึง การรวมตัว ร่วมใจ ร่วมพลัง ร่วมคิด ร่วมทำ และ ร่วมเรียนรู้ร่วมกันของครู ผู้บริหาร และนักการศึกษา บนพื้นฐานวัฒนธรรมความสัมพันธ์แบบกัลยาณมิตร สู่คุณภาพการจัดการเรียนรู้ที่เน้นความสำเร็จหรือประสิทธิผลของผู้เรียนเป็นสำคัญ และความสุขของการทำงานร่วมกันของสมาชิกในชุมชน
PLC ทำไม.... ต้อง “PLC”
PLC เข้ามาเพื่อที่จะช่วยให้ครูรวมกลุ่มแก้ปัญหาอย่างมีความหมาย และต่อเนื่อง เกิดวัฒนธรรมองค์กรที่เข้มแข็ง
PLC ชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ: (Professional Learning Community=PLC) มืออาชีพ การเรียนรู้ ชุมชน
ความเชื่อของ PLC ยอมรับว่าการสอนและการปฏิบัติงานของครู มีผลต่อการเรียนรู้ของผู้เรียน ยอมรับหลักการที่ว่า การเรียนรู้ของครู คือ การเรียนรู้ของผู้เรียน
ยอมรับว่า ครูมีความแตกต่างกัน ความเชื่อของ PLC ยอมรับว่า ครูมีความแตกต่างกัน
ความเชื่อของ PLC ยอมรับว่า การสอนบางครั้งต้องอาศัยความร่วมมือ ร่วมใจ และสัมพันธภาพแบบกัลยาณมิตร
PLC หากต้องการให้เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกันอย่างมีประสิทธิภาพ มีขั้นตอน และสุดท้ายเป็นการพัฒนาวิชาชีพ ลองใช้ PLC ดู
PLC ถือว่า ทุกคนคือคนเชี่ยวชาญในงานนั้น จึงเรียนรู้ร่วมกันได้ 1.เพื่อเป็นเครื่องมือที่ช่วยให้การแลกเปลี่ยนเรียนรู้มีประสิทธิภาพ 2.เพื่อให้เกิดการร่วมมือ รวมพลังของทุกฝ่ายในการพัฒนาการเรียนการสอนสู่คุณภาพของผู้เรียน 3. เพื่อให้เกิดการพัฒนาวิชาชีพครูด้วย การพัฒนาผู้เรียน PLC ถือว่า ทุกคนคือคนเชี่ยวชาญในงานนั้น จึงเรียนรู้ร่วมกันได้
PLC มีองค์ประองค์ประกอบสำคัญคือ 1.ต้องมีวิสัยทัศน์ร่วมกัน หมายถึง มีเป้าหมาย ทิศทางเดียวกัน มุ่งสู่การพัฒนาการเรียนการสอนสู่คุณภาพผู้เรียน
PLC องค์ประกอบสำคัญของ PLC 2.ร่วมแรง ร่วมใจ และร่วมมือ หมายถึง ต้องเปิดใจ รับฟัง เสนอวิธีการ นำสู่การปฏิบัติและประเมินร่วมกัน Open เปิดใจรับและให้ care และ Share
PLC องค์ประกอบสำคัญของ PLC
PLC องค์ประกอบสำคัญของ PLC 5.ต้องปรับเปลี่ยนวัฒนธรรมองค์กร หมายถึง ต้องเน้นการทำงานที่เปิดโอกาสการทำงานที่ช่วยเหลือกันมากกว่าการสั่งการ มีชั่วโมงพูดคุย 6.การเรียนรู้และพัฒนาวิชาชีพ หมายถึง การเรียนรู้การปฏิบัติงานและตรงกับภาระงานคือการสอน สู่คุณภาพผู้เรียน
PLC มีวิธีการทำงาน(กระบวนการ) 1.ต้องมีการรวมกลุ่ม และกลุ่มนั้นต้องมีลักษณะคล้ายๆกัน เช่น 1.1จัดกลุ่มครูที่มีลักษณะใกล้เคียงกัน กลุ่มครูที่สอนวิชา/กลุ่มสาระเดียวกัน ในระดับชั้นเดียวกัน กลุ่มครูที่สอนวิชา/กลุ่มสาระเดียวกันในช่วงชั้นเดียวกัน กลุ่มครูตามลักษณะงาน
PLC มีวิธีการทำงาน(กระบวนการ) 1.2 จำนวนสมาชิก 6-8 คน (ผู้บริหาร/ศึกษานิเทศก์ หมุนเวียนเข้าร่วม ทุกกลุ่ม) 1.3. ระยะเวลา 2-3 ชม.ต่อสัปดาห์ ตลอดหนึ่งปีการศึกษา กำหนดเป็นชั่วโมงชัดเจนจะดีมาก
PLC มีวิธีการทำงาน(กระบวนการ) 1.4 จัดชั่วโมงอยู่ในภาระการสอนของครู/ ภาระงาน เพื่อไม่ให้ครูถือว่าเป็นภาระเพิ่มขึ้น 1.5. การจัด PLC โดยใช้ ICT ในการเข้ากลุ่มระหว่างการดำเนินการ
PLC มีวิธีการทำงาน(กระบวนการ)
PLC มีวิธีการทำงาน(กระบวนการ) 2. บทบาทของบุคคลในการทำ PLC 2.2 สมาชิก (คุณกิจ) -เปิดใจรับฟัง และเสนอความคิดเห็นอย่างสร้างสรรค์ -รับแนวทางไปปฏิบัติและนำผลมาเสนอ พร้อมต่อยอด 2.3 ผู้บันทึก (คุณลิขิต) สรุปประเด็นการสนทนาและแนวทางแก้ปัญหา พร้อมบันทึก Logbook
PLC มีวิธีการทำงาน(กระบวนการ) 3.กลุ่มร่วมกันคิด “ปัญหาการเรียนรู้ของนักเรียน” หาปัญหาสำคัญที่สุด สิ่งที่ต้องระวัง คือ การไม่ช่วยกันค้นหาปัญหาที่แท้จริง ผลักปัญหาออกจากตัว
PLC มีวิธีการทำงาน(กระบวนการ) 4. หาสาเหตุสำคัญที่ทำให้เกิดปัญหา จากนั้นกลุ่มอภิปรายหาสาเหตุที่แท้จริง เน้น ไปที่การสอนของครูเป็นอันดับแรก ที่ถือว่าเป็นสาเหตุที่แท้จริง เช่น นักเรียนอ่านไม่ออก เป็นปัญหาสำคัญร่วมกัน ไม่ใช่สาเหตุว่า พ่อแม่แยกทาง มี 3 ปัญหาใหญ่ ๆ ได้แก่ เนื้อหาที่ยาก ปัญหาพฤติกรรมนักเรียน ปัญหาการจัดการเรียนรู้ของครู
การสอบ/การประเมินผล การสอนและการเรียน หลักสูตร
PLC PLC มีวิธีการทำงาน(กระบวนการ) 5. หาแนวทางแก้ไข “ปัญหาการเรียนรู้ของนักเรียน”ที่สำคัญนั้น จะแก้ไขอย่างไรดูสาเหตุของปัญหา แนวทางแก้ปัญหาอาจใช้ประสบการณ์ของครูที่ทำให้เกิดความสำเร็จ ผู้ทรงคุณวุฒิ งานวิจัย หรือแหล่งอื่นๆที่มีการเสนอแนวทางไว้แล้ว สรุป แนวทางการแก้ปัญหาสำคัญ 1 เรื่องหรือ 2 เรื่องตามสภาพของโรงเรียน
PLC มีวิธีการทำงาน(กระบวนการ) จะเสนอผลระหว่างทำงาน และสรุปผลเมื่อไร 6.นำแนวทางที่สรุปเพื่อนำไปแก้ไขปัญหา มาช่วยกันสร้างงาน สร้างแผนงาน เลือก PBL สิ่งที่ต้องทำต่อ คือ ทำอย่างไร ทำเมื่อไร ใช้อย่างไร และตรวจสอบการทำงานอย่างไร จะเสนอผลระหว่างทำงาน และสรุปผลเมื่อไร
PLC มีวิธีการทำงาน(กระบวนการ) 7. นำแผนที่ร่วมกันคิดไปใช้ตามกำหนดการทำงาน ต้องนำไปใช้อย่างจริงจัง และกล้าเสนอผลจะสำเร็จหรือไม่ก็ตามและพร้อมจะนำไปปรับปรุง ต้องนำผลมาเสนอตามช่วงเวลา ผลงานที่อาจนำเสนอกันในช่องทาง Line หรือ Facebook หรือรูปแบบอื่นๆ
PLC มีวิธีการทำงาน(กระบวนการ) 8. นำผลมาสรุปสุดท้ายว่าผลเป็นประการใด ร่วมกันสะท้อนผล และปรับปรุงงานให้ดีขึ้น ถ้าผลการทดลองเป็นไปตามวัตถุประสงค์ ก็เผยแพร่ หรือปรับปรุงให้ยิ่งขึ้น ผลไม่เป็นไปตามวัตถุประสงค์ ก็ปรับปรุงทดลองใหม่ สิ่งสำเร็จ คือ นวัตกรรม
PLC มีวิธีการทำงาน(กระบวนการ) ที่สำคัญ คือ การทำงานตั้งแต่ขั้นแรกถึงขั้นสุดท้าย ต้องมีการบันทึก (Logbook) ออกแบบเอง ง่าย สั้นหนึ่งหน้าก็พอ อาจนำเสนอทาง Line หรือ Facebook หรือรูปแบบอื่นๆ
ทีมPLC ปัญหา สาเหตุ Lesson Study แนวทางแก้ไข ภาพตลอดแนวของ PLC Active leaning PBL เลือก PBL
สร้างแผนการเรียนรู้ร่วมกัน ปรับใช้ใหม่และย้อนไปใช้ใหม่ ภาพตลอดแนวของ PLC PBL สร้างแผนการเรียนรู้ร่วมกัน นำแผนไปใช้ นำผลมาคุย ปรับและนำผลมาคุย นำผลมาคุย ปรับและนำผลมาคุย สรุป ผล สำเร็จ นวัตกรรม/เผยแพร่ ไม่สำเร็จ ปรับใช้ใหม่และย้อนไปใช้ใหม่
จุดเด่น/จุดที่ควรพัฒนา ชั้นเรียน/ผู้ปกครอง/ชุมชน ภาพตลอดแนวของ PLC กลุ่มสาระ ทีมPLC เป้าหมาย จุดเด่น/จุดที่ควรพัฒนา วิธีการพัฒนา ชั้นเรียน/ผู้ปกครอง/ชุมชน เลือก คู่มือการพัฒนา
ปรับใช้ใหม่และย้อนไปใช้ใหม่ ภาพตลอดแนวของ PLC คู่มือพัฒนา กิจกรรมใน แต่ละระดับ นำแผนไปใช้ นำผลมาคุย ปรับและนำผลมาคุย นำผลมาคุย ปรับและนำผลมาคุย สรุป ผล สำเร็จ นวัตกรรม/เผยแพร่ ไม่สำเร็จ ปรับใช้ใหม่และย้อนไปใช้ใหม่
เทคนิค หรือเคล็ดลับ ที่จำเป็นในการเสริมกระบวนการ PLC เริ่มต้นจากความสำเร็จ ชื่นชม ผลงานนักเรียนแล้วค่อยค้นหาว่าปัญหาอะไรบ้างจากการจัดการเรียนรู้ โดย ใช้เทคนิค 1. ทักษะการฟัง 2. เรื่องเล่าเร้าพลัง 3. การวิเคราะห์ปัญหาและแนวทางการแก้ปัญหา 4. AAR 5. ระดับการพัฒนาของนักเรียน 6. ICT
ตัวชี้วัดความสำเร็จ PLC Out Put นักเรียนมีความสุข อยากเรียน ครูรักเด็ก เด็กรักครู Active Learning พี่ช่วยน้อง เพื่อนช่วยเพื่อน นักเรียนมีพัฒนาการตาม Bloom’s Taxonomy Out Come
การนิเทศ คืออะไร
นิเทศ ( Supervise ) = ช่วยเหลือ แนะนำ หรือ ปรับปรุง การนิเทศมาจากคำภาษาอังกฤษว่า “ Supervision ” แปลว่า การให้ความ ช่วยเหลือแนะนำ หรือปรับปรุง
จุดมุ่งหมายของ การนิเทศ พัฒนาคน จุดมุ่งหมายของ การนิเทศ สร้างขวัญกำลังใจ พัฒนางาน ประสานสัมพันธ์
การนิเทศการศึกษาเป็นส่วนหนึ่ง ของการบริหารสถานศึกษา เพื่อให้กระบวนการเรียนการสอน เกิดผลสัมฤทธิ์ตามความมุ่งหมาย (Glickman,1985)
การนิเทศภายในสถานศึกษา เป็นกระบวนการทำงานร่วมกันของผู้บริหาร ครูและบุคลากรทางการศึกษาเพื่อให้ ได้มาซึ่ง สัมฤทธิ์ผลสูงสุดในการจัดการศึกษา
ปัญหาการนิเทศภายในสถานศึกษา 1.ปัญหาจากผู้ให้การนิเทศ(ผู้บริหาร/หัวหน้ากลุ่มสาระ) 1.1ขาดการสร้างความรู้ ความเข้าใจและความตระหนัก 1.2ขาดทักษะการนิเทศ/การประชุมปรึกษา ยังใช้วิธีการสั่งการ 1.3มีเวลาน้อยที่จะเข้าช่วยนิเทศครู ไม่ให้ความสำคัญและทำไม่ต่อเนื่อง 2.ปัญหาจากลักษณะกิจกรรม รูปแบบการนิเทศ -รูปแบบ/กิจกรรมไม่น่าสนใจ, แบบ/ขั้นตอนยุ่งยาก, ไม่ยืดหยุ่น 3.ปัญหาจากผู้รับการนิเทศ -มีเจตคติในแง่ลบเหมือนถูกจับผิด, ร่วมมือน้อย, คิดว่ายุ่งยาก, คิดว่า สังเกตการสอนเท่านั้นคือการนิเทศ, ขาดความจริงจังปรับปรุงต่อเนื่อง
การนิเทศภายในสถานศึกษา วัตถุประสงค์ 1.เพื่อให้ครูได้รับการพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง โดยอาศัยการนิเทศการสอนเป็นเครื่องมือ 2.เพื่อให้ครูมีความสามารถในการจัดการเรียนรู้ โดยเน้นนักเรียนเป็นสำคัญอย่างมีประสิทธิภาพ 3. เพื่อสร้างบรรยากาศที่เป็นสุขในห้องเรียน 4. เพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน ให้สูงขึ้น
รูปแบบการนิเทศภายในแบบเสริมพลังใจ เพื่อปฏิรูปการเรียนรู้ทั้งโรงเรียน
รูปแบบการนิเทศ : แบบกัลยาณมิตร ให้ใจ ร่วมใจ ชื่นใจ กัลยาณมิตรนิเทศ เพื่อการเรียนรู้ ตั้งใจ ประสานใจ
ให้ใจ ปฐมนิเทศ 1. สร้างความสัมพันธ์ 2. แจ้งความมุ่งหมาย 3. จัดเวลา 4. กำหนดแผนงาน
ร่วมใจ ร่วมคิดร่วมทำ 1. แนะนำ สาธิต แบบอย่าง 2. ฝึกทำแผนจัดการเรียนรู้ 3. ฝึกสร้างสื่อการเรียนรู้ การสอน วิจัยชั้นเรียน
ตั้งใจ สร้างสรรค์คุณภาพ 1. ครูปฏิบัติการสอนจริง 2. ครูเครือข่ายและครูต้นแบบ 3. ปรึกษาหารือ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ 4. ติดต่อ สื่อสาร เยี่ยมเยียน 5. ช่วยแก้ปัญหา ให้กำลังใจ
ประสานใจ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างครูผู้สอนในช่วงชั้นเดียวกัน การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างครูผู้สอนในกลุ่มสาระการเรียนรู้เดียวกัน การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างครูผู้สอนต่างช่วงชั้นกัน การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างครูผู้สอนต่างช่วงชั้นและต่างกลุ่มสาระกัน การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างครูผู้สอนในกลุ่มสาระการเรียนรู้เดียวกันแต่ต่างโรงเรียน
ชื่นใจ การเชิดชูผลงาน จัดนิทรรศการแสดงผลงานของนักเรียน ครู และโรงเรียน จัดนิทรรศการแสดงผลงานของนักเรียน ครู และโรงเรียน จัดกิจกรรมยกย่องเชิดชูเกียรติให้กับนักเรียน ครู ที่มีผลงานดีเด่น นำผลงานมาเผยแพร่แก่ผู้ปกครอง ชุมชน และหน่วยงานอื่น ๆ เช่น จัดทำข่าวลงวารสารโรงเรียน และอินเทอร์เน็ต เป็นต้น
ผลที่คาดหวังในการนำสู่การปฏิบัติ
1. นักเรียนมีระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงขึ้น 2 1. นักเรียนมีระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงขึ้น 2. นักเรียนได้รับการพัฒนาให้เป็นคนดี มีคุณธรรม และอยู่ในสังคม อย่างมีความสุข 3. ครูผู้สอนทุกคนพัฒนาตนเองเต็มศักยภาพ 4. ครูผู้สอนได้สอนตรงตามวิชาเอกและความถนัดของตน 5. การนิเทศภายในแบบเสริมพลังใจได้รับการพัฒนาให้เหมาะสม กับบริบทของโรงเรียน
มโนทัศน์ใหม่ของการพัฒนาคุณภาพระดับห้องเรียน ด้วย รูปแบบการนิเทศ ควบคู่กับ PLC ผู้บริหาร ครู คุณภาพการศึกษา คุณภาพผู้เรียน บริหารเพื่อพัฒนา การจัดการเรียนรู้ ผู้นิเทศ นิเทศเพื่อพัฒนา การจัดการเรียนรู้ จัดการเรียนรู้ เพื่อพัฒนาผู้เรียน
การนิเทศการจัดการเรียนรู้ ควบคู่กับ PLC มาร่วมกันสร้างวัฒนธรรมการเรียนการสอน และการเรียนรู้ร่วมกัน ใช้ PLC เป็นวิธีการที่ครูเป็นผู้ผลักดันให้เกิด การปรับปรุงการจัดการเรียนรู้ โดยมี เป้าหมายหลักอยู่ที่นักเรียน ทำให้ครูค้นพบว่า... การร่วมมือกันอย่างดี ระหว่างครู...... ... >>ทำให้ครูได้มีโอกาส แลกเปลี่ยนเรียนรู้เกี่ยวกับการจัดการเรียนรู้ << การนิเทศการจัดการเรียนรู้ ควบคู่กับ PLC เพื่อให้เกิดการเรียนรู้ของครู และเกิดการ เรียนรู้ของนักเรียนอย่างมีคุณภาพ
ครูไทยเปลี่ยนแปลงแนวคิดและร่วมกันพัฒนาคุณภาพการศึกษา 1. ร่วมกัน ออกแบบแผนการจัดการเรียนรู้ 1. ต่างคนต่างทำ (แอบทำ/ไม่มีใครรู้) 2. ร่วมกันสังเกตการ จัดการเรียนรู้ 2. ต่างคนต่างสอน (ข้าจะสอนอย่างไร ใครอย่ายุ่ง) 3. ร่วมกันสะท้อนผลการสังเกตจัดการเรียนรู้และนำไปปรับปรุง 3. ไม่ค่อยมีการร่วมกันพูดคุยกันเกี่ยวกับการเรียนการสอน
การศึกษาของประเทศไทย ถ้าทุกคนทุกตำแหน่งไม่หวนกลับ ไปสร้างคุณภาพให้เกิดขึ้นในระดับห้องเรียน (คุณภาพผู้เรียน) นับเป็นเรื่องยากมากต่อการปฏิรูปการศึกษาไทยให้ประสบผลสำเร็จ และไม่สามารถประกันคุณภาพผู้เรียน ได้ครับ...
สวัสดี